SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน..................................สิ่งที่คุณยังไม่รู้ผลของการอดนอน................................................
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายเสฐียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์ เลขที่ 3 ม.6/13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1…...นายเสถียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์................................... เลขที่...3.....
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สิ่งที่คุณยังไม่รู้ผลของการอดนอน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
What you don't know about the effects of sleep deprivation
ประเภทโครงงาน
การดูแลรัษาสุขภาพของตนเอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายเสฐียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การนอนหลับเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อร่างกายอย่างมาก
การนอนหลับไม่เพียงแต่เป็นช่วงเวลาเพื่อการพักผ่อนของร่างกายภายหลังจากความเมื่อยล้าจากการทางาน เท่านั้น
แต่จากการวิจัยทางด้านประสาทชีววิทยาได้ค้นพบว่า มีกระบวนการและกิจกรรมที่มีความสาคัญต่อ ชีวิตและ
สุขภาพหลายอย่างเกิดขึ้น เช่น การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ส่งเสริมการเจริญเติบโต มีความสาคัญ ในกระบวนการ
เรียนรู้และความจา และปรับสภาพร่างกายและจิตใจให้สมดุลกับความตึงเครียดต่างๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการ
ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนหลายอย่างที่สาคัญในกระบวนการทางสรีรวิทยาของร่างกาย เพื่อรักษาความสมดุลในการ
3
ดารงชีวิตระหว่างการนอนหลับ การที่นักกีฬาจะประสบความสาเร็จในการแข่งขันได้นอกจากการวางแผนและ
จัดเตรียมโปรแกรม การฝึกซ้อมให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายที่ดีแล้ว การนอนหลับ
พักผ่อนอย่าง เพียงพอก็เป็นสิ่งจาเป็นมากอย่างหนึ่งสาหรับนักกีฬา ว่า การนอนหลับเป็นรูปแบบการพักอย่าง
สมบูรณ์ (Passive rest) ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ในการที่จะสร้างความสามารถในการท
างานของร่างกายให้ฟื้นสภาพกลับคืนมา ดังนั้น หากร่างกายไม่ได้รับ การนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอจะไม่
สามารถฟื้นสภาพจากความเมื่อยล้าและปรับสภาพสู่ความสมบูรณ์ได้ อย่างเต็มที่ ผลที่ได้รับจากการฝึกจะด้อย
ประสิทธิภาพไปหรือไม่ได้ผลสมบูรณ์ตามเป้าหมายที่ต้องการ ปกติร่างกายของคนเรามีความต้องการการนอนหลับ
โดยเฉลี่ยประมาณ 8 ชั่วโมงต่อคืน แต่จานวนชั่วโมงของการนอนหลับอาจจะแตกต่างไปในแต่ละบุคคล วารสาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2, ธันวาคม 2554 50 ตามอายุและสภาพการท างานของ
ร่างกาย ถึงแม้ว่าการนอนหลับจะมีความสาคัญต่อร่างกาย แต่ในบางครั้ง การอดนอนก็เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทั้ง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน การศึกษาเล่า เรียน โดยกิจกรรมต่างๆจะไปแย่งเวลาของการนอน
หลับ ทาให้นอนหลับน้อยกว่าที่ควรจะเป็น บางคนนอน ไม่หลับเพราะมีสิ่งแปลกใหม่ที่ทาให้รู้สึกตื่นเต้นหรือเกิด
ความวิตกกังวลเช่น มีการสอบ มีงานที่ต้องทาให้ เรียบร้อยตามกาหนดเวลา หรือในนักกีฬาที่ต้องแข่งขันกีฬา
รายการสาคัญ หรือบางครั้งต้องเดินทางไป แข่งขันที่อาจเป็นลักษณะเดินทางข้ามวันข้ามคืน รวมทั้งการไม่เคยชิน
กับสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ ก็ อาจทาให้เกิดการขัดขวางการนอนหลับได้แม้จะเป็นที่ยอมรับว่า การอด
นอนจะมีผลในทางลบต่อ ความสามารถทางด้านจิตใจ ซึ่งเชื่อกันว่ามักจะส่งผลไปถึงการท างานของร่างกายด้วย
แต่ในผลกระทบ ทางด้านร่างกายนั้นยังไม่ชัดเจน จากการศึกษาการอดนอนทั้งคืน (Total sleep loss)
พบว่า หลังจากการอด นอนจะทาให้เวลาปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น แรงสูงสุดในการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง และปริมาณ
การใช้ออกซิเจนสูงสุด ลดลง แต่ในชีวิตความเป็นจริงของคนเราทั่วไปจะไม่อดนอนมากถึงขนาดนั้น อาจเป็นเพียง
การลดจานวน ชั่วโมงของการนอนหลับลงเพียงไม่กี่ชั่วโมงต่อคืน ซึ่งการศึกษาการอดนอนเป็นบางช่วง (Partial
sleep loss) ยังไม่ค่อยมีการศึกษากันอย่างกว้างขวางในประเทศของเรา แต่จากการศึกษาของ
สุพจน์ ตุลารันพงษ์ (2533) พบว่า การอดนอน 2, 3, 4, 5 และ 6 ชม. ในคืนก่อนการทดสอบนั้นไม่ทาให้
ความแข็งแรงและความ อดทนของร่างกายลดลง ทาให้น่าสนใจว่าถ้าต้องอดนอนในลักษณะนี้ติดต่อกันหลายๆคืน
จะมีผลต่อการ ท างานของร่างกายอย่างไรโดยเฉพาะเมื่อนักกีฬาต้องได้รับการฝึกซ้อมด้วยความหนักสูงร่วมด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
-เพื่อศึกษาผลดีและผลเสียของการอดนอน
-เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-การอดนอนพบเจอได้กับบุคลคลทั่วไปและคนใกล้ตัว
4
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เมื่อความมืดมาเยือนเซลล์ที่จอภาพ[retina] จะส่งข ้อมูลไปยังเซลล์ประสาทที่
อยู่ใน hypothalamus ซึ่งจะเป็นที่สร ้างสาร melatonin สาร melatonin สร ้างจาก
tryptophan ทาให ้อุณหภูมิลดลงและเกิดอาการง่วง การนอนของคนปกติแบ่งออกได ้ดังนี้
การนอนช่วง Non-rapid eye movement {non- (REM) sleep} การนอนในช่วงนี้มี
ความสาคัญมาก เพราะมีส่วนสาคัญในการทาให ้ภูมิคุ้มกันแข็งแรง เกี่ยวข ้องกับระบบย่อย
อาการ และมีการหลั่งของฮอร์โมนที่เร่งการเติบโต growth hormone การนอนช่วงนี้แบ่ง
ออกเป็น 4 ระยะได ้แก่โดยการหลับจะเริ่มจากระยะที่1ไปจน REMและกลับมาระยะ1ใหม่
Stage 1 (light sleep) ระยะนี้ยังหลับไม่สนิทครึ่งหลับครึ่งตื่น ปลุกง่าย ช่วงนี้อาจจะมี
อาการกระตุกของกล ้ามเนื้อที่เรียกว่า hypnic myoclonia มักจะตามหลังอาการเหมือนตก
ที่สูง ระยะนี้ตาจะเคลื่อนไหวช ้า
Stage 2 (so-called true sleep).ระยะนี้ตาจะหยุดเคลื่อนไหวคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นแบบ
rapid waves เรียก sleep spindles
Stage 3 คลื่นไฟฟ้าสมองจะมีลักษณะ delta waves และ Stage 4ระยะนี้เป็นระยะที่หลับ
สนิทที่สุดคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นแบบ delta waves ทั้งหมด ระยะ3-4 จะปลุกตื่นยากที่สุดตา
จะไม่เคลื่อนไหวร่างกายจะไม่เคลื่อนไหว เมื่อปลุกตื่นจะงัวเงีย
การนอนช่วง Rapid eye movement (REM) sleep จะเกิดภายใน 90 นาที หลังจากนอน
ช่วงนี้เมื่อทดสอบคลื่นสมองจะเหมือนคนตื่น ผู้ป่ วยจะหายใจเร็ว ชีพขจรเร็ว กล ้ามเนื้อไม่
ขยับ อวัยวะเพศแข็งตัว เมื่อคนตื่นช่วงนี้จะจาความฝันได ้
เราจะใช ้เวลานอนร ้อยละ50ใน Stage 2 ร ้อยละ 20ในระยะ REM ร ้อยละ30 ในระยะอื่นๆ
การนอนหลับครบหนึ่งรอบใช ้เวลา 90-110นาที คนปกติต ้องการนอนวันละ 8 ชั่วโมงโดย
หลับตั้งค่าจนตื่นในตอนเช ้า คนสูงอายุการหลับจะเปลี่ยนไปโดยหลับกลางวันเพิ่มและตื่น
กลางคืน จานวนชั่วโมงในการนอนหลับแต่ละคนจะไม่เหมือนกันบางคนนอนแค่วันละ 5-6
ชั่วโมงโดยที่ไม่มีอาการง่วงนอน
อาการนอนไม่หลับ
อาการนอนไม่หลับไม่ใช่โรคแต่เป็นภาวะหลับไม่พอทาให ้ตื่นขึ้นมาแล ้วไม่สดชื่น บางคน
อาจจะหลับยากใช ้เวลามากว่า 30นาทียังไม่หลับ บางคนตื่นบ่อยหลังจากตื่นแล ้วหลับยาก
บางคนตื่นเช ้าเกินไป ทาให ้ตื่นแล ้วไม่สดชื่น ง่วงเมื่อเวลาทางาน อาการนอนไม่หลับมักจะ
เป็นชั่วคราวเมื่อภาวะกระตุ้นหายก็จะกลับเป็นปกติแต่ถ ้าหากมีอาการเกิน 1 เดือนให ้ถือว่า
เป็นอาการเรื้อรัง
การวินิจฉัย
แพทย์จะถามคาถาม 4คาถามได ้แก่
ให ้อธิบายว่ามีปัญหานอนไม่หลับเป็นอย่างไร
นอนไม่หลับเป็นมานานเท่าใด
เป็นทุกทุกคืนหรือไม่
สามารถทางานตอนกลางวันได ้หรือไม่
แพทย์จะค ้นหาว่าอาหารนอนไม่หลับนั้นเกิดจากโรค จากยา หรือจากจิตใจ
5
คนเราต ้องการนอนวันละเท่าใด
ความต ้องการการนอนไม่เท่ากันในแต่ละคนขึ้นกับอายุ ทารกต ้องการนอนวันละ 16 ชั่วโมง
วัยรุ่นต ้องการวันละ 9 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ต ้องการวันละ 7-8 ชั่วโมง แต่คนบางคนก็อาจจะ
ต ้องการนอนน้อยเหลือเพียงวันละ 5 ชั่วโมง หากนอนไม่พอร่างกายต ้องการการนอนเพิ่ม
ในวันรุ่งขึ้น
เราอาจจะทราบว่านอนไม่พอโดยดูจาก
เวลาทางานคุณมีอาการง่วงหรือซึมตลอดวัน
อารมณ์แกว่งโกรธง่ายโดยไม่มีเหตุผลเพียงพอกับครอบครัวหรือเพื่อนร่วมงาน
หลับภายใน 5 นาทีหลังจากนอน
บางคนอาจจะหลับขณะตื่นโดยที่ไม่รู้ตัว
ทั้งหมดเป็นการแสดงว่าคุณนอนไม่พอคุณต ้องเพิ่มเวลานอนหรือเพิ่มคุณภาพของการนอน
การนอนหลับจาเป็นอย่างไรต่อร่างกาย
ร่างกายเราเหมือนเครื่องจักรทางานตลอดเวลาการนอนเหมือนให ้เครื่องจักรได ้หยุด
ทางาน สะสมพลังงานและขับของเสียออก การนอนจึงจาเป็นสาหรับร่างกายมีสุขภาพกาย
และสุขภาพจิตที่ดี มีการศึกษาว่าการนอนไม่พอจะมีอันตรายการประสานระหว่างมือและตา
จะเหมือนกับผู้ที่ได ้รับสารพิษ ผู้ที่นอนไม่พอหากดื่มสุราจะทาให ้ความสามารถลดลง
อ่อนเพลียมาก การดื่มกาแฟก็ไม่สามารถทาให ้หายง่วง
มีการทดลองในหนูพบว่าหากนอนไม่พอหนูจะมีอายุสั้น ภูมิคุ้มกันต่าลง สาหรับคนหาก
นอนไม่พอจะมีอาการง่วงและไม่มีสมาธิ ความจาไม่ดี ความสามารถในการคานวณด ้อยลง
หากยังนอนไม่พอจะมีอาการภาพหลอน อารมณ์จะแกว่ง การนอนไม่พอเป็นสาเหตุของ
อุบัติต่างๆ เชื่อว่าเซลล์สมองหากไม่ได ้นอนจะขาดพลังงานและมีของเสียคั่ง นอกจากนั้น
การนอนหลับสนิทจะทาให ้มีการหลั่งฮอร์โมนเพื่อการเจริญเติบโต (growth hormone)
จะปรึกษาแพทย์เมื่อไร
ถ ้าหากอาการนอนไม่หลับเป็นมากกว่า 1 สัปดาห์ หรือทาให ้ไม่สามารถทางานได ้อย่างมี
ประสิทธิภาพในเวลากลางวัน ก่อนพบแพทย์ควรทาตารางสารวจพฤติกรรมการนอน
ประมาณ 10 วันเพื่อให ้แพทย์วินิจฉัย ในการรักษาแพทย์จะแนะนาเรื่องการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการนอน ถ ้าไม่ดีจึงจะให ้ยานอนหลับ
การนอนหลับอย่างพอเพียงทั้งระยะเวลา และคุณภาพของการนอนหลับจะเป็นปัจจัยในการ
ส่งเสริมสุขภาพที่ดีเหมือนกับการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ และการออกกาลังกาย
6
7
8
อดนอน นอนดึก ทำร้ำยสุขภำพสุด ๆ แต่ถ้ำเปลี่ยนมำนอนให้เร็วขึ้น คุณจะได้รับ
ประโยชน์เพียบ นี่ล่ะของขวัญจำกธรรมชำติ
9
ข้อดีของกำรนอนหลับ
โดย นพ.กฤษดำ เล่ำให้ฟั งถึงผลเสียของกำรนอนดึกว่ำ ทำให้ 5 อวัยวะหลักเสื่อมเร็ว
ขึ้น ทั้ง สมอง หัวใจ หลอดเลือด ต่อมไร้ท่อ และภูมิคุ้มกันร่ำงกำย แต่ถ้ำปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
มำเป็นคนนอนเร็วขึ้น ตั้งแต่ 4 ทุ่มเป็นต้นไปจนถึงก่อนเที่ยงคืน ซึ่งเป็นนำทีทอง ก็จะช่วยให้มี
สุขภำพดีขึ้นถึง 10 ประกำร แบบนี้เลย
1. สมองสร้ำงเคมีสุข
อย่ำงที่รู้ว่ำ สมองเป็นหัวเรือใหญ่ในกำรแจกงำนให้อวัยวะต่ำง ๆ แม้แต่เวลำนอนก็ยัง
มอบรำงวัลให้ร่ำงกำย ทั้ง เคมีนิทรำ (เมลำโทนิน), เคมีสุข (ซีโรโทนิน) และฮอร์โมนเพศ
แถมยังมีเคมีบำรุงออกมำควบคุมระบบในตัวเรำให้ทำงำนรำบรื่น ตื่นขึ้นมำอย่ำงสดชื่น สร้ำง
เกรำะป้องกันอำกำรป่ วยได้ด้วย
2. สร้ำงเคมีหนุ่มสำว
ปกติแล้ว เคมีหนุ่มสำวที่เรียกว่ำ "โกรทฮอร์โมน" จะค่อย ๆ ลดลงตำมวัย รวมทั้งกำร
นอนดึกก็ทำให้โกรทฮอร์โมนน้อยลงไปด้วย แต่ถ้ำเรำเข้ำนอนเร็ว สักรำว 4 ทุ่ม สมองจะช่วย
ผลิตโกรทฮอร์โมนธรรมชำติให้ สรุปว่ำยิ่งเรำหลับไว หลับสนิท เรำก็ยิ่งดูอ่อนเยำว์นะ
3. ควำมจำดีขึ้น
กำรศึกษำจำกสมำคมจิตวิทยำอเมริกัน (APA) ระบุว่ำ คนที่นอนหลับได้แค่รำว 4 ชั่วโมง
ต่อคืน ติดต่อกันนำน ๆ มีผลต่อควำมจำ, สมำธิและอุบัติเหตุมำกขึ้น นั่นก็เพรำะเวลำเรำนอน
สมองจะมีกลไกช่วยจัดระเบียบคล้ำยกับกำรแยกอีเมลขยะออกไป แต่ถ้ำเรำอดนอน เรำจะ
รู้สึกมึน ลืมง่ำย หรือไม่ก็ลิ้นพันกัน คิดอย่ำงพูดอย่ำง ดังนั้น ต้องนอนให้เต็มอิ่มจะได้เป็นกำร
ชำร์จแบตฯ ให้สมอง พร้อมรับควำมจำใหม่ ๆ
4. คุมควำมดันโลหิตได้
กำรนอนหลับเร็วจะช่วยให้ระบบประสำทอัตโนมัติทั้งหลำย และกลไกทำงชีววิทยำที่เป็น
เหมือนฟั นเฟืองขนำดจิ๋วทำงำนซับซ้อน ช่วยควบคุมหัวใจ และควำมดันโลหิตให้สงบลง ไม่
แกว่งขึ้น-ลงง่ำยเหมือนกับตอนตื่นนอน
5. ร่ำงกำยได้ซ่อมแซมส่วนสึกหรอ
คนก็เหมือนเครื่องยนต์ ทำงำนมำหนักก็ต้องหยุดพักบ้ำงจริงไหม ซึ่งกำรนอนก็เหมือน
เข้ำอู่ซ่อมรถ ช่วยซ่อมแซมร่ำงกำยที่สึกหรอ ช่วยให้สมองได้พักผ่อน กล้ำมเนื้อคลำยตัว
10
หัวใจสงบขึ้น ควำมดันลดลง
6. ลดควำมเสี่ยงโรคอ้วน
ทำไมน่ะหรือ ? ก็เพรำะถ้ำเรำนอนเร็วจะทำให้เรำไม่หิวกลำงดึกจนกินดุตำมมำไงล่ะ
นอกจำกนั้น ยังมีกลไกดับหิวด้วยกำรสร้ำงเคมีดับหิวขึ้นมำ ทำให้กำรนอนเร็วช่วยคุมน้ำหนัก
ตัวได้ดีกว่ำ อีกทั้งยังกระตุ้นเตำเผำในร่ำงกำยให้ทำงำนได้ดี ช่วยให้ไม่อ้วนง่ำย ไม่สร้ำงเคมี
เก็บไขมันมำกด้วย
7. มีควำมสุขง่ำยขึ้น
ยิ่งอดนอนสมองของเรำก็ยิ่งอึมครึม ทำให้ขำดสมำธิ ควำมจำก็ไม่ดี อะไรมำกระทบนิด
กระทบหน่อยก็หงุดหงิดอำรมณ์เสียแล้ว แล้วจะมีควำมสุขได้อย่ำงไรล่ะ แต่ถ้ำเรำลองนอนให้
เร็วขึ้น เรำจะได้นอนอย่ำงเต็มอิ่ม ร่ำงกำยและสมองได้พักผ่อน ควำมจำดี มีสมำธิ มองอะรก็
มีควำมสุขได้ง่ำยขึ้นจริง ๆ นะ
8. ได้ล้ำงพิษ
เวลำที่เรำนอนจะเป็นช่วงเวลำที่อวัยวะอย่ำง ตับ ไต ลำไส้ ซึ่งเป็นอวัยวะที่ช่วยล้ำงพิษ
ทำงำนได้ดีขึ้น ลองสังเกตดูสิ ถ้ำใครชอบอดนอน หรือนอนดึก นอกจำกหน้ำตำดูหม่นหมอง
แล้ว ยังมีปั ญหำท้องผูกด้วย นั่นเพรำะส่วนหนึ่งของพิษมำจำกกำรนอนดึก เพรำะฉะนั้น สำว
ๆ ที่ชอบปวดรอบเดือนบ่อย ๆ ให้นอนให้เร็วขึ้น จะช่วยคุมเคมีปวดได้มำก
9. ไม่เสี่ยงโรคกำเริบ
เครื่องยนต์ที่ทำงำนเกินเวลำก็เสียได้ นับประสำอะไรกับมนุษย์ที่ไม่ยอมพักผ่อน ไม่ยอม
หลับยอมนอน ควำมเหนื่อยล้ำอ่อนเพลียก็อำจทำให้โรคที่พกอยู่ตำมอวัยวะต่ำง ๆ พำกัน
แผลงฤทธิ์ขึ้นได้ โดยเฉพำะโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ควำมดันสูง เบำหวำน ภูมิแพ้
โรคเครียดซึมเศร้ำ และโรคมะเร็ง
10. ช่วยป้องกันแก่
ไม่อยำกแก่รีบชวนกันนอนตั้งแต่หัวค่ำ เพรำะแค่นอนก็ช่วยเสริมสร้ำงควำมหนุ่มสำว
และช่วยลดปั จจัยเสี่ยงทั้งหลำยไม่ให้ทำร้ำยร่ำงกำยก่อนวัยอันควร จึงป้องกันควำมเสื่อมชรำ
ได้ด้วย
11
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.กระดาษแบบสอบถาม
2.ปากกา
งบประมาณ
500 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้เข้าร่วมการเปลี่ยนพฤติกรรมการนอนมีสุขภาพที่ดีขึ้น
2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน
12
สถานที่ดาเนินการ
สถานที่แถวโรงพยาบาลช้างเผือก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/effects-of-sleep-deprivation
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/insomnia/index.htm
https://health.kapook.com/view89224.html

More Related Content

Similar to Woot

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
bernfai_baifern
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
Ploy Purr
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Wiroonanong tawkum
 

Similar to Woot (20)

Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
Projeck tawan
Projeck tawanProjeck tawan
Projeck tawan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Nutkamon1
Nutkamon1Nutkamon1
Nutkamon1
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมองโครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Mathawat (9)

ปัญหาขยะล้นเมืองเชียงใหม่สมบูรณ์
ปัญหาขยะล้นเมืองเชียงใหม่สมบูรณ์ปัญหาขยะล้นเมืองเชียงใหม่สมบูรณ์
ปัญหาขยะล้นเมืองเชียงใหม่สมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6 27
6 276 27
6 27
 
6-27
6-276-27
6-27
 
Hi
HiHi
Hi
 
Hi thailand
Hi thailandHi thailand
Hi thailand
 
Rit
RitRit
Rit
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้น
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออก
 

Woot

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน..................................สิ่งที่คุณยังไม่รู้ผลของการอดนอน................................................ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายเสฐียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์ เลขที่ 3 ม.6/13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1…...นายเสถียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์................................... เลขที่...3..... คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สิ่งที่คุณยังไม่รู้ผลของการอดนอน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) What you don't know about the effects of sleep deprivation ประเภทโครงงาน การดูแลรัษาสุขภาพของตนเอง ชื่อผู้ทาโครงงาน นายเสฐียรวุฒิ สุกิจสุขสวัสดิ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การนอนหลับเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อร่างกายอย่างมาก การนอนหลับไม่เพียงแต่เป็นช่วงเวลาเพื่อการพักผ่อนของร่างกายภายหลังจากความเมื่อยล้าจากการทางาน เท่านั้น แต่จากการวิจัยทางด้านประสาทชีววิทยาได้ค้นพบว่า มีกระบวนการและกิจกรรมที่มีความสาคัญต่อ ชีวิตและ สุขภาพหลายอย่างเกิดขึ้น เช่น การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ส่งเสริมการเจริญเติบโต มีความสาคัญ ในกระบวนการ เรียนรู้และความจา และปรับสภาพร่างกายและจิตใจให้สมดุลกับความตึงเครียดต่างๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการ ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนหลายอย่างที่สาคัญในกระบวนการทางสรีรวิทยาของร่างกาย เพื่อรักษาความสมดุลในการ
  • 3. 3 ดารงชีวิตระหว่างการนอนหลับ การที่นักกีฬาจะประสบความสาเร็จในการแข่งขันได้นอกจากการวางแผนและ จัดเตรียมโปรแกรม การฝึกซ้อมให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายที่ดีแล้ว การนอนหลับ พักผ่อนอย่าง เพียงพอก็เป็นสิ่งจาเป็นมากอย่างหนึ่งสาหรับนักกีฬา ว่า การนอนหลับเป็นรูปแบบการพักอย่าง สมบูรณ์ (Passive rest) ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ในการที่จะสร้างความสามารถในการท างานของร่างกายให้ฟื้นสภาพกลับคืนมา ดังนั้น หากร่างกายไม่ได้รับ การนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอจะไม่ สามารถฟื้นสภาพจากความเมื่อยล้าและปรับสภาพสู่ความสมบูรณ์ได้ อย่างเต็มที่ ผลที่ได้รับจากการฝึกจะด้อย ประสิทธิภาพไปหรือไม่ได้ผลสมบูรณ์ตามเป้าหมายที่ต้องการ ปกติร่างกายของคนเรามีความต้องการการนอนหลับ โดยเฉลี่ยประมาณ 8 ชั่วโมงต่อคืน แต่จานวนชั่วโมงของการนอนหลับอาจจะแตกต่างไปในแต่ละบุคคล วารสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2, ธันวาคม 2554 50 ตามอายุและสภาพการท างานของ ร่างกาย ถึงแม้ว่าการนอนหลับจะมีความสาคัญต่อร่างกาย แต่ในบางครั้ง การอดนอนก็เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทั้ง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน การศึกษาเล่า เรียน โดยกิจกรรมต่างๆจะไปแย่งเวลาของการนอน หลับ ทาให้นอนหลับน้อยกว่าที่ควรจะเป็น บางคนนอน ไม่หลับเพราะมีสิ่งแปลกใหม่ที่ทาให้รู้สึกตื่นเต้นหรือเกิด ความวิตกกังวลเช่น มีการสอบ มีงานที่ต้องทาให้ เรียบร้อยตามกาหนดเวลา หรือในนักกีฬาที่ต้องแข่งขันกีฬา รายการสาคัญ หรือบางครั้งต้องเดินทางไป แข่งขันที่อาจเป็นลักษณะเดินทางข้ามวันข้ามคืน รวมทั้งการไม่เคยชิน กับสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ ก็ อาจทาให้เกิดการขัดขวางการนอนหลับได้แม้จะเป็นที่ยอมรับว่า การอด นอนจะมีผลในทางลบต่อ ความสามารถทางด้านจิตใจ ซึ่งเชื่อกันว่ามักจะส่งผลไปถึงการท างานของร่างกายด้วย แต่ในผลกระทบ ทางด้านร่างกายนั้นยังไม่ชัดเจน จากการศึกษาการอดนอนทั้งคืน (Total sleep loss) พบว่า หลังจากการอด นอนจะทาให้เวลาปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น แรงสูงสุดในการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง และปริมาณ การใช้ออกซิเจนสูงสุด ลดลง แต่ในชีวิตความเป็นจริงของคนเราทั่วไปจะไม่อดนอนมากถึงขนาดนั้น อาจเป็นเพียง การลดจานวน ชั่วโมงของการนอนหลับลงเพียงไม่กี่ชั่วโมงต่อคืน ซึ่งการศึกษาการอดนอนเป็นบางช่วง (Partial sleep loss) ยังไม่ค่อยมีการศึกษากันอย่างกว้างขวางในประเทศของเรา แต่จากการศึกษาของ สุพจน์ ตุลารันพงษ์ (2533) พบว่า การอดนอน 2, 3, 4, 5 และ 6 ชม. ในคืนก่อนการทดสอบนั้นไม่ทาให้ ความแข็งแรงและความ อดทนของร่างกายลดลง ทาให้น่าสนใจว่าถ้าต้องอดนอนในลักษณะนี้ติดต่อกันหลายๆคืน จะมีผลต่อการ ท างานของร่างกายอย่างไรโดยเฉพาะเมื่อนักกีฬาต้องได้รับการฝึกซ้อมด้วยความหนักสูงร่วมด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) -เพื่อศึกษาผลดีและผลเสียของการอดนอน -เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -การอดนอนพบเจอได้กับบุคลคลทั่วไปและคนใกล้ตัว
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เมื่อความมืดมาเยือนเซลล์ที่จอภาพ[retina] จะส่งข ้อมูลไปยังเซลล์ประสาทที่ อยู่ใน hypothalamus ซึ่งจะเป็นที่สร ้างสาร melatonin สาร melatonin สร ้างจาก tryptophan ทาให ้อุณหภูมิลดลงและเกิดอาการง่วง การนอนของคนปกติแบ่งออกได ้ดังนี้ การนอนช่วง Non-rapid eye movement {non- (REM) sleep} การนอนในช่วงนี้มี ความสาคัญมาก เพราะมีส่วนสาคัญในการทาให ้ภูมิคุ้มกันแข็งแรง เกี่ยวข ้องกับระบบย่อย อาการ และมีการหลั่งของฮอร์โมนที่เร่งการเติบโต growth hormone การนอนช่วงนี้แบ่ง ออกเป็น 4 ระยะได ้แก่โดยการหลับจะเริ่มจากระยะที่1ไปจน REMและกลับมาระยะ1ใหม่ Stage 1 (light sleep) ระยะนี้ยังหลับไม่สนิทครึ่งหลับครึ่งตื่น ปลุกง่าย ช่วงนี้อาจจะมี อาการกระตุกของกล ้ามเนื้อที่เรียกว่า hypnic myoclonia มักจะตามหลังอาการเหมือนตก ที่สูง ระยะนี้ตาจะเคลื่อนไหวช ้า Stage 2 (so-called true sleep).ระยะนี้ตาจะหยุดเคลื่อนไหวคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นแบบ rapid waves เรียก sleep spindles Stage 3 คลื่นไฟฟ้าสมองจะมีลักษณะ delta waves และ Stage 4ระยะนี้เป็นระยะที่หลับ สนิทที่สุดคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นแบบ delta waves ทั้งหมด ระยะ3-4 จะปลุกตื่นยากที่สุดตา จะไม่เคลื่อนไหวร่างกายจะไม่เคลื่อนไหว เมื่อปลุกตื่นจะงัวเงีย การนอนช่วง Rapid eye movement (REM) sleep จะเกิดภายใน 90 นาที หลังจากนอน ช่วงนี้เมื่อทดสอบคลื่นสมองจะเหมือนคนตื่น ผู้ป่ วยจะหายใจเร็ว ชีพขจรเร็ว กล ้ามเนื้อไม่ ขยับ อวัยวะเพศแข็งตัว เมื่อคนตื่นช่วงนี้จะจาความฝันได ้ เราจะใช ้เวลานอนร ้อยละ50ใน Stage 2 ร ้อยละ 20ในระยะ REM ร ้อยละ30 ในระยะอื่นๆ การนอนหลับครบหนึ่งรอบใช ้เวลา 90-110นาที คนปกติต ้องการนอนวันละ 8 ชั่วโมงโดย หลับตั้งค่าจนตื่นในตอนเช ้า คนสูงอายุการหลับจะเปลี่ยนไปโดยหลับกลางวันเพิ่มและตื่น กลางคืน จานวนชั่วโมงในการนอนหลับแต่ละคนจะไม่เหมือนกันบางคนนอนแค่วันละ 5-6 ชั่วโมงโดยที่ไม่มีอาการง่วงนอน อาการนอนไม่หลับ อาการนอนไม่หลับไม่ใช่โรคแต่เป็นภาวะหลับไม่พอทาให ้ตื่นขึ้นมาแล ้วไม่สดชื่น บางคน อาจจะหลับยากใช ้เวลามากว่า 30นาทียังไม่หลับ บางคนตื่นบ่อยหลังจากตื่นแล ้วหลับยาก บางคนตื่นเช ้าเกินไป ทาให ้ตื่นแล ้วไม่สดชื่น ง่วงเมื่อเวลาทางาน อาการนอนไม่หลับมักจะ เป็นชั่วคราวเมื่อภาวะกระตุ้นหายก็จะกลับเป็นปกติแต่ถ ้าหากมีอาการเกิน 1 เดือนให ้ถือว่า เป็นอาการเรื้อรัง การวินิจฉัย แพทย์จะถามคาถาม 4คาถามได ้แก่ ให ้อธิบายว่ามีปัญหานอนไม่หลับเป็นอย่างไร นอนไม่หลับเป็นมานานเท่าใด เป็นทุกทุกคืนหรือไม่ สามารถทางานตอนกลางวันได ้หรือไม่ แพทย์จะค ้นหาว่าอาหารนอนไม่หลับนั้นเกิดจากโรค จากยา หรือจากจิตใจ
  • 5. 5 คนเราต ้องการนอนวันละเท่าใด ความต ้องการการนอนไม่เท่ากันในแต่ละคนขึ้นกับอายุ ทารกต ้องการนอนวันละ 16 ชั่วโมง วัยรุ่นต ้องการวันละ 9 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ต ้องการวันละ 7-8 ชั่วโมง แต่คนบางคนก็อาจจะ ต ้องการนอนน้อยเหลือเพียงวันละ 5 ชั่วโมง หากนอนไม่พอร่างกายต ้องการการนอนเพิ่ม ในวันรุ่งขึ้น เราอาจจะทราบว่านอนไม่พอโดยดูจาก เวลาทางานคุณมีอาการง่วงหรือซึมตลอดวัน อารมณ์แกว่งโกรธง่ายโดยไม่มีเหตุผลเพียงพอกับครอบครัวหรือเพื่อนร่วมงาน หลับภายใน 5 นาทีหลังจากนอน บางคนอาจจะหลับขณะตื่นโดยที่ไม่รู้ตัว ทั้งหมดเป็นการแสดงว่าคุณนอนไม่พอคุณต ้องเพิ่มเวลานอนหรือเพิ่มคุณภาพของการนอน การนอนหลับจาเป็นอย่างไรต่อร่างกาย ร่างกายเราเหมือนเครื่องจักรทางานตลอดเวลาการนอนเหมือนให ้เครื่องจักรได ้หยุด ทางาน สะสมพลังงานและขับของเสียออก การนอนจึงจาเป็นสาหรับร่างกายมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีการศึกษาว่าการนอนไม่พอจะมีอันตรายการประสานระหว่างมือและตา จะเหมือนกับผู้ที่ได ้รับสารพิษ ผู้ที่นอนไม่พอหากดื่มสุราจะทาให ้ความสามารถลดลง อ่อนเพลียมาก การดื่มกาแฟก็ไม่สามารถทาให ้หายง่วง มีการทดลองในหนูพบว่าหากนอนไม่พอหนูจะมีอายุสั้น ภูมิคุ้มกันต่าลง สาหรับคนหาก นอนไม่พอจะมีอาการง่วงและไม่มีสมาธิ ความจาไม่ดี ความสามารถในการคานวณด ้อยลง หากยังนอนไม่พอจะมีอาการภาพหลอน อารมณ์จะแกว่ง การนอนไม่พอเป็นสาเหตุของ อุบัติต่างๆ เชื่อว่าเซลล์สมองหากไม่ได ้นอนจะขาดพลังงานและมีของเสียคั่ง นอกจากนั้น การนอนหลับสนิทจะทาให ้มีการหลั่งฮอร์โมนเพื่อการเจริญเติบโต (growth hormone) จะปรึกษาแพทย์เมื่อไร ถ ้าหากอาการนอนไม่หลับเป็นมากกว่า 1 สัปดาห์ หรือทาให ้ไม่สามารถทางานได ้อย่างมี ประสิทธิภาพในเวลากลางวัน ก่อนพบแพทย์ควรทาตารางสารวจพฤติกรรมการนอน ประมาณ 10 วันเพื่อให ้แพทย์วินิจฉัย ในการรักษาแพทย์จะแนะนาเรื่องการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการนอน ถ ้าไม่ดีจึงจะให ้ยานอนหลับ การนอนหลับอย่างพอเพียงทั้งระยะเวลา และคุณภาพของการนอนหลับจะเป็นปัจจัยในการ ส่งเสริมสุขภาพที่ดีเหมือนกับการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ และการออกกาลังกาย
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8 อดนอน นอนดึก ทำร้ำยสุขภำพสุด ๆ แต่ถ้ำเปลี่ยนมำนอนให้เร็วขึ้น คุณจะได้รับ ประโยชน์เพียบ นี่ล่ะของขวัญจำกธรรมชำติ
  • 9. 9 ข้อดีของกำรนอนหลับ โดย นพ.กฤษดำ เล่ำให้ฟั งถึงผลเสียของกำรนอนดึกว่ำ ทำให้ 5 อวัยวะหลักเสื่อมเร็ว ขึ้น ทั้ง สมอง หัวใจ หลอดเลือด ต่อมไร้ท่อ และภูมิคุ้มกันร่ำงกำย แต่ถ้ำปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มำเป็นคนนอนเร็วขึ้น ตั้งแต่ 4 ทุ่มเป็นต้นไปจนถึงก่อนเที่ยงคืน ซึ่งเป็นนำทีทอง ก็จะช่วยให้มี สุขภำพดีขึ้นถึง 10 ประกำร แบบนี้เลย 1. สมองสร้ำงเคมีสุข อย่ำงที่รู้ว่ำ สมองเป็นหัวเรือใหญ่ในกำรแจกงำนให้อวัยวะต่ำง ๆ แม้แต่เวลำนอนก็ยัง มอบรำงวัลให้ร่ำงกำย ทั้ง เคมีนิทรำ (เมลำโทนิน), เคมีสุข (ซีโรโทนิน) และฮอร์โมนเพศ แถมยังมีเคมีบำรุงออกมำควบคุมระบบในตัวเรำให้ทำงำนรำบรื่น ตื่นขึ้นมำอย่ำงสดชื่น สร้ำง เกรำะป้องกันอำกำรป่ วยได้ด้วย 2. สร้ำงเคมีหนุ่มสำว ปกติแล้ว เคมีหนุ่มสำวที่เรียกว่ำ "โกรทฮอร์โมน" จะค่อย ๆ ลดลงตำมวัย รวมทั้งกำร นอนดึกก็ทำให้โกรทฮอร์โมนน้อยลงไปด้วย แต่ถ้ำเรำเข้ำนอนเร็ว สักรำว 4 ทุ่ม สมองจะช่วย ผลิตโกรทฮอร์โมนธรรมชำติให้ สรุปว่ำยิ่งเรำหลับไว หลับสนิท เรำก็ยิ่งดูอ่อนเยำว์นะ 3. ควำมจำดีขึ้น กำรศึกษำจำกสมำคมจิตวิทยำอเมริกัน (APA) ระบุว่ำ คนที่นอนหลับได้แค่รำว 4 ชั่วโมง ต่อคืน ติดต่อกันนำน ๆ มีผลต่อควำมจำ, สมำธิและอุบัติเหตุมำกขึ้น นั่นก็เพรำะเวลำเรำนอน สมองจะมีกลไกช่วยจัดระเบียบคล้ำยกับกำรแยกอีเมลขยะออกไป แต่ถ้ำเรำอดนอน เรำจะ รู้สึกมึน ลืมง่ำย หรือไม่ก็ลิ้นพันกัน คิดอย่ำงพูดอย่ำง ดังนั้น ต้องนอนให้เต็มอิ่มจะได้เป็นกำร ชำร์จแบตฯ ให้สมอง พร้อมรับควำมจำใหม่ ๆ 4. คุมควำมดันโลหิตได้ กำรนอนหลับเร็วจะช่วยให้ระบบประสำทอัตโนมัติทั้งหลำย และกลไกทำงชีววิทยำที่เป็น เหมือนฟั นเฟืองขนำดจิ๋วทำงำนซับซ้อน ช่วยควบคุมหัวใจ และควำมดันโลหิตให้สงบลง ไม่ แกว่งขึ้น-ลงง่ำยเหมือนกับตอนตื่นนอน 5. ร่ำงกำยได้ซ่อมแซมส่วนสึกหรอ คนก็เหมือนเครื่องยนต์ ทำงำนมำหนักก็ต้องหยุดพักบ้ำงจริงไหม ซึ่งกำรนอนก็เหมือน เข้ำอู่ซ่อมรถ ช่วยซ่อมแซมร่ำงกำยที่สึกหรอ ช่วยให้สมองได้พักผ่อน กล้ำมเนื้อคลำยตัว
  • 10. 10 หัวใจสงบขึ้น ควำมดันลดลง 6. ลดควำมเสี่ยงโรคอ้วน ทำไมน่ะหรือ ? ก็เพรำะถ้ำเรำนอนเร็วจะทำให้เรำไม่หิวกลำงดึกจนกินดุตำมมำไงล่ะ นอกจำกนั้น ยังมีกลไกดับหิวด้วยกำรสร้ำงเคมีดับหิวขึ้นมำ ทำให้กำรนอนเร็วช่วยคุมน้ำหนัก ตัวได้ดีกว่ำ อีกทั้งยังกระตุ้นเตำเผำในร่ำงกำยให้ทำงำนได้ดี ช่วยให้ไม่อ้วนง่ำย ไม่สร้ำงเคมี เก็บไขมันมำกด้วย 7. มีควำมสุขง่ำยขึ้น ยิ่งอดนอนสมองของเรำก็ยิ่งอึมครึม ทำให้ขำดสมำธิ ควำมจำก็ไม่ดี อะไรมำกระทบนิด กระทบหน่อยก็หงุดหงิดอำรมณ์เสียแล้ว แล้วจะมีควำมสุขได้อย่ำงไรล่ะ แต่ถ้ำเรำลองนอนให้ เร็วขึ้น เรำจะได้นอนอย่ำงเต็มอิ่ม ร่ำงกำยและสมองได้พักผ่อน ควำมจำดี มีสมำธิ มองอะรก็ มีควำมสุขได้ง่ำยขึ้นจริง ๆ นะ 8. ได้ล้ำงพิษ เวลำที่เรำนอนจะเป็นช่วงเวลำที่อวัยวะอย่ำง ตับ ไต ลำไส้ ซึ่งเป็นอวัยวะที่ช่วยล้ำงพิษ ทำงำนได้ดีขึ้น ลองสังเกตดูสิ ถ้ำใครชอบอดนอน หรือนอนดึก นอกจำกหน้ำตำดูหม่นหมอง แล้ว ยังมีปั ญหำท้องผูกด้วย นั่นเพรำะส่วนหนึ่งของพิษมำจำกกำรนอนดึก เพรำะฉะนั้น สำว ๆ ที่ชอบปวดรอบเดือนบ่อย ๆ ให้นอนให้เร็วขึ้น จะช่วยคุมเคมีปวดได้มำก 9. ไม่เสี่ยงโรคกำเริบ เครื่องยนต์ที่ทำงำนเกินเวลำก็เสียได้ นับประสำอะไรกับมนุษย์ที่ไม่ยอมพักผ่อน ไม่ยอม หลับยอมนอน ควำมเหนื่อยล้ำอ่อนเพลียก็อำจทำให้โรคที่พกอยู่ตำมอวัยวะต่ำง ๆ พำกัน แผลงฤทธิ์ขึ้นได้ โดยเฉพำะโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ควำมดันสูง เบำหวำน ภูมิแพ้ โรคเครียดซึมเศร้ำ และโรคมะเร็ง 10. ช่วยป้องกันแก่ ไม่อยำกแก่รีบชวนกันนอนตั้งแต่หัวค่ำ เพรำะแค่นอนก็ช่วยเสริมสร้ำงควำมหนุ่มสำว และช่วยลดปั จจัยเสี่ยงทั้งหลำยไม่ให้ทำร้ำยร่ำงกำยก่อนวัยอันควร จึงป้องกันควำมเสื่อมชรำ ได้ด้วย
  • 11. 11 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.กระดาษแบบสอบถาม 2.ปากกา งบประมาณ 500 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้เข้าร่วมการเปลี่ยนพฤติกรรมการนอนมีสุขภาพที่ดีขึ้น 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน
  • 12. 12 สถานที่ดาเนินการ สถานที่แถวโรงพยาบาลช้างเผือก กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/effects-of-sleep-deprivation https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/insomnia/index.htm https://health.kapook.com/view89224.html