SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10
นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10
2.นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภัยเงียบที่ใกล้ตัวคุณโรคหลอดเลือดสมอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) stroke
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10
นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันโรคนี้เป็นโรคที่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆไม่ว่าจะเป็นวัยรุ่น วัยกลางคน วัยทางาน ผู้สูงวัยก็ตาม
ก็มีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ได้ เพราะมีหลายปัยจัยในการทาให้เกิดโรคแต่ก็มีการรักษาได้ ปูองกันได้ แต่ในบางครั้งนั่นจะ
เป็นโรคร้ายที่เงียบรอวันที่จะทาให้ล้มปุวยในทันทีแบบที่คุณไม่ได้ทันตั้งตัว มีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง แขนขา
อ่อนแรง พูดไม่ชัด เดินเซเสียหลัก เนื่องจากเป็นภัยเงียบที่ใกล้ตัวทุกคนบนโลกจึงอยากทาการจาลองทฤษฎีขึ้นมา
เพราะการที่เป็นภัยเงียบนั่นต้องมีทั้งเหตุและผลที่ตามมาจึงจาเป็นต่อการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเป็นอย่างมาก
ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันหรือแม้แต่ในอนาคตก็ตามแต่ก็คงมีความร้ายกาจที่กาลังคืบคานเข้ามาใกล้ๆตัวคุณ
โรคนี้ไม่ได้หายไปไหนเพียงแต่มันรอคอยคุณอยู่เมื่อคุณมีปัจจัยเสี่ยงมากขึ้นมันก็ยิ่งขยับเข้ามาเรื่อยๆจนในที่สุดมันก็
เข้ามาทาร้ายตัวคุณอย่างที่คุณที่ไม่ได้ทันตั้งตัวมาก่อน เหตุผลที่ผมได้เลือกหัวข้อนี้ในการทางานนั่นเพราะว่า คนที่อยู่
ใกล้ตัวผมทุกคน มักจะเข้าโรงบาลบ่อยๆเป็นโรคนี้เป็นโรคนั่น ทาให้ผมต้องไปเยี่ยมหรือเฝูาบ่อย ที่หนักที่สุดก็คือการที่
พ่อของผมนั่นเข้ารับการผ่าตัดสมองเพราะสมองส่วนท้ายได้มีการตาย(สมองตาย) แต่ไมได้อันตรายถึงชีวิตเพราะมัน
ไม่ใช่ส่วนที่ใช้ในการคิด การขยับร่างกาย ผมจึงต้องเฝูาคุณพ่อผมเป็นระยะเวลา 2 อาทิตย์ทาให้ได้รู้ได้เข้าใจเกี่ยวกับ
การแพทย์มากยิ่งขึ้น การผ่าตัดสมองนั่นมีผลข้างเคียงหลายอย่างแต่สาหรับพ่อผมนั่น มีผลข้างเคียงคือการกลืนอาหาร
การทรงตัว การควยคุมอารมณ์ คุณหมอที่ทาให้การรักษาบอกว่า คนไข้จะไม่เต็ม 100 % นั่นคือผลข้างเคียง ตอนนั่น
3
มันทาให้ผมอยากเจอหมอ แต่ตอนนั่น ผมก็อยู่ ม.5 แล้วแต่ตอนเข้า ม.4 นั่นผมไม่สามารถเข้าเรียนแผนกการเรียน
วิทย์-คณิต ได้จึงอดที่จะเป็น
โรคหลอดเลือดในสมอง (stroke) มีชื่อเรียกที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างอื่นคือ Cerebrovascular Disease (CVD),
Cerebrovascular Accident (CVA), Brain attack เป็นโรคที่ทาให้เป็นสาเหตุของตายมากเป็นอันดับต้นของโลก
โดยพบมีโอกาสที่จะพบโรคนี้ได้สูงถึง 1 ใน 6 ของคนทั้งโลกเลยทีเดียว และเป็นโรคที่พบได้ทั้งในเพศชาย เพศหญิง
แต่เป็นโรคที่สามารถปูองกัน และรักษาได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง
2.เพื่อเป็นการค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมอง
3.เพื่อการเป็นจาลองทฤษฎีการเกิดโรคหลอดเลือดสมองขึ้นมา
4.เพื่อเป็นการทาให้ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับโรคนี้ให้ทุกคนได้ทราบถึงความอันตรายของโรคหลอดเลือกสมอง
5.เพื่อทราบให้การรักษาของโรคหลอดเลือดสมอง
ขอบเขต
โครงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมองนี้ตั้งขอบเขตไว้ที่โรคหลอดเลือดสมองเพียงโรคเดียวโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องด้วยจะไม่
นาเข้ามาในโครงงานนี้ โครงงานนี้มีข้อจากัดคือ ปัจจัยเสี่ยง ประเภท อาการ ผล การวินิจฉัยโรค การปูองกัน และการ
รักษา แนวทางการรักษา
หลักการและทฤษฎี
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
1. กระบวนทัศน์หลักเกี่ยวกับทฤษฎี
1.1. บุคคล หมายถึง คนหรือมนุษย์ที่เป็นผู้รับบริการที่ประกอบด้วย ชีวะ จิต สังคม และมีระบบการปรับตัวเป็นองค์
รวม มีลักษณะเป็นระบบเปิด
1.2. ภาวะสุขภาพ หมายถึง สภาวะและกระบวนการที่ทาให้บุคคลมีความมั่นคงสมบูรณ์
1.3. สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งที่อยู่รอบตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอก ซึ่งรอยได้เรียกสิ่งแวดล้อมว่าเป็นสิ่งเร้า มี
3 ประเภท คือ
1.3.1. สิ่งเร้าตรง
1.3.2. สิ่งเร้าร่วม
1.3.3. สิ่งเร้าแฝง
1.4. การพยาบาล การช่วยเหลือให้กับบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว ชุมชน และการพยาบาลมีเปูาหมายส่งเสริมให้มี
การปรับตัวที่เหมาะสมของบุคคลและสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุ เพื่อบรรลุซึ่งการมีสภวะสุขภาพและคุณภาพชีวิต
2. มโนทัศน์หลักในทฤษฎีการปรับตัวของรอย
4
2.1. บุคคลเป็นระบบการปรับตัว (Human as Adaptive system)
2.1.1. สิ่งนาออกหรือผลรับ
2.1.1.1. เป็นผลของการปรับตัวของบุคคลที่จะสังเกตได้จากพฤติกรรมการปรับตัวทั้ง 4 ด้าน
2.1.2. สิ่งนาเข้า
2.1.2.1. สิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อมหรือจากตัวบุคคลและระดับการปรับตัวของบุคคล
2.1.3. กระบวนการ
2.1.3.1. กลไลการควบคุม เกิดขึ้นในระบบตามธรรมชาติ นั่นคือ การปรับตัวพื้นฐานของบุคคล
2.1.3.2. กลไกการรับรู้ เกิดจากการเรียนรู้ คือ การทางานของจิตและอารมณ์ 4 กระบวนการ ได้แก่
2.1.3.2.1. การรับรู้
2.1.3.2.2. การเรียนรู้
2.1.3.2.3. การตัดสินใจ
2.1.3.2.4. การแก้ปัญหา
2.2. พฤติกรรมการปรับตัว (Adaptive Mode)
2.2.1. ด้านร่างกาย
2.2.1.1. วิธีการตอบสนองด้านร่างกายต่อสิ่งเร้าโดยสะท้อนให้เห็นการทางานระดับเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ
2.2.1.1.1. การรับความรู้สึก
2.2.1.1.2. น้าและอิเลคโตรลัยท์
2.2.1.1.3. การทางานของระบบประสาท
2.2.1.1.4. การทางานของระบบต่อมไร้ท่อ
2.2.2. ด้านอัตมโนทัศน์
2.2.2.1. อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย
2.2.2.1.1. ด้านรับรู้ความรู้สึกด้านร่างกาย
2.2.2.1.2. ด้านภาพลักษณ์ของตนเอง
2.2.2.2. อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคล
2.2.2.2.1. ด้านความมั่นคงในตนเอง
2.2.2.2.2. ด้านความคาดหวัง
2.2.2.2.3. ด้านศีลธรรมจรรยา
2.2.3. ด้านบทบาทหน้าที่
2.2.3.1. บทบาทปฐมภูมิ
2.2.3.1.1. ( Primary role ) ป็นบทบาทที่มีติดตัว เกิดจากพัฒนาการช่วงชีวิตช่วยในการคาดคะเนว่าแต่ละบุคคลควร
มีพฤติกรรมอย่างไร
2.2.3.2. บทบาททุติยภูมิ
2.2.3.2.1. ( Secondary role)เกิดจากพัฒนาการทางด้านสังคมการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับงานที่ทา
2.2.3.3. บทบาทตติยภูมิ
5
2.2.3.3.1. ( Tertiary role ) ป็นบทบาทชั่วคราวที่บุคคลมีอิสระที่จะเลือกเพื่อส่งเสริมให้บรรลุซึ่งเปูาหมายบางอย่าง
ของชีวิต สิ้นสุดการสนทนาผ่านแชท
2.2.4. ด้านการพึ่งพาระหว่างกัน
2.2.4.1. สัมพันธภาพกับบุคคลใกล้ชิด
2.2.4.1.1. บุคคลมีความสาคัญต่อตนเองมากที่สุด
2.2.4.2. สัมพันธภาพกับระบบสนับสนุน
2.2.4.2.1. บุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้องและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
2.3. สิ่งเร้า (stimuli)
2.3.1. สิ่งเร้าตรง
2.3.1.1. สิ่งเร้าที่บุคคลเผชิญโดยตรงและมีความสาคัญมากที่สุดที่ทาให้บุคคลต้องปรับตัว เช่น ได้รับการผ่าตัดหรือ
การฉายรังสี เป็นต้น
2.3.2. สิ่งเร้าร่วม
2.3.2.1. สิ่งเร้าอื่น ๆ ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อม และมีความเกี่ยวข้องกับการปรับตัวของบุคคลนั้น
2.3.2.1.1. เช่น คุณลักษณะทางพันธุกรรม เพศ ระยะพัฒนาการของบุคคล ยา สุรา บุหรี่ อัตมโนทัศน์ การพึ่งพา
ระหว่างกัน
2.3.3. สิ่งเร้าแฝง
2.3.3.1. สิ่งเร้าที่เป็นผลมาจากประสบการณ์ในอดีตซึ่งเกี่ยวกับทัศนคติ อุปนิสัยและบุคลิกภาพเดิม สิ่งเร้าในกลุ่มนี้
บางครั้งตัดสินยาก ว่ามีผลต่อการปรับตัวหรือไม่
3. ทฤษฎีการปรับตัวของรอยกับกระบวนการทางพยาบาล
3.1. ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาวะ
3.1.1. 1.ประเมินพฤติกรรม ปฏิกริยาตอบสนองของผู้ปุวยต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้า
3.1.2. 2. ประเมินองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัว ประเมินหรือค้นหาสาเหตุที่ทาให้ผู้ปุวยมีปัญหาการปรับตัว
3.2. ขั้นตอนที่ 2 การวินิจฉัยการพยาบาล
3.2.1. จะกระทาหลังการประเมินสภาวะ โดยการระบุปัญหาที่ประเมินได้ และระบุสิ่งเร้าที่เป็นสาเหตุของปัญหา
3.3. ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
3.3.1. กาหนดเปูาหมายการพยาบาลหลังจากที่ได้ระบุปัญหาและสาเหตุ จุดมุ่งหมายของการพยาบาลคือการปรับ
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม
3.4. ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
3.4.1. ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาลเป็นขั้นตอนที่ 5 ตามแนวคิดของรอย โดยเน้นจัดการกับสิ่งเร้า หรือสิ่งที่เป็น
สาเหตุของการเกิดปัญหาการปรับตัว โดยทั่วไปมักจะมุ่งปรับสิ่งเร้าตรงก่อนเนื่องจากเป็นสาเหตุสาคัญของการเกิด
ปัญหา ขั้นต่อไปจึงพิจารณาปรับสิ่งเร้าร่วมหรือสิ่งเร้าแฝง และส่งเสริมการปรับตัวให้เหมาะสม
3.5. ขั้นตอนที่ 5 การประเมิน
3.5.1. ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการพยาบาลคือ การประเมินผลการพยาบาล โดยดูว่าการพยาบาลที่ให้บรรลุ
เปูาหมายที่ต้องการหรือไม่
6
4. สรุป ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
4.1. ทฤษฏีการปรับตัวของรอย ช่วยให้เห็นลักษณะของวิชาชีพพยาบาล และทิศทางของการปฏิบัติการพยาบาล
จุดมุ่งหมายและกิจกรรมการพยาบาลที่เหมาะสม และท้ายที่สุดทฤษฎีการปรับตัวของรอย ยังได้เน้นให้เห็นถึงคุณค่า
ของผู้ปุวย ซึ่งเป็นผู้รับบริการที่พยาบาลควรให้ความสาคัญการส่งเสริมศักยภาพของผู้ปุวยนับว่าเป็นบริการจาก
พยาบาลที่มีคุณประโยชน์ต่อบุคคลในสังคม
ภาวะซึมเศร้าของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะซึมเศร้าหลังหลอดเลือดสมอง (poststroke depression PSD) ก็สาคัญ และพบได้บ่อย ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน
ที่รุนแรงของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งในระยะเริ่มแรกและระยะหลังของการปุวย พบได้ราวร้อยละ 26 ถึงร้อย
ละ 60 ของผู้ปุวยในช่วง 2 ปีแรก หลังปุวย อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติผู้ปุวยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกต้อง
ยังมีจานวนน้อย ได้รายงานผู้ปุวย 4 ราย ที่มี PSD และมีอาการหลักคือ นอนไม่หลับ อารมณ์หงุดหงิด เบื่ออาหาร
และรู้สึกท้อแท้หมดหวัง ผู้ปุวยเหล่านี้มีภาวะซึมเศร้าหลังโรคหลอดเลือดสมองเป็นเวลานาน 1 เดือน 5 เดือน 3 ปี
และ 2 ปี ตามลาดับ ผู้ปุวยทั้ง 4 ราย ตอบสนองดีต่อการรักษาด้วยยาต้านเศร้าที่มีฤทธิ์ต่อสารสื่อประสาทกลุ่มนอร์อด
ริเนอร์จิก ผู้ปุวยรายที่ 1 และรายที่ 2 ได้รับการฝึกกายภาพบาบัดใหม่ และผู้ปุวยทุกรายมีการปรับตัวทางสังคมที่ดีขึ้น
(สุรางค์ เลิศคชาธาร, 2542. http://www.dmh.go.th/abstract/details.asp?id=193) ๖๗
ปฏิกิริยาทางอารมณ์ของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง
ปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรมที่พบในผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมองมีหลายรูปแบบ โดยภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาที่พบ
ได้บ่อยที่สุด และมักพบร่วมกับปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรมอื่นๆ เช่น อารมณ์วิตกกังวล เกิดจากความไม่รู้ไม่
เข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็น จะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด รักษาหายหรือไม่ ผู้ปุวยจะมีอาการแสดงออกทาง
ร่างกายคือ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ บางรายมีพฤติกรรมถดถอยเหมือนเด็ก บางรายมีพฤติกรรมต่อต้าน ปฏิเสธ
การดูแลจากผู้อื่น บางรายก้าวร้าว ควบคุมตนเองไม่ได้
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และพฤติกรรมเหล่านี้ จะพบเห็นได้บ่อยในระยะแรกของการเจ็บปุวยคือช่วงระยะ 1 – 3
เดือนแรก และจะค่อยๆลดลงเมื่อเวลาผ่านไปนานกว่า 1 ปี ในรายที่เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย อาจปรับตัวได้เอง
โดยไม่ต้องใช้ยารักษาซึ่งเป็นระยะที่บุคลากรสาธารณสุขสามารถให้การดูแลด้วยการประคับประคองทางจิตใจแก่
ผู้ปุวยได้ เพื่อปูองกันปัญหาสุขภาพจิต แต่ในรายที่มีอาการทางจิตใจมากจนรบกวนต่อการรักษาของแพทย์และการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพ การส่งต่อเพื่อให้การบาบัดรักษาโดยผู้เชี่ยวชาญและการใช้ยาที่เหมาะสมจะช่วยลดอาการได้มาก
(กรมการแพทย์, 2553.)
1. แนวทางการดูแลผู้ปุวยจากโรคหลอดเลือด
สมอง http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/link_km/HemiplegicStroke/
2. แนวทางการฟื้นฟูผู้ปุวยอัมพาตครึ่งซีก จากโรคหลอดเลือดสมองอย่าง่าย(ฉบับการ์ตูน)
http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/km.php
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา
เลือกหัวข้อโครงงานที่ผู้จัดทาสนใจจะทาโดยทางผู้จัดทาสนใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของผู้คนทั่วโลก และ
จากข่าวหรือบทความต่างๆมักจะมีโรคนี้เสมอเพราะเป็นภัยเงียบที่ใกล้ตัว ทุกเพศ ทุกวัย ก็มีโอกาสเสี่ยงทั้งนั่นที่จะ
เป็นโรคนี้ คือโรคหลอดเลือดสมองนั่นเอง
2.ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้าเอกสารและข้อมูลต่างๆจากเว็บไซด์ด้านการแพทย์ทางอินเทอร์เน็ต
เนื่องจาก โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่มีผู้คนบนโลกเป็นมากที่สุดบางรายอาจพิการหรือตายก็ได้ ซึ่งได้จากการ
บทความด้านการแพทย์บนอินเทอร์เน็ต
3.จัดทาโครงร่างโครงงาน
ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาข้อมูลต่างๆอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้ว จึงทาการวางแผนโดยการทาโครงร่าง
โครงงานขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์หัวข้อที่เราสนใจและที่จะทา
4.จัดสร้างโครงงานและนาเสนอ
พวกผมจะจัดสร้างโครงงานเพื่อการศึกษาโดยใช้โปรแกรม Microsoft office powerpoint ในการ
นาเสนอและเป็นตัวโครงงานคอมพิวเตอร์ไปในตัวด้วย โดยที่กล่าวมาทางผู้ตจัดทาได้ทาหัวข้อเรื่อง โรคหลอดเลือด
สมอง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
กระดาษใช้สาหรับการคิดผังงาน
ปากกา
งบประมาณ
-ไม่มี-
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ปฐพี
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปฐพี
3 จัดทาโครงร่างงาน ปฐพี
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปฐพี
5 ปรับปรุงทดสอบ ปัญญกร
6 การทาเอกสารรายงาน ปฐพี
7 ประเมินผลงาน ปัญญกร
8 นาเสนอโครงงาน ปัญญกร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ตัวผู้จัดทาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองมาก จะได้ไม่เข้าใจผิดในการเข้าใจโรคนี้ และนา
ความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันอีกด้วย รวมทั้งจะนาไปใส่นาเว็บ Blogger เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง
ให้แก่ผู้ที่ต้องการความรู้ นักเรียนนักศึกษาหรือบุคคลทั่วไป
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
บ้านของผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
สังคมศึกษา
สุขะศึกษา
9
แหล่งอ้างอิง
โรคหลอดเลือดสมอง(ออนไลน์)
https://www.bumrungrad.com/th/neurology-stroke-dementia-neurosurgery-treatment-center-
bangkok-thailand/conditions/stroke
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/cva/index.htm
https://www.cigna.co.th/health-wellness/tip/stroke-disease
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0
%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%
AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87
แนวทางการดูแลผู้ปุวยจากโรคหลอดเลือดสมอง
http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/link_km/HemiplegicStroke/
แนวทางการฟื้นฟูผู้ปุวยอัมพาตครึ่งซีก จากโรคหลอดเลือดสมองอย่าง่าย(ฉบับการ์ตูน)
http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/km.php
ภาวะซึมเศร้าของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง
www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=172399
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
https://www.mindmeister.com/754537808/roy-adaptation-theory

More Related Content

Similar to โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง

2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
ssuser00a92d
 

Similar to โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง (20)

2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
2562 final-project 01..
2562 final-project 01..2562 final-project 01..
2562 final-project 01..
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond12562 final-project 01pond1
2562 final-project 01pond1
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
Final01
Final01Final01
Final01
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
 
T1 67 62
T1 67 62T1 67 62
T1 67 62
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 

More from พีพี ปฐพี

More from พีพี ปฐพี (7)

กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
 
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2,3,4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่าโครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
 
แบบสำรวจ
แบบสำรวจแบบสำรวจ
แบบสำรวจ
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 

โครงร่างโครงงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10 นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10 2.นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภัยเงียบที่ใกล้ตัวคุณโรคหลอดเลือดสมอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) stroke ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายปัญญกร ปัญญารัตน์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10 นายปฐพี อรุณกิจ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโรคนี้เป็นโรคที่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆไม่ว่าจะเป็นวัยรุ่น วัยกลางคน วัยทางาน ผู้สูงวัยก็ตาม ก็มีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ได้ เพราะมีหลายปัยจัยในการทาให้เกิดโรคแต่ก็มีการรักษาได้ ปูองกันได้ แต่ในบางครั้งนั่นจะ เป็นโรคร้ายที่เงียบรอวันที่จะทาให้ล้มปุวยในทันทีแบบที่คุณไม่ได้ทันตั้งตัว มีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง แขนขา อ่อนแรง พูดไม่ชัด เดินเซเสียหลัก เนื่องจากเป็นภัยเงียบที่ใกล้ตัวทุกคนบนโลกจึงอยากทาการจาลองทฤษฎีขึ้นมา เพราะการที่เป็นภัยเงียบนั่นต้องมีทั้งเหตุและผลที่ตามมาจึงจาเป็นต่อการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเป็นอย่างมาก ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันหรือแม้แต่ในอนาคตก็ตามแต่ก็คงมีความร้ายกาจที่กาลังคืบคานเข้ามาใกล้ๆตัวคุณ โรคนี้ไม่ได้หายไปไหนเพียงแต่มันรอคอยคุณอยู่เมื่อคุณมีปัจจัยเสี่ยงมากขึ้นมันก็ยิ่งขยับเข้ามาเรื่อยๆจนในที่สุดมันก็ เข้ามาทาร้ายตัวคุณอย่างที่คุณที่ไม่ได้ทันตั้งตัวมาก่อน เหตุผลที่ผมได้เลือกหัวข้อนี้ในการทางานนั่นเพราะว่า คนที่อยู่ ใกล้ตัวผมทุกคน มักจะเข้าโรงบาลบ่อยๆเป็นโรคนี้เป็นโรคนั่น ทาให้ผมต้องไปเยี่ยมหรือเฝูาบ่อย ที่หนักที่สุดก็คือการที่ พ่อของผมนั่นเข้ารับการผ่าตัดสมองเพราะสมองส่วนท้ายได้มีการตาย(สมองตาย) แต่ไมได้อันตรายถึงชีวิตเพราะมัน ไม่ใช่ส่วนที่ใช้ในการคิด การขยับร่างกาย ผมจึงต้องเฝูาคุณพ่อผมเป็นระยะเวลา 2 อาทิตย์ทาให้ได้รู้ได้เข้าใจเกี่ยวกับ การแพทย์มากยิ่งขึ้น การผ่าตัดสมองนั่นมีผลข้างเคียงหลายอย่างแต่สาหรับพ่อผมนั่น มีผลข้างเคียงคือการกลืนอาหาร การทรงตัว การควยคุมอารมณ์ คุณหมอที่ทาให้การรักษาบอกว่า คนไข้จะไม่เต็ม 100 % นั่นคือผลข้างเคียง ตอนนั่น
  • 3. 3 มันทาให้ผมอยากเจอหมอ แต่ตอนนั่น ผมก็อยู่ ม.5 แล้วแต่ตอนเข้า ม.4 นั่นผมไม่สามารถเข้าเรียนแผนกการเรียน วิทย์-คณิต ได้จึงอดที่จะเป็น โรคหลอดเลือดในสมอง (stroke) มีชื่อเรียกที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างอื่นคือ Cerebrovascular Disease (CVD), Cerebrovascular Accident (CVA), Brain attack เป็นโรคที่ทาให้เป็นสาเหตุของตายมากเป็นอันดับต้นของโลก โดยพบมีโอกาสที่จะพบโรคนี้ได้สูงถึง 1 ใน 6 ของคนทั้งโลกเลยทีเดียว และเป็นโรคที่พบได้ทั้งในเพศชาย เพศหญิง แต่เป็นโรคที่สามารถปูองกัน และรักษาได้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง 2.เพื่อเป็นการค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมอง 3.เพื่อการเป็นจาลองทฤษฎีการเกิดโรคหลอดเลือดสมองขึ้นมา 4.เพื่อเป็นการทาให้ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับโรคนี้ให้ทุกคนได้ทราบถึงความอันตรายของโรคหลอดเลือกสมอง 5.เพื่อทราบให้การรักษาของโรคหลอดเลือดสมอง ขอบเขต โครงานเรื่องโรคหลอดเลือดสมองนี้ตั้งขอบเขตไว้ที่โรคหลอดเลือดสมองเพียงโรคเดียวโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องด้วยจะไม่ นาเข้ามาในโครงงานนี้ โครงงานนี้มีข้อจากัดคือ ปัจจัยเสี่ยง ประเภท อาการ ผล การวินิจฉัยโรค การปูองกัน และการ รักษา แนวทางการรักษา หลักการและทฤษฎี ทฤษฎีการปรับตัวของรอย 1. กระบวนทัศน์หลักเกี่ยวกับทฤษฎี 1.1. บุคคล หมายถึง คนหรือมนุษย์ที่เป็นผู้รับบริการที่ประกอบด้วย ชีวะ จิต สังคม และมีระบบการปรับตัวเป็นองค์ รวม มีลักษณะเป็นระบบเปิด 1.2. ภาวะสุขภาพ หมายถึง สภาวะและกระบวนการที่ทาให้บุคคลมีความมั่นคงสมบูรณ์ 1.3. สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งที่อยู่รอบตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอก ซึ่งรอยได้เรียกสิ่งแวดล้อมว่าเป็นสิ่งเร้า มี 3 ประเภท คือ 1.3.1. สิ่งเร้าตรง 1.3.2. สิ่งเร้าร่วม 1.3.3. สิ่งเร้าแฝง 1.4. การพยาบาล การช่วยเหลือให้กับบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว ชุมชน และการพยาบาลมีเปูาหมายส่งเสริมให้มี การปรับตัวที่เหมาะสมของบุคคลและสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุ เพื่อบรรลุซึ่งการมีสภวะสุขภาพและคุณภาพชีวิต 2. มโนทัศน์หลักในทฤษฎีการปรับตัวของรอย
  • 4. 4 2.1. บุคคลเป็นระบบการปรับตัว (Human as Adaptive system) 2.1.1. สิ่งนาออกหรือผลรับ 2.1.1.1. เป็นผลของการปรับตัวของบุคคลที่จะสังเกตได้จากพฤติกรรมการปรับตัวทั้ง 4 ด้าน 2.1.2. สิ่งนาเข้า 2.1.2.1. สิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อมหรือจากตัวบุคคลและระดับการปรับตัวของบุคคล 2.1.3. กระบวนการ 2.1.3.1. กลไลการควบคุม เกิดขึ้นในระบบตามธรรมชาติ นั่นคือ การปรับตัวพื้นฐานของบุคคล 2.1.3.2. กลไกการรับรู้ เกิดจากการเรียนรู้ คือ การทางานของจิตและอารมณ์ 4 กระบวนการ ได้แก่ 2.1.3.2.1. การรับรู้ 2.1.3.2.2. การเรียนรู้ 2.1.3.2.3. การตัดสินใจ 2.1.3.2.4. การแก้ปัญหา 2.2. พฤติกรรมการปรับตัว (Adaptive Mode) 2.2.1. ด้านร่างกาย 2.2.1.1. วิธีการตอบสนองด้านร่างกายต่อสิ่งเร้าโดยสะท้อนให้เห็นการทางานระดับเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ 2.2.1.1.1. การรับความรู้สึก 2.2.1.1.2. น้าและอิเลคโตรลัยท์ 2.2.1.1.3. การทางานของระบบประสาท 2.2.1.1.4. การทางานของระบบต่อมไร้ท่อ 2.2.2. ด้านอัตมโนทัศน์ 2.2.2.1. อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย 2.2.2.1.1. ด้านรับรู้ความรู้สึกด้านร่างกาย 2.2.2.1.2. ด้านภาพลักษณ์ของตนเอง 2.2.2.2. อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคล 2.2.2.2.1. ด้านความมั่นคงในตนเอง 2.2.2.2.2. ด้านความคาดหวัง 2.2.2.2.3. ด้านศีลธรรมจรรยา 2.2.3. ด้านบทบาทหน้าที่ 2.2.3.1. บทบาทปฐมภูมิ 2.2.3.1.1. ( Primary role ) ป็นบทบาทที่มีติดตัว เกิดจากพัฒนาการช่วงชีวิตช่วยในการคาดคะเนว่าแต่ละบุคคลควร มีพฤติกรรมอย่างไร 2.2.3.2. บทบาททุติยภูมิ 2.2.3.2.1. ( Secondary role)เกิดจากพัฒนาการทางด้านสังคมการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับงานที่ทา 2.2.3.3. บทบาทตติยภูมิ
  • 5. 5 2.2.3.3.1. ( Tertiary role ) ป็นบทบาทชั่วคราวที่บุคคลมีอิสระที่จะเลือกเพื่อส่งเสริมให้บรรลุซึ่งเปูาหมายบางอย่าง ของชีวิต สิ้นสุดการสนทนาผ่านแชท 2.2.4. ด้านการพึ่งพาระหว่างกัน 2.2.4.1. สัมพันธภาพกับบุคคลใกล้ชิด 2.2.4.1.1. บุคคลมีความสาคัญต่อตนเองมากที่สุด 2.2.4.2. สัมพันธภาพกับระบบสนับสนุน 2.2.4.2.1. บุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้องและพึ่งพาซึ่งกันและกัน 2.3. สิ่งเร้า (stimuli) 2.3.1. สิ่งเร้าตรง 2.3.1.1. สิ่งเร้าที่บุคคลเผชิญโดยตรงและมีความสาคัญมากที่สุดที่ทาให้บุคคลต้องปรับตัว เช่น ได้รับการผ่าตัดหรือ การฉายรังสี เป็นต้น 2.3.2. สิ่งเร้าร่วม 2.3.2.1. สิ่งเร้าอื่น ๆ ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อม และมีความเกี่ยวข้องกับการปรับตัวของบุคคลนั้น 2.3.2.1.1. เช่น คุณลักษณะทางพันธุกรรม เพศ ระยะพัฒนาการของบุคคล ยา สุรา บุหรี่ อัตมโนทัศน์ การพึ่งพา ระหว่างกัน 2.3.3. สิ่งเร้าแฝง 2.3.3.1. สิ่งเร้าที่เป็นผลมาจากประสบการณ์ในอดีตซึ่งเกี่ยวกับทัศนคติ อุปนิสัยและบุคลิกภาพเดิม สิ่งเร้าในกลุ่มนี้ บางครั้งตัดสินยาก ว่ามีผลต่อการปรับตัวหรือไม่ 3. ทฤษฎีการปรับตัวของรอยกับกระบวนการทางพยาบาล 3.1. ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาวะ 3.1.1. 1.ประเมินพฤติกรรม ปฏิกริยาตอบสนองของผู้ปุวยต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้า 3.1.2. 2. ประเมินองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัว ประเมินหรือค้นหาสาเหตุที่ทาให้ผู้ปุวยมีปัญหาการปรับตัว 3.2. ขั้นตอนที่ 2 การวินิจฉัยการพยาบาล 3.2.1. จะกระทาหลังการประเมินสภาวะ โดยการระบุปัญหาที่ประเมินได้ และระบุสิ่งเร้าที่เป็นสาเหตุของปัญหา 3.3. ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล 3.3.1. กาหนดเปูาหมายการพยาบาลหลังจากที่ได้ระบุปัญหาและสาเหตุ จุดมุ่งหมายของการพยาบาลคือการปรับ พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม 3.4. ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล 3.4.1. ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาลเป็นขั้นตอนที่ 5 ตามแนวคิดของรอย โดยเน้นจัดการกับสิ่งเร้า หรือสิ่งที่เป็น สาเหตุของการเกิดปัญหาการปรับตัว โดยทั่วไปมักจะมุ่งปรับสิ่งเร้าตรงก่อนเนื่องจากเป็นสาเหตุสาคัญของการเกิด ปัญหา ขั้นต่อไปจึงพิจารณาปรับสิ่งเร้าร่วมหรือสิ่งเร้าแฝง และส่งเสริมการปรับตัวให้เหมาะสม 3.5. ขั้นตอนที่ 5 การประเมิน 3.5.1. ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการพยาบาลคือ การประเมินผลการพยาบาล โดยดูว่าการพยาบาลที่ให้บรรลุ เปูาหมายที่ต้องการหรือไม่
  • 6. 6 4. สรุป ทฤษฎีการปรับตัวของรอย 4.1. ทฤษฏีการปรับตัวของรอย ช่วยให้เห็นลักษณะของวิชาชีพพยาบาล และทิศทางของการปฏิบัติการพยาบาล จุดมุ่งหมายและกิจกรรมการพยาบาลที่เหมาะสม และท้ายที่สุดทฤษฎีการปรับตัวของรอย ยังได้เน้นให้เห็นถึงคุณค่า ของผู้ปุวย ซึ่งเป็นผู้รับบริการที่พยาบาลควรให้ความสาคัญการส่งเสริมศักยภาพของผู้ปุวยนับว่าเป็นบริการจาก พยาบาลที่มีคุณประโยชน์ต่อบุคคลในสังคม ภาวะซึมเศร้าของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะซึมเศร้าหลังหลอดเลือดสมอง (poststroke depression PSD) ก็สาคัญ และพบได้บ่อย ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่รุนแรงของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งในระยะเริ่มแรกและระยะหลังของการปุวย พบได้ราวร้อยละ 26 ถึงร้อย ละ 60 ของผู้ปุวยในช่วง 2 ปีแรก หลังปุวย อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติผู้ปุวยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกต้อง ยังมีจานวนน้อย ได้รายงานผู้ปุวย 4 ราย ที่มี PSD และมีอาการหลักคือ นอนไม่หลับ อารมณ์หงุดหงิด เบื่ออาหาร และรู้สึกท้อแท้หมดหวัง ผู้ปุวยเหล่านี้มีภาวะซึมเศร้าหลังโรคหลอดเลือดสมองเป็นเวลานาน 1 เดือน 5 เดือน 3 ปี และ 2 ปี ตามลาดับ ผู้ปุวยทั้ง 4 ราย ตอบสนองดีต่อการรักษาด้วยยาต้านเศร้าที่มีฤทธิ์ต่อสารสื่อประสาทกลุ่มนอร์อด ริเนอร์จิก ผู้ปุวยรายที่ 1 และรายที่ 2 ได้รับการฝึกกายภาพบาบัดใหม่ และผู้ปุวยทุกรายมีการปรับตัวทางสังคมที่ดีขึ้น (สุรางค์ เลิศคชาธาร, 2542. http://www.dmh.go.th/abstract/details.asp?id=193) ๖๗ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง ปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรมที่พบในผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมองมีหลายรูปแบบ โดยภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาที่พบ ได้บ่อยที่สุด และมักพบร่วมกับปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรมอื่นๆ เช่น อารมณ์วิตกกังวล เกิดจากความไม่รู้ไม่ เข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็น จะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด รักษาหายหรือไม่ ผู้ปุวยจะมีอาการแสดงออกทาง ร่างกายคือ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ บางรายมีพฤติกรรมถดถอยเหมือนเด็ก บางรายมีพฤติกรรมต่อต้าน ปฏิเสธ การดูแลจากผู้อื่น บางรายก้าวร้าว ควบคุมตนเองไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และพฤติกรรมเหล่านี้ จะพบเห็นได้บ่อยในระยะแรกของการเจ็บปุวยคือช่วงระยะ 1 – 3 เดือนแรก และจะค่อยๆลดลงเมื่อเวลาผ่านไปนานกว่า 1 ปี ในรายที่เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย อาจปรับตัวได้เอง โดยไม่ต้องใช้ยารักษาซึ่งเป็นระยะที่บุคลากรสาธารณสุขสามารถให้การดูแลด้วยการประคับประคองทางจิตใจแก่ ผู้ปุวยได้ เพื่อปูองกันปัญหาสุขภาพจิต แต่ในรายที่มีอาการทางจิตใจมากจนรบกวนต่อการรักษาของแพทย์และการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ การส่งต่อเพื่อให้การบาบัดรักษาโดยผู้เชี่ยวชาญและการใช้ยาที่เหมาะสมจะช่วยลดอาการได้มาก (กรมการแพทย์, 2553.) 1. แนวทางการดูแลผู้ปุวยจากโรคหลอดเลือด สมอง http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/link_km/HemiplegicStroke/ 2. แนวทางการฟื้นฟูผู้ปุวยอัมพาตครึ่งซีก จากโรคหลอดเลือดสมองอย่าง่าย(ฉบับการ์ตูน) http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/km.php
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา เลือกหัวข้อโครงงานที่ผู้จัดทาสนใจจะทาโดยทางผู้จัดทาสนใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของผู้คนทั่วโลก และ จากข่าวหรือบทความต่างๆมักจะมีโรคนี้เสมอเพราะเป็นภัยเงียบที่ใกล้ตัว ทุกเพศ ทุกวัย ก็มีโอกาสเสี่ยงทั้งนั่นที่จะ เป็นโรคนี้ คือโรคหลอดเลือดสมองนั่นเอง 2.ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้าเอกสารและข้อมูลต่างๆจากเว็บไซด์ด้านการแพทย์ทางอินเทอร์เน็ต เนื่องจาก โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่มีผู้คนบนโลกเป็นมากที่สุดบางรายอาจพิการหรือตายก็ได้ ซึ่งได้จากการ บทความด้านการแพทย์บนอินเทอร์เน็ต 3.จัดทาโครงร่างโครงงาน ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาข้อมูลต่างๆอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้ว จึงทาการวางแผนโดยการทาโครงร่าง โครงงานขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์หัวข้อที่เราสนใจและที่จะทา 4.จัดสร้างโครงงานและนาเสนอ พวกผมจะจัดสร้างโครงงานเพื่อการศึกษาโดยใช้โปรแกรม Microsoft office powerpoint ในการ นาเสนอและเป็นตัวโครงงานคอมพิวเตอร์ไปในตัวด้วย โดยที่กล่าวมาทางผู้ตจัดทาได้ทาหัวข้อเรื่อง โรคหลอดเลือด สมอง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ กระดาษใช้สาหรับการคิดผังงาน ปากกา งบประมาณ -ไม่มี-
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ปฐพี 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปฐพี 3 จัดทาโครงร่างงาน ปฐพี 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปฐพี 5 ปรับปรุงทดสอบ ปัญญกร 6 การทาเอกสารรายงาน ปฐพี 7 ประเมินผลงาน ปัญญกร 8 นาเสนอโครงงาน ปัญญกร ผลที่คาดว่าจะได้รับ ตัวผู้จัดทาได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองมาก จะได้ไม่เข้าใจผิดในการเข้าใจโรคนี้ และนา ความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันอีกด้วย รวมทั้งจะนาไปใส่นาเว็บ Blogger เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้แก่ผู้ที่ต้องการความรู้ นักเรียนนักศึกษาหรือบุคคลทั่วไป สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย บ้านของผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา สุขะศึกษา
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง โรคหลอดเลือดสมอง(ออนไลน์) https://www.bumrungrad.com/th/neurology-stroke-dementia-neurosurgery-treatment-center- bangkok-thailand/conditions/stroke https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/cva/index.htm https://www.cigna.co.th/health-wellness/tip/stroke-disease https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0 %B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8% AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87 แนวทางการดูแลผู้ปุวยจากโรคหลอดเลือดสมอง http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/link_km/HemiplegicStroke/ แนวทางการฟื้นฟูผู้ปุวยอัมพาตครึ่งซีก จากโรคหลอดเลือดสมองอย่าง่าย(ฉบับการ์ตูน) http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/kmdms/km.php ภาวะซึมเศร้าของผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=172399 ทฤษฎีการปรับตัวของรอย https://www.mindmeister.com/754537808/roy-adaptation-theory