SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคติดมือถือโรคที่เกิดขึ้นกับคนในปัจจุบัน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร เลขที่ 33
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
- โรคติดมือถือโรคที่เกิดขึ้นกับคนในปัจจุบัน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
- Nomophobia in nowaday
ประเภทโครงงาน: สื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน: นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
โนโมโฟเบีย (Nomophobia) มาจากคาว่า "no mobile phone phobia" เป็นศัพท์ที่หน่วยงายวิจัยทาง
การตลาดขนาดใหญ่ (YouGov) บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2010 เพื่อใช้เรียกอาการที่เกิดจากความหวาดกลัว วิตกกังวลเมื่อ
ขาดโทรศัพท์มือถือเพื่อติดต่อสื่อสาร และอาการนี้กาลังถูกเสนอจัดเป็นโรคจิตเวชประเภทหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มวิตกกังวล
งานวิจัยที่เป็นที่มาของโรคนี้ได้ทาการศึกษาผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2,163 คนในสหราชอาณาจักรและพบว่า 53% ของ
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือในสหราชอาณาจักรจะเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อพบว่าโทรศัพท์หาย แบตเตอรี่หมด หรืออยู่ใน
สถานที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อีกทั้งยังพบว่า 58% ของผู้ชาย และ 47% ของผู้หญิงที่ใช้โทรศัพท์มือถือมีอาการของ
nomophobia และในจานวนนี้มีถึง 9% ของกลุ่มที่ศึกษา ระบุว่ารู้สึกเครียดมากถ้าโทรศัพท์ของตนเองใช้การไม่ได้
และเมื่อให้ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ระบุถึงระดับของ ความเครียดจากการขาดโทรศัพท์มือถือนั้น ความเครียดที่เกิดขึ้น
เทียบเท่ากับความเครียดที่เกิดขึ้นก่อนวันแต่งงานหรือความเครียดระดับเดียวกับการไปพบทันตแพทย์เลยทีเดียว โน
โมโฟเบียคือโรคที่คนในปัจจุบันเสี่ยงที่จะเป็นโรคกันสูงมากเมื่อดูจากผลการวิจัยข้างต้นแล้ว ผู้จัดทา โครงงานจึงมี
ความคิดอยากทาโครงงานที่ทาให้คนเลิกเสพติดโทรศัพท์ให้น้อยลง เพราะไม่ถ้าหากเราเล่นมากเกินไปจะ ส่งผลเสีย
ต้องสุขภาพมาก ดังนั้นจึงเกิดโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้ทุกคนได้ศึกษาของข้อเสียและอาการ ของโรค
โมโนโฟเบียค่ะ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นสื่อสาหรับผู้ต้องการศึกษา
2. เพื่อเข้าใจและตระหนักถึงโรคโนโมโฟเบียให้มากขึ้น
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ขอบเขตโครงงานและเงื่อนไขของการศึกษาเกี่ยวกับโรคโมโนโฟเบีย คือ สร้างสื่อให้ความรู้ผ่านGoogle Sites
2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมระบบอินเทอร์เนต
2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการในการสร้างเว็บบล็อก คือ https://www.slideshare.net
2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.facebook.com
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความหมาย ของโรคโมโนโฟเบีย เป็นคาศัพท์ที่องค์การวิจัยของสหราชอาณาจักร บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2008 เพื่อใช้เรียก
อาการขาดมือถือ ไม่ได้ เสพติดมือถือ โดยโรคนี้จัดอยู่ในกลุ่มอาการวิตกกังวล ตัวอย่างอาการเช่น ผู้ที่มมีือถือแต่ใช้
การ ไม่ได้เนื่องจากอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ หรือแบตเตอรีหมด จะรู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย บางรายหาก เป็นมาก
อาจเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก และคลื่นไส้ได้ ซึ่งระดับอาการจะมากน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับแต่ ละคน . ลักษณะ
อาการของโรคโมโนโฟเบีย
- พกโทรศัพท์มือถือติดตัวตลอดเวลา ต้องวางโทรศัพท์ไว้ใกล้ ๆ ตัว และจะรู้สึกกังวลใจมากถ้ามือถือไม่ได้ อยู่กับตัว
- หมกมุ่นอยู่กับการเช็กข้อความ อัปเดตข้อมูลในสมาร์ตโฟนอยู่ตลอดเวลา ชอบหยิบขึ้นมาดูบ่อย ๆ แม้ไมม่ื เรื่องด่วน
เพราะห้ามใจไม่ไหว
- เมื่อมีเสียงเตือนเข้ามา คุณจะวางภารกิจตรงหน้าทั้งหมด เพื่อเช็กข้อความในโทรศัพท์ ไม่งั้นจะไม่มีสมาธิ ลุกลี้ลุกลน
กระวนกระวายใจ จนทาภารกิจที่อยู่ตรงหน้าต่อไม่ได้
- ตื่นนอนปุ๊บก็หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเช็กข้อความปั๊บ พอก่อนจะนอน ก็ยังเล่นโทรศัพท์ เล่นเกม
- ชอบเล่นโทรศัพทเืป็นประจาในขณะที่ทากิจกรรมอื่นในชีวิตประจาวันไปด้วย เช่น ระหว่างกินข้าว เข้า ห้องน้าขับรถ
หรือระหว่างนั่งรอรถเมล์ ขึ้นรถไฟฟ้า
- หากวางมือถือไว้ผิดที่ หรือหาไม่เจอ จะรู้สึกตื่นตระหนกตกใจมาก
- กลัวโทรศัพท์ตัวเองหาย แม้ว่าจะวางอยู่ในที่ที่ปลอดภัยแล้วก็ตาม
- ไม่เคยปิดโทรศัพท์มือถือเลย
- ใช้เวลาพูดคุยกับเพื่อนในโลกออนไลน์มากกว่าคุยกับเพื่อนที่อยู่ตรงหน้าเสียอีก
- ลองตั้งใจจะไม่เล่นมือถือสัก 1 ชั่วโมง แต่ไม่สามารถทาได้ ต้องหยิบมือถือขึ้นมาเล่นตลอดเวลา
วิธีการแก้ไข
- จากัดเวลาในการใช้มือถือ
ในขั้นแรก ควรจดบันทึกระยะเวลาในการใช้มือถือของแต่ละกิจกรรม โดยอาจแบ่งออกเป็นระยะเวลาที่ใช้ใน
การคุยโทรศัพท์ การตอบข้อความ การใช้สื่อออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ก อินสตาแกรม หรือการใช้ฟังก์ชั่นอื่น ๆ ใน
มือถือ แล้วคานวณว่าภายใน 1 สัปดาห์ ได้ใช้เวลาไปกับแต่ละกิจกรรมนานเท่าไร จากนั้นลองค่อย ๆ ลดเวลา
ในการใช้มือถือในแต่ละกิจกรรมลงอย่างช้า ๆ โดยเริ่มจากกิจกรรมที่สาคัญน้อยที่สุด เช่น ตามปกติอาจใช้
4
เวลาในการเล่นเกมมือถือประมาณ 10 ชั่วโมง/สัปดาห์ ก็ให้ลดเวลาลงเหลือเพียง 9 ชั่วโมง/สัปดาห์ และค่อย
ๆ ลดเวลาการเล่นเกมลงไปอีกในสัปดาห์ต่อ ๆ ไป เป็นต้น
- การแจ้งเตือนจากแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ อย่างไลน์หรือเฟซบุ๊ก อาจเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้หยิบมือถือขึ้นมาใช้บ่อย
ขึ้น ดังนั้น ในเวลาที่ต้องการใช้สมาธิ อย่างตอนเรียน ทางาน ขับรถ หรือเวลาที่ต้องการความเป็นส่วนตัว ผู้ใช้
ควรปิดการแจ้งเตือนต่าง ๆ ในมือถือ หรือลบแอพพลิเคชั่นที่มักทาให้เสียสมาธิและไม่จาเป็นต้องใช้ใน
ช่วงเวลานั้นทิ้งไป อย่างไรก็ตาม หากรู้สึกว่าวิธีดังกล่าวนั้นยุ่งยากเกินไป ให้ลองเปลี่ยนมาเป็นการเปิดใช้งาน
โหมดเครื่องบิน หรือปิดมือถือไปแทน
- พูดคุยกับคนรอบข้างให้มากขึ้น
มือถือเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เราสื่อสารกับคนอื่นได้ง่ายขึ้น บางคนจึงเสพติดการพูดคุยกับเพื่อนผ่าน
แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ในมือถือ จนกลายเป็นคนติดมือถือโดยไม่รู้ตัว แม้การคุยกับเพื่อนในสังคมออนไลน์จะ
ช่วยคลายความเหงาเมื่อต้องอยู่คนเดียว แต่การใช้มือถือตลอดเวลาขณะที่คนรอบข้างกาลังพูดคุยด้วยนั้นเป็น
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนัก ดังนั้น ควรงดใช้มือถือระหว่างพูดคุยกับคนอื่น เพราะนอกจากจะช่วยลดอาการ
ติดมือถือได้แล้ว การหันมาใส่ใจคนรอบข้างมากขึ้นยังส่งผลดีต่อความสัมพันธ์ด้วย
- ปรับความคิด
เมื่อได้รับข้อความจากบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ เพื่อน ลูกน้อง หรือเจ้านาย บางคนมักติดนิสัยเปิด
ข้อความอ่านทันที เพราะคิดว่าข้อความนั้นอาจเป็นข้อมูลสาคัญหรือเรื่องฉุกเฉินที่ไม่สามารถปล่อยทิ้งไว้ได้
แต่ความเป็นจริงแล้ว ข้อความที่ถูกส่งมาอาจไม่ใช่เรื่องสลักสาคัญอะไร เพราะหากเป็นเรื่องด่วนจริง อีกฝ่าย
น่าจะเลือกโทรหาเพื่อพูดคุยในทันทีมากกว่าเพียงส่งข้อความมาเท่านั้น
- ทากิจกรรมอื่นเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
อาจลองทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยเบี่ยงเบนความสนใจของตนเองออกจากการใช้มือถือ เช่น ดูหนัง เล่นกีฬา
หรือนั่งสมาธิ เป็นต้น แม้แต่ละกิจกรรมจะใช้เวลาเพียงไม่นาน แต่ก็ถือเป็นตัวช่วยที่ดีสาหรับผู้ที่ต้องการใช้มือ
ถือให้น้อยลง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2. ศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งต่างหรือสื่อต่างๆ
3. จัดทาร่างโครงงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงและทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. แบบประเมินโรคโมโนโฟเบีย หรือโรคติดมือถือ
2. เอกสารโครงงาน
3. พาเวอร์พ้อยนาเสนอ
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่ศึกษามากขึ้น
2. สามารถนาความรู้ที่ศึกษามาเผยแพร่ให้กับเพื่อนหรือรอบข้างได้
3. ผู้จัดทามีความเข้าใจทางานอย่างเป็นระบบระเบียบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ. เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0
%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84-
%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B9%80
%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2-nomophobia-
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%AE
%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99
%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3
%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99-2346
2. https://www.pobpad.com/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B
2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A
1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%8
9%E0%B8%A7%E0%B8%A2-4
3. https://goodlifeupdate.com/lifestyle/112628.html

More Related Content

What's hot

ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
Parith Promwaranon
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
Paan Puntajit
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
Best Tanakorn
 
คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์
Love Him
 

What's hot (20)

Game1
Game1Game1
Game1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
Work1 midterm
Work1 midtermWork1 midterm
Work1 midterm
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
แผนที่บ้าน
แผนที่บ้านแผนที่บ้าน
แผนที่บ้าน
 
ประวัติพลอย
ประวัติพลอยประวัติพลอย
ประวัติพลอย
 
คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์คอม วชิรวิทย์
คอม วชิรวิทย์
 
Pornchanok jompijit
Pornchanok jompijitPornchanok jompijit
Pornchanok jompijit
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
 
2561 project 06
2561 project 062561 project 06
2561 project 06
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 

Similar to 2562 final-project 33.1

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
งานนำเสนอโครงงาน
งานนำเสนอโครงงานงานนำเสนอโครงงาน
งานนำเสนอโครงงาน
'Ibanez Fender
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
JoyCe Zii Zii
 

Similar to 2562 final-project 33.1 (20)

Com work
Com workCom work
Com work
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
้้้project01
้้้project01้้้project01
้้้project01
 
งานนำเสนอโครงงาน
งานนำเสนอโครงงานงานนำเสนอโครงงาน
งานนำเสนอโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
2562 final-project 08
2562 final-project 082562 final-project 08
2562 final-project 08
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 

2562 final-project 33.1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคติดมือถือโรคที่เกิดขึ้นกับคนในปัจจุบัน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร เลขที่ 33 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) - โรคติดมือถือโรคที่เกิดขึ้นกับคนในปัจจุบัน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Nomophobia in nowaday ประเภทโครงงาน: สื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน: นางสาวธนัชพร ปิ่นประยูร ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โนโมโฟเบีย (Nomophobia) มาจากคาว่า "no mobile phone phobia" เป็นศัพท์ที่หน่วยงายวิจัยทาง การตลาดขนาดใหญ่ (YouGov) บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2010 เพื่อใช้เรียกอาการที่เกิดจากความหวาดกลัว วิตกกังวลเมื่อ ขาดโทรศัพท์มือถือเพื่อติดต่อสื่อสาร และอาการนี้กาลังถูกเสนอจัดเป็นโรคจิตเวชประเภทหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มวิตกกังวล งานวิจัยที่เป็นที่มาของโรคนี้ได้ทาการศึกษาผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2,163 คนในสหราชอาณาจักรและพบว่า 53% ของ ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือในสหราชอาณาจักรจะเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อพบว่าโทรศัพท์หาย แบตเตอรี่หมด หรืออยู่ใน สถานที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อีกทั้งยังพบว่า 58% ของผู้ชาย และ 47% ของผู้หญิงที่ใช้โทรศัพท์มือถือมีอาการของ nomophobia และในจานวนนี้มีถึง 9% ของกลุ่มที่ศึกษา ระบุว่ารู้สึกเครียดมากถ้าโทรศัพท์ของตนเองใช้การไม่ได้ และเมื่อให้ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ระบุถึงระดับของ ความเครียดจากการขาดโทรศัพท์มือถือนั้น ความเครียดที่เกิดขึ้น เทียบเท่ากับความเครียดที่เกิดขึ้นก่อนวันแต่งงานหรือความเครียดระดับเดียวกับการไปพบทันตแพทย์เลยทีเดียว โน โมโฟเบียคือโรคที่คนในปัจจุบันเสี่ยงที่จะเป็นโรคกันสูงมากเมื่อดูจากผลการวิจัยข้างต้นแล้ว ผู้จัดทา โครงงานจึงมี ความคิดอยากทาโครงงานที่ทาให้คนเลิกเสพติดโทรศัพท์ให้น้อยลง เพราะไม่ถ้าหากเราเล่นมากเกินไปจะ ส่งผลเสีย ต้องสุขภาพมาก ดังนั้นจึงเกิดโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้ทุกคนได้ศึกษาของข้อเสียและอาการ ของโรค โมโนโฟเบียค่ะ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเป็นสื่อสาหรับผู้ต้องการศึกษา 2. เพื่อเข้าใจและตระหนักถึงโรคโนโมโฟเบียให้มากขึ้น
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ขอบเขตโครงงานและเงื่อนไขของการศึกษาเกี่ยวกับโรคโมโนโฟเบีย คือ สร้างสื่อให้ความรู้ผ่านGoogle Sites 2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมระบบอินเทอร์เนต 2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการในการสร้างเว็บบล็อก คือ https://www.slideshare.net 2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.facebook.com หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความหมาย ของโรคโมโนโฟเบีย เป็นคาศัพท์ที่องค์การวิจัยของสหราชอาณาจักร บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2008 เพื่อใช้เรียก อาการขาดมือถือ ไม่ได้ เสพติดมือถือ โดยโรคนี้จัดอยู่ในกลุ่มอาการวิตกกังวล ตัวอย่างอาการเช่น ผู้ที่มมีือถือแต่ใช้ การ ไม่ได้เนื่องจากอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ หรือแบตเตอรีหมด จะรู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย บางรายหาก เป็นมาก อาจเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก และคลื่นไส้ได้ ซึ่งระดับอาการจะมากน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับแต่ ละคน . ลักษณะ อาการของโรคโมโนโฟเบีย - พกโทรศัพท์มือถือติดตัวตลอดเวลา ต้องวางโทรศัพท์ไว้ใกล้ ๆ ตัว และจะรู้สึกกังวลใจมากถ้ามือถือไม่ได้ อยู่กับตัว - หมกมุ่นอยู่กับการเช็กข้อความ อัปเดตข้อมูลในสมาร์ตโฟนอยู่ตลอดเวลา ชอบหยิบขึ้นมาดูบ่อย ๆ แม้ไมม่ื เรื่องด่วน เพราะห้ามใจไม่ไหว - เมื่อมีเสียงเตือนเข้ามา คุณจะวางภารกิจตรงหน้าทั้งหมด เพื่อเช็กข้อความในโทรศัพท์ ไม่งั้นจะไม่มีสมาธิ ลุกลี้ลุกลน กระวนกระวายใจ จนทาภารกิจที่อยู่ตรงหน้าต่อไม่ได้ - ตื่นนอนปุ๊บก็หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเช็กข้อความปั๊บ พอก่อนจะนอน ก็ยังเล่นโทรศัพท์ เล่นเกม - ชอบเล่นโทรศัพทเืป็นประจาในขณะที่ทากิจกรรมอื่นในชีวิตประจาวันไปด้วย เช่น ระหว่างกินข้าว เข้า ห้องน้าขับรถ หรือระหว่างนั่งรอรถเมล์ ขึ้นรถไฟฟ้า - หากวางมือถือไว้ผิดที่ หรือหาไม่เจอ จะรู้สึกตื่นตระหนกตกใจมาก - กลัวโทรศัพท์ตัวเองหาย แม้ว่าจะวางอยู่ในที่ที่ปลอดภัยแล้วก็ตาม - ไม่เคยปิดโทรศัพท์มือถือเลย - ใช้เวลาพูดคุยกับเพื่อนในโลกออนไลน์มากกว่าคุยกับเพื่อนที่อยู่ตรงหน้าเสียอีก - ลองตั้งใจจะไม่เล่นมือถือสัก 1 ชั่วโมง แต่ไม่สามารถทาได้ ต้องหยิบมือถือขึ้นมาเล่นตลอดเวลา วิธีการแก้ไข - จากัดเวลาในการใช้มือถือ ในขั้นแรก ควรจดบันทึกระยะเวลาในการใช้มือถือของแต่ละกิจกรรม โดยอาจแบ่งออกเป็นระยะเวลาที่ใช้ใน การคุยโทรศัพท์ การตอบข้อความ การใช้สื่อออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ก อินสตาแกรม หรือการใช้ฟังก์ชั่นอื่น ๆ ใน มือถือ แล้วคานวณว่าภายใน 1 สัปดาห์ ได้ใช้เวลาไปกับแต่ละกิจกรรมนานเท่าไร จากนั้นลองค่อย ๆ ลดเวลา ในการใช้มือถือในแต่ละกิจกรรมลงอย่างช้า ๆ โดยเริ่มจากกิจกรรมที่สาคัญน้อยที่สุด เช่น ตามปกติอาจใช้
  • 4. 4 เวลาในการเล่นเกมมือถือประมาณ 10 ชั่วโมง/สัปดาห์ ก็ให้ลดเวลาลงเหลือเพียง 9 ชั่วโมง/สัปดาห์ และค่อย ๆ ลดเวลาการเล่นเกมลงไปอีกในสัปดาห์ต่อ ๆ ไป เป็นต้น - การแจ้งเตือนจากแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ อย่างไลน์หรือเฟซบุ๊ก อาจเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้หยิบมือถือขึ้นมาใช้บ่อย ขึ้น ดังนั้น ในเวลาที่ต้องการใช้สมาธิ อย่างตอนเรียน ทางาน ขับรถ หรือเวลาที่ต้องการความเป็นส่วนตัว ผู้ใช้ ควรปิดการแจ้งเตือนต่าง ๆ ในมือถือ หรือลบแอพพลิเคชั่นที่มักทาให้เสียสมาธิและไม่จาเป็นต้องใช้ใน ช่วงเวลานั้นทิ้งไป อย่างไรก็ตาม หากรู้สึกว่าวิธีดังกล่าวนั้นยุ่งยากเกินไป ให้ลองเปลี่ยนมาเป็นการเปิดใช้งาน โหมดเครื่องบิน หรือปิดมือถือไปแทน - พูดคุยกับคนรอบข้างให้มากขึ้น มือถือเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เราสื่อสารกับคนอื่นได้ง่ายขึ้น บางคนจึงเสพติดการพูดคุยกับเพื่อนผ่าน แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ในมือถือ จนกลายเป็นคนติดมือถือโดยไม่รู้ตัว แม้การคุยกับเพื่อนในสังคมออนไลน์จะ ช่วยคลายความเหงาเมื่อต้องอยู่คนเดียว แต่การใช้มือถือตลอดเวลาขณะที่คนรอบข้างกาลังพูดคุยด้วยนั้นเป็น พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนัก ดังนั้น ควรงดใช้มือถือระหว่างพูดคุยกับคนอื่น เพราะนอกจากจะช่วยลดอาการ ติดมือถือได้แล้ว การหันมาใส่ใจคนรอบข้างมากขึ้นยังส่งผลดีต่อความสัมพันธ์ด้วย - ปรับความคิด เมื่อได้รับข้อความจากบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ เพื่อน ลูกน้อง หรือเจ้านาย บางคนมักติดนิสัยเปิด ข้อความอ่านทันที เพราะคิดว่าข้อความนั้นอาจเป็นข้อมูลสาคัญหรือเรื่องฉุกเฉินที่ไม่สามารถปล่อยทิ้งไว้ได้ แต่ความเป็นจริงแล้ว ข้อความที่ถูกส่งมาอาจไม่ใช่เรื่องสลักสาคัญอะไร เพราะหากเป็นเรื่องด่วนจริง อีกฝ่าย น่าจะเลือกโทรหาเพื่อพูดคุยในทันทีมากกว่าเพียงส่งข้อความมาเท่านั้น - ทากิจกรรมอื่นเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ อาจลองทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยเบี่ยงเบนความสนใจของตนเองออกจากการใช้มือถือ เช่น ดูหนัง เล่นกีฬา หรือนั่งสมาธิ เป็นต้น แม้แต่ละกิจกรรมจะใช้เวลาเพียงไม่นาน แต่ก็ถือเป็นตัวช่วยที่ดีสาหรับผู้ที่ต้องการใช้มือ ถือให้น้อยลง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2. ศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งต่างหรือสื่อต่างๆ 3. จัดทาร่างโครงงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงและทดสอบ 6. การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. แบบประเมินโรคโมโนโฟเบีย หรือโรคติดมือถือ 2. เอกสารโครงงาน 3. พาเวอร์พ้อยนาเสนอ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่ศึกษามากขึ้น 2. สามารถนาความรู้ที่ศึกษามาเผยแพร่ให้กับเพื่อนหรือรอบข้างได้ 3. ผู้จัดทามีความเข้าใจทางานอย่างเป็นระบบระเบียบมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ. เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0 %B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84- %E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B9%80 %E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2-nomophobia- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%AE %E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99 %E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3 %E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99-2346 2. https://www.pobpad.com/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B 2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A 1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%8 9%E0%B8%A7%E0%B8%A2-4 3. https://goodlifeupdate.com/lifestyle/112628.html