SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
ภญ.โมเรศ ศรี
บ้านไผ่
กลุ่มงาน
เภสัชกรรม
ประเภทของยา
  พระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 
พุทธศักราช 2522  ได้จำาแนก
ประเภทของยา ดังนี้
1)  ยาแผนปัจจุบัน  หมายถึง ยาที่
ใช้รักษาโรคแผนปัจจุบันทั้งในคน
 และสัตว์ เช่น ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ
ยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ เป็นต้น
2)  ยาแผนโบราณ   หมายถึง ยาที่ใช้
 รักษาโรคแผนโบราณทั้งในคนและสัตว์
ยาชนิดนี้จะต้องขึ้นทะเบียนเป็นตำารับยา
 แผนโบราณอย่างถูกต้อง เช่น
ยาธาตุบรรจบ ยาเทพมงคล ยาเขียวหอม
เป็นต้น
ประเภทของยา
3)   ยาอันตราย    หมายถึง ยาที่ต้อง
จำาหน่ายเฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบัน
ภายใต้การควบคุมของเภสัชกร เพราะ
หากใช้ยาประเภทนี้ไม่ถูกต้อง อาจมี
อันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เช่น ยาปฏิชีวนะ
ชนิดต่างๆ ยาลดความดันเลือด เป็นต้น
ยาควบคุมพิเศษ เป็นยาที่เภสัชกรจ่ายได้
เฉพาะเมื่อมีการนำาใบสั่งยาจากแพทย์มา
ซื้อ ยากลุ่มนี้เป็นยาที่มีความเป็นพิษภัยสูง
วัตถุออกฤทธิ์ (Psychotropic
substances) หมายถึง วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตประสาท อาจเป็นสิ่ง/สารจากธรรมชาติ
หรือที่เป็นวัตถุสังเคราะห์ หรืออีกนัยหนึ่ง
หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆซึ่งมีผลต่อ
ระบบประสาทส่วนกลางที่ทำาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงสภาพจิตใจของผู้ได้รับสาร
เหล่านี้
วัตถุออกฤทธิ์แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและ
ประสาท
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
(Psychotropic drug)
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วน
 กลาง ซึ่งในระบบประสาทส่วนกลาง มี
สารเคมีที่ควบคุมการทำางานของร่างกาย
 หลายระบบ เช่น วัตถุออกฤทธิ์ที่มีผล
ทำาให้ไม่อยากกินอาหารที่ใช้ประโยชน์ใน
 การลดความอ้วน หรือบางชนิดออกฤทธิ์
ช่วยให้นอนหลับ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท แบ่งออก
ได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 มีอันตรายร้ายแรง มี
ประโยชน์ด้านการแพทย์น้อยหรือไม่มี
 เลย ซึ่งห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย นำาเข้า
หรือส่งออก การนำาผ่านต้องมีใบอนุญาต
เช่น เตตราไฮโดรแคนนาบินอล
(Tetrahydrocannabinol: มีอยู่ในพืช
พวกกัญชา)
ประเภทที่ 2 มีอันตรายมาก มีประโยชน์
น้อยในด้านการแพทย์ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต
ขาย นำาเข้า หรือส่งออก เว้นแต่การผลิต
เพื่อส่งออกบางชนิดที่รัฐมนตรีประกาศ
ระบุชื่ออนุญาต การนำาผ่านต้องมีใบ
อนุญาต เช่น
กลุ่มยาลดความอ้วน เช่น เฟนเตอร์มีน
(Phentermine)
  กลุ่มยานอนหลับ เช่น มิดาโซแลม
(Midazolam) โซปิเดม (Zopidem)
  กลุ่มวัตถุดิบ เช่น ซูโดอิฟิดี
ประเภทที่ 3 มีอันตรายมาก แต่ก็มี
 ประโยชน์ด้านการแพทย์มากเช่นกัน ห้าม
มิให้ผู้ใดผลิต ขาย นำาเข้า ส่งออก หรือนำา
ผ่าน เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต การนำาเข้า-
ส่งออก ต้องมีใบแจ้ง ยาประเภทที่ 3 นี้มี
โอกาสเสพติดน้อยกว่าประเภท 2 สามารถ
ขายตามร้านขายยาได้ แต่ต้องขายตาม
ใบสั่งแพทย์
เช่น บูพรีนอร์ฟีน (Buprenorphine)
ประเภทที่ 4 มีอันตรายน้อย มีประโยชน์
 มากด้านการแพทย์ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต
ขาย นำาเข้า ส่งออก หรือนำาผ่าน เว้นแต่ได้
รับใบอนุญาต การนำาเข้า ส่งออก ต้องมีใบ
แจ้ง ยาประเภทที่ 4 นี้มีโอกาสเสพติดน้อย
กว่าประเภท 3
ได้แก่ กลุ่มใช้ทำายาสงบประสาท เช่น ได
อะซีแพม (Diazepam), คลอร์ไดอาซีพอก
ไซด์ (Chlordiazepoxide)
ยาเสพติดให้โทษ (Narcotic
drug)
ยาเสพติดให้โทษ (Narcotic drug) ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสาทส่วนกลาง เช่นกัน แต่
ออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง เช่น เฉพาะส่วนที่
ทำาให้เกิดอาการปวด จึงใช้แก้ปวดที่
รุนแรงได้ผลดี แต่เสพติดได้ง่าย ทำาให้เกิด
อาการประสาทหลอน เมื่อหยุดใช้ยาจะ
เกิดอาการถอนยา
  ยาเสพติดให้โทษ ตามพระราชบัญญัติยา
เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 แบ่งเป็น 5
ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ไม่มี
ประโยชน์ทางการแพทย์ ห้ามผลิต
จำาหน่าย นำาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบ
ครอง เว้นแต่การมีไว้ในครอบครองกรณี
จำาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการตาม
ที่รัฐมนตรีจะอนุญาต
เช่น เฮโรอีน ยาบ้า
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 มี
ประโยชน์ทางการแพทย์
ผลิตหรือนำาเข้า โดยกระทรวงสาธารณสุข
และจำาหน่ายให้แก่ผู้มีใบอนุญาตจำาหน่าย
หรือครอบครองยาเสพติดให้โทษใน
ประเภท 2 ได้แก่ ผู้ประกอบอาชีพเวชกรรม
เภสัชกรรม ทันตกรรม และสัตวแพทย์
  กลุ่มยาที่ใช้ในการแก้ปวด เช่น เฟนตา
นิล(Fentanyl), โคเคน (Cocaine)
กลุ่มยาที่ใช้ในการรักษาผู้ที่ติดยาเสพ
 ติด เช่น โอเปี่ยมทิงเจอร์ (Opium
tincture), เมทาโดน (Methadone)
  กลุ่มยาที่ใช้ในการผ่าตัด เช่น มอร์ฟิน
(Morphine), เฟนตานิล (Fentanyl)
กลุ่มยาที่ใช้เป็นวัตถุดิบ (สำาหรับใช้ในการ
ผลิตวัตถุเสพติดในประเภท3) เช่น โคเด
อีน (Codeine), ฝิ่น
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่นำายาเสพติดให้โทษใน
ประเภท 2 ผสมกับยาชนิดอื่น ได้
ผลิตภัณฑ์ยาสำาเร็จรูป
  เช่น ยาแก้ไอ หรือยาแก้ปวด (มีโคเดอีน
เป็นส่วนผสม)
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 ใช้เป็น
วัตถุดิบในทางอุตสาหกรรมหรือ
วิทยาศาสตร์ นำาเข้าโดยกระทรวง
สาธารณสุข ขายให้แก่ผู้มีใบอนุญาตจาก
สำานักคณะกรรมการอาหารและยา ไม่ใช่
ยาเสพติดให้โทษโดยตรง แต่เป็นสารตั้ง
ต้นที่นำาไปผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษได้
เช่น อะเซติกแอนไฮไดร์ (Acetic
anhydride: ผลิตเฮโรอีน) มีประโยชน์ทาง
อุตสาหกรรมในการผลิตแป้ง คุณสมบัติที่
เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ส่วนใหญ่
 เป็นพืชที่ทำาให้เกิดการเสพติดได้ ห้าม
ผลิต จำาหน่าย นำาเข้าส่งออก
  เช่น กระท่อม ต้นฝิ่น เห็ดขี้ควาย กัญชา
ประเภทของยา
4)  ยาสมุนไพร  หมายถึง ยาที่ได้จาก
พืช สัตว์ หรือแร่ ซึ่งยังไม่ได้นำามาผสม
หรือเปลี่ยนสภาพ เช่น ว่านหางจระเข้
กระเทียม มะขาม มะเกลือ ดีงูเหลือม
ดีเกลือ สารส้ม เป็นต้น
5) ยาที่ใช้ภายนอก สำาหรับใช้ภายนอก
6) ยาใช้เฉพาะที่ สำาหรับใช้เฉพาะที่กับ
 ผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ทวารหนัก ช่อง
คลอด หรือท่อปัสสาวะ
ยาสามัญประจำาบ้าน
Household Remedy
7) ยาสามัญประจำาบ้าน หมายถึง ยาทั้งที่
เป็นแผนปัจจุบัน และแผนโบราณ ซึ่ง
กำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติยาว่าเป็นยา
สามัญประจำาบ้าน เช่น ยาธาตุนำ้าแดง ยา
ขับลม ยาระบายแมกนีเซีย ยาเม็ด
พาราเซตามอล เป็นต้น
ยาสามัญประจำาบ้าน คือ
อะไร 
ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาคัด
เลือกว่าเป็นยาที่เหมาะสมที่จะให้
ประชาชนหาซื้อมาใช้ได้ด้วยตนเอง เพื่อ
การดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ
ที่มักจะเกิดขึ้นได้ ประกอบกับยาดังกล่าวมี
ราคาย่อมเยา
สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายยา มี
ขายทั้งในเมืองและตามชนบท เพราะ
กระทรวงสาธารณสุขมีความต้องการให้
ยาสามัญประจำาบ้านได้กระจายไปถึง
จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นยา
สามัญประจำาบ้าน
ยาแผนปัจจุบันมีทั้งหมด 53 ชนิด นำามา
ใช้กับโรคหรืออาการของโรคได้ 16 กลุ่ม
ยาสามัญประจำาบ้านอาจมีชื่อทางการค้า
หรือยี่ห้อแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ผลิตแต่ละ
ราย แต่ควบคู่ไปกับชื่อการค้าจะต้องมีชื่อ
ยาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และ
ฉลากของยาสามัญประจำาบ้านจะต้องมีคำา
ว่า
"ยาสามัญประจำาบ้าน" อยู่ในกรอบสีเขียว
ยาสามัญประจำาบ้าน 16
กลุ่ม
1. ยาบรรเทาปวดลดไข้
ได้แก่ ยาเม็ดบรรเทาปวด ลดไข้
แอสไพริน
2. ยาแก้แพ้ ลดนำ้ามูก
ได้แก่ ยาเม็ดแก้แพ้ลดนำ้ามูก คลอร์เฟนิรา
มีน
3. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ได้แก่ ยานำ้าแก้ไอ ขับเสมหะสำาหรับเด็ก
4. ยาดมหรือยาทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัด
จมูก
ได้แก่ ยาดมแก้วิงเวียน เหล้าแอมโมเนีย
หอม
5. ยาแก้เมารถ เมาเรือ
ได้แก่ ยาแก้เมารถ เมาเรือ
6. ยาสำาหรับโรคปาก และลำาคอ
ได้แก่ ยากวาดคอ
7. ยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้อง
เฟ้อ
8. ยาแก้ท้องเสีย
ได้แก่ ยาแก้ท้องเสีย ผงนำ้าตาลเกลือแร่
9. ยาระบาย
ได้แก่ ยาระบายกลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวาร
หนักสำาหรับเด็ก และผู้ใหญ่
10. ยาถ่ายพยาธิลำาไส้
ได้แก่ ยาถ่ายพยาธิตัวกลม มีเบนดาโซล
11. ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ
แมลงกัดต่อย
ได้แก่ ยาหม่องชนิดขี้ผึ้ง
12 ยาสำาหรับโรคตา
ได้แก่ ยาล้างตา
13. ยาสำาหรับโรคผิวหนัง
ได้แก่ ยารักษาหิดเหา เบนซิลเบนโซเอต
ยารักษาหิด ขึ้ผึ้งกำามะถัน
14.ยารักษาแผลติดเชื้อไฟไหม้ นำ้าร้อน
ลวก
ได้แก่ ยารักษาแผลนำ้าร้อนลวกฟีนอล
15. ยาใส่แผล ยาล้างแผล
ได้แก่ ยาเอทธิลแอลกอฮอล์ นำ้าเกลือล้าง
แผล
16.ยาบำารุงร่างกาย
ได้แก่ ยาเม็ดวิตามินบีรวม ยาเม็ดวิตามิน
ซี
ยาชุด
ยาที่ผู้ขายจัดรวมไว้เป็นชุดให้กับผู้ซื้อ
สำาหรับให้กินครั้งละ 1 ชุดรวมกัน
 หมด โดยไม่แยกว่าเป็นยาชนิดใด ควรจะ
กินเวลาไหน โดยทั่วไปมักจะมียาตั้งแต่ 3
- 5  เม็ด หรืออาจมากกว่า และอาจจัดรวม
ยาชุดไว้ในซองพลาสติกเล็กๆ พิมพ์ฉลาก
บ่งบอกสรรพคุณไว้ด้วย
ยาชุดบางชนิดมีการเพิ่มสารบางอย่าง
เข้าไปจนกลายเป็นอันตราย เช่น สเตีย
รอยด์ เพื่อให้ยาเหล่านั้นแรงขึ้นและทำาให้
หายป่วยไว หากรับประทานบ่อย ๆ ก็อาจ
จะทำาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพได้
ยาชุด
การรับประทานยา
เพียงชนิดเดียว
สามารถรักษาให้หาย
ป่วยได้เช่นกันและ
ปลอดภัยมากกว่า
ไม่ใช้ยาตามคำาโฆษณาโดย
ไม่ศึกษา
เพราะโฆษณามักพูดแต่สรรพคุณด้านดี
ต่างๆ นานา ทำาให้ไม่ได้รับข้อมูลที่แท้จริง
ใช้แล้วอาจไม่ได้ผล สิ้นเปลืองเงินทอง
และอาจเกิดโรคอื่นๆ ตามมาอีกด้วย
เอกสารกำากับยา (leaflet)
เป็นเอกสารที่ติดมากับภาชนะบรรจุ โดย
ระบุข้อมูลเชิงวิชาการ เช่น ส่วนประกอบ
ของยา รูปแบบผลิตภัณฑ์ ข้อบ่งใช้ ขนาด
และวิธีรับประทาน หรือวิธีการใช้ยา/วิธี
กินยาของผู้ใหญ่ เด็ก หรือระบุขนาดการ
ใช้ตามอายุและนำ้าหนัก นอกจากนี้ จะมีคำา
เตือนต่างๆในการใช้ยา รวมถึงข้อควร
ระวังและข้อห้ามใช้ คุณสมบัติทาง
เภสัชศาสตร์ ปฏิกิริยากับยาอื่น ความเป็น
พิษของยา สภาพการเก็บรักษา และขนาด
อ่านฉลากยา
ชื่อผู้ป่วย
ชื่อผู้ป่วย
ทำาไมเภสัชกรต้องถามชื่อ - นามสกุล
ประวัติ
แพ้ยา
สมุดประจำา
ตัว
โรค............
.
อ่านฉลากยา
ชื่อผู้ป่วย
ชื่อยา
ชื่อยา
ชื่อสามัญทางยา
ชื่อการค้า
ความแรงยา
(ลักษณะยา)
3
mg
Orfarin
Warfari
n
สี
ฟ้า
อ่านฉลากยา
ชื่อผู้ป่วย
ชื่อยา
วิธีใช้
จำานวน
คำาแนะนำาพิเศษ
ยาก่อนอาหาร
ยาหลังอาหารทันที
ยาพร้อมอาหาร
Glucosamine
NSAIDs
Acarbose
ตัวอย่างคำาแนะนำาพิเศษ
ตัวอย่างฉลากยา
ชื่อสามัญ
ทางยา
ชื่อ
การ
ค้า
ความ
แรงยา
ลักษณ
ะยา
จำานวน
ยาคำา
แนะนำา
พิเศษ
ลืมรับประทานยา
หากลืมทานยาควรรับประทานทันทีที่นึก
ได้ แต่หากใกล้มื้อถัดไป แนะนำาให้ข้ามมื้อ
นั้นไป
ไม่ควรเพิ่มยาเป็น 2 เท่าในครั้งต่อไป
เพราะอาจจะทำาให้ได้รับยาเกินขนาดจน
เป็นอันตรายได้
การเก็บรักษายา
ไม่สัมผัสความร้อน
ไม่สัมผัสความชื้น ตู้ยาควรตั้งอยู่ใน
ที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก ควรเก็บ
ยาให้ห่างจาก ห้องครัว ห้องนำ้า และ
ต้นไม้
การเก็บรักษายา
ไม่โดนแสง เพราะยาบางชนิดหากถูกแสง
จะเสื่อมคุณภาพ จึงต้องเก็บในขวดทึบแสง
มักเป็นขวดสีชา หรือ ซองสีชา
การเก็บรักษายา
ควรตั้งให้พ้นจากมือเด็ก
ควรจัดตู้ยาให้เป็นระเบียบ เก็บยาให้เป็นที่
ไม่วางปนกับอาหารหรือของใช้อื่นๆ โดย
แยก ยาใช้ภายนอก ยาใช้ภายใน และ
เวชภัณฑ์ เพื่อป้องกันอันตรายจากการหยิบ
ยาผิด 
ยาหยอดตา หลังเปิดใช้แล้ว จะเก็บไว้ได้
ไม่เกิน 1 เดือน โดยทั่วไปจะเก็บในตู้เย็น
ชั้นใต้ช่องแข็งลงมา ห้ามเก็บในช่องแช่
แข็ง 
การเก็บรักษายา
insulin (vial)
insulin (pen-filled)
เก็บอุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส หรือชั้น
ใต้ช่องแข็งลงมา
ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
ไม่ควรเก็บในช่องผัก
ไม่ควรเก็บบริเวณฝาตู้เย็น
ยาเก็บในตู้เย็น
ยาที่หักแบ่งไว้
ควรแยกเก็บใส่ภาชนะที่ปิดสนิท กัน
ความชื้น
ไม่ควรแบ่งยาไว้ล่วงหน้าครั้งละมากๆ
วันหมดอายุ
ยาทั่วไปไม่ควรเก็บไว้ใช้เกิน 3-5 ปี ขึ้น
กับวันหมดอายุที่ระบุไว้
ตัวย่อคือ อีเอกพี (Exp, Expiration date)
มักระบุเป็นปี ค.ศ. สามารถแปลงเป็น พ.ศ.
โดย
ปี พ.ศ. = ปี ค.ศ. + 543
ไม่ควรใช้ยาหลังวันหมดอายุ ต้องทิ้งไป
ไม่นำามาใช้อีก เพราะนอกจากรักษาโรค
ไม่หายแล้ว ยังอาจก่อให้เกิดพิษภัยแก่
วิธีสังเกตุยาหมดอายุ
1. ยาเม็ด ลักษณะแตกกร่อน กะเทาะ เปลี่ยน
สีหรือสีซีด 
2. ยาเม็ดเคลือบ ลักษณะเยิ้มเหนียว 
3. ยาแคปซูล ลักษณะบวมโป่งพองหรือผงยา
ภายในจับกันเป็นก้อนเปลี่ยนสี 
4. ยานำ้าเชื่อม ลักษณะขุ่น มีตะกอน เปลี่ยนสี
มีกลิ่นบูดหรือเหม็นเปรี้ยว 
5. ยานำ้าแขวนตะกอน ลักษณะตะกอนจับ
ตัวเป็นก้อนแข็ง เขย่าแรงๆก็ไม่
กระจาย 
6. ยานำ้าอีมัลชั่น ลักษณะเขย่าแล้วไม่รวม
ตัวเป็นเนื้อเดียวกัน
7. ยาครีม-ยาขี้ผึ้ง มีการแยกตัวแบ่งชั้น
เยิ้มเหลวผิดปกติ
8. ยาหยอดตา จะมีลักษณะขุ่น หรือตก
ตะกอนของตัวยา เปลี่ยนสี 
วิธีสังเกตุยาหมดอายุ
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ GppKanon Thamcharoen
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 

What's hot (20)

Drug
DrugDrug
Drug
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 

Viewers also liked

ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษpoegpanda11
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutadriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 

Viewers also liked (6)

ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handout
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
บท4กฎหมาย
บท4กฎหมายบท4กฎหมาย
บท4กฎหมาย
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)

สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรWaree Wera
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ) (20)

สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
7
77
7
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
บทที่6เรื่องยา
บทที่6เรื่องยาบทที่6เรื่องยา
บทที่6เรื่องยา
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 

ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)