SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
โครงงาน : การบาบัดความเครียดด้วยเสียงเพลง Music Therapy
โครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทสื่อเพื่อการศึกษา
จัดทาโดย
นางสาวจารวี จี๋จันทร์ เลขที่ 28 ม.6/2
นางสาวอรทัย ทองตัน เลขที่ 41 ม.6/2
เสนอ
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ในปัจจุบันผู้คนทุกรุ่นทุกวัยมักเกิดปัญหาเกี่ยวกับการงาน การเรียน หรือการเงินซึ่งเป็นต้นเหตุที่
ทาให้เกิดความเครียดได้ อีกทั้งยังเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตามมา ซึ่งความเครียดเป็น
อาการที่คนส่วนใหญ่เป็นกันมากขึ้นโดยไม่รู้ตัว ความเครียดนั้นหากปล่อยทิ้งไว้ จะส่งผลต่อร่างกายให้ป่วย
ง่ายอีกด้วย การบาบัดความเครียดมีหลายรูปแบบที่เกิดจากปัญหาที่แตกต่างกันไป
ความเครียด คือ การตอบสนองของร่างกายต่อความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และ
เมื่อความเครียดเกิดขึ้น ร่างกายจะปล่อยสารเคมีที่เพิ่มพลังงานและความแข็งเกร็งแก่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของ
ร่างกาย
การบาบัดความเครียดได้โดยดนตรีบาบัด หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ Music Therapy เป็น
กิจกรรมทางดนตรีที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการฟัง การร้องเพลง การแต่งเพลง โดยมีจุดประสงค์เพื่อบาบัด
ความเจ็บป่วย ฟื้นฟูร่างกาย อารมณ์ รวมถึงสติของผู้เข้ารับการบาบัด ส่วนมากดนตรีบาบัด ถูกใช้ใน
โรงพยาบาล ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ โรงเรียน สถานเลี้ยงดู หรือแม้แต่ที่พักอาศัย โดยส่วนมากเราจะเห็น
ตามโรงพยาบาลของรัฐบาล ที่มีวงดนตรีของกลุ่มอาสาสมัคร ไปร้องเพลงเพื่อให้ประชาชนที่นั่งคอย การ
รักษาได้ฟัง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย และช่วยลดความเครียดจากการเจ็บป่วย หรือการรอคอย การเข้ารับ
บริการ เป็นเวลานาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ขอบเขตการศึกษา
1. สาเหตุของความเครียด
2. วิธีรับมือกับความเครียด
3. บาบัดด้วยการฟังเพลง
4. ผลเมื่อใช้เสียงเพลงบาบัด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาอาการของความเครียด
2. แก้ปัญหากับความเครียด
3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ศึกษาสามารถนาความรู้มาใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน
2. สามารถนามาต่อยอดสร้างนวัตกรรมอื่นๆได้
ความเครียดคืออะไร?
ความเครียด ก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกายนั่นเอง ซึ่ง
ทุกคนจาเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดารงชีวิตเช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิด
หรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่งในร่างกายเกิดขึ้น
ควบคู่เสมอ
ความเครียด มีทั้งประโยชน์และโทษ แต่ความเครียดที่เป็นโทษนั้น เป็นความเครียดชนิดที่เกินความจาเป็น
แทนที่จะเป็นประโยชน์กลับกลายเป็นอุปสรรคและอันตรายต่อชีวิต เมื่อคนเราอยู่ในภาวะตึงเครียด ร่างกายก็จะ
เกิดความเตรียมพร้อมที่จะ "สู้" หรือ "หนี" โดยที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น
- หัวใจเต้นแรงและเร็วขึ้น เพื่อฉีดเลือดซึ่งจะนาออกซิเจนและสารอาหารต่างๆ ไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกาย พร้อม
กับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอย่างเร็ว
- การหายใจดีเร็วขึ้น แต่เป็นการหายใจตื้นๆ
- ม่านตาขยายเพื่อให้ได้รับแสงมากขึ้น
- กล้ามเนื้อหดเกร็งเพื่อเตรียมการเคลื่อนไหว เตรียมสู้หรือหนี
- เหงื่อออก เพราะมีการเผาผลาญอาหารมากขึ้น ทาให้อุณหภูมิของร่างกายเพิ่มขึ้น
ผลของความเครียดต่อชีวิต
1. ผลต่อสุขภาพทางกาย ได้แก่ อาการไม่สบายทางกายต่างๆ เช่น ปวดหัว ปวดเมื่อย
ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ อาการท้องผูก
ท้องเสียบ่อยๆ นอนไม่หลับ หอบหืดเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ
2. ผลต่อสุขภาพจิตใจ นาไปสู่ความวิตกกังวล ซึมเศร้า กลัวอย่างไร้เหตุผล อารมณ์
ไม่มั่นคง เปลี่ยนแปลงง่าย หรือโรคประสาทบางอย่าง นอกจากนี้ความเครียดส่งผลต่อร่างกายและ
จิตใจ ย่อมส่งผลไปถึง ประสิทธิภาพในการทางาน สัมพันธภาพต่อครอบครัวและบุคคลแวดล้อม
และเมื่อประสิทธิภาพในงานตกต่า สัมพันธภาพเสื่อมทรามลง จิตใจย่อมได้รับผลตึงเครียดมากขึ้น
ซ้าซ้อน นับว่าความเครียดเป็นภัยต่อชีวิตอย่างยิ่ง
ทาไมคนเราถึงต้องมี
ความเครียด?
สาเหตุของความเครียด
1. สภาพแวดล้อมทั่วไป เช่น มลภาวะ ได้แก่ เสียงดังเกินไป จากเครื่องจักร เครื่องยนต์ อากาศเสีย
จากควันท่อไอเสีย น้าเสีย ฝุ่น ละออง ยาฆ่าแมลง การอยู่กันอย่างเบียดเสียด ยัดเยียด เป็นต้น
2. สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ เช่น รายได้น้อยกว่ารายจ่าย
3. สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น การสอบแข่งขันเข้าเรียน
4. เข้าทางาน เลื่อนขั้น เลื่อนตาแหน่ง เป็นต้น
5. นิสัยใจการกิน-ดื่ม ที่ส่งเสริมความเครียด เช่น ผู้ที่ดื่มกาแฟบ่อยๆ สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ตลอดจนกิน
ของกินที่มีน้าตาลมากๆ
6. มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ ที่ไม่ราบรื่น มักมีข้อขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นเป็นปกติวิสัย
7. ความรู้สึกตนเองต่าต้อยกว่าคนอื่น ต้องพยายามต่อสู้เอาชนะ
8. ต้องการมีอานาจเหนือผู้อื่น
ทาไมต้องดนตรีบาบัด?
ความเครียดเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่
ทาให้สุขภาพของเราลดลง ทาให้เราแก่ตัวเร็วขึ้น
วันนี้จะเสนอวิธีดนตรีบาบัด เพื่อเป็นอีกหนทาง
หนึ่งที่ช่วยละความเครียด และเป็นการชะลอ
ความแก่ และ ดูแลสุขภาพด้วยตนเองง่ายๆ
ดนตรี เป็นสื่อภาษาสากลที่ไม่ว่า
คนชาติไหนๆ ก็เข้าใจเนื้อดนตรีเดียวกัน ให้เป็น
ไปในทิศทางเดียวกันได้ ดนตรีจึงสามารถใช้
สื่อสารได้กับคนทั้งโลก รวมทั้งการนามารักษาโรคได้กับทุกๆ คน ไม่ว่าจะเป็นเด็ก ผู้ใหญ่ หรือคนที่ผิดปกติทางอารมณ์
ฟัง เสียงดนตรีคึกคักใจเราก็อยากเต้นตาม แต่พอเป็นจังหวะสบายๆ เราก็เริ่มรู้สึกผ่อนคลาย อย่างกับว่า
จังหวะและเสียงนั้นสั่งใจเราได้ก็ไม่ผิดนัก
ด้วยเหตุนี้เอง คนยุคใหม่เลยนาความมหัศจรรย์ของดนตรีมาใช้กับการบาบัดความเครียด นอกเหนือจาก
การฟังเพลงทั่วๆ ไปแล้วรู้สึกดี ซึ่งจะว่าไปแล้ว ดนตรีไม่ได้เกิดจากจินตนาการในการจับโน่นผสมนี่ของตัวโน้ตอย่างที่เรา
คิด แต่เป็นการเรียบเรียงที่เป็นแบบแผน และมีโครงสร้างที่สามารถอธิบายในแนวทางวิทยาศาสตร์ได้
ดนตรีจึงสามารถสร้างขึ้นเพื่อนามาบาบัดมความรู้สึก และอารมณ์เราได้อย่าง
น่าเชื่อถือ
ประโยชน์ของดนตรีบาบัด
1. ลดความวิตกกังวลได้ เพียง เราฟังดนตรีจังหวะช้าๆ ผ่อนคลาย พลางหลับตาจินตนาการภาพที่เรา
รู้สึกดี เราก็จะลดความตึงเกร็งของร่างกายทุกส่วนลง และยังปรับสมดุลใจเราให้เป็นปกติ
2. เพิ่มภูมิคุ้มกันได้ เพราะเมื่อร่างกายสงบ การไหลเวียนเลือดเป็นปกติ การหายใจผ่อนคลาย และ
ความเจ็บปวดลดลง ร่างกายก็จะตอบสนองเป็นจิตใจที่ดี มีภูมิคุ้มกันยามเจ็บป่วย
3. เพิ่มทักษะการสื่อสาร คนที่สื่อสารติดขัด ดนตรียังช่วยปรับคลื่นเราสมองเราให้เป็นปกติ ทาให้เรา
เรียบเรียงความคิดและการสื่อสารออกไปดีขึ้นได้ รวมทั้งการแสดงออกของเราด้วย
4. ทาให้เรามั่นใจขึ้น การขาดความมั่นใจในตัวเองก็เป็นปัญหาทางจิตใจอย่างหนึ่ง แต่หากเราได้บาบัด
เป็นกลุ่ม ได้ร้องเพลงร่วมกัน ได้เต้นราไปด้วย ก็มีการพบว่าเราจะให้ความสาคัญกับตัวเรามากขึ้น มั่นใจใน
การแสดงออกขึ้น
5. เยียวยาบาบัดโรค โรคในที่นี้มีทั้งโรคทางร่างกาย และโรคทางจิต มีการนาดนตรีมารักษาอย่าง
จริงๆ จังๆ แล้วมากมาย แล้วพบว่าช่วยให้คนไข้เคลื่อนไหวและควบคุมตัวเองดีขึ้น ลดการแสดงออกที่ไม่
เหมาะสม แก้ปมในใจ และยังสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวกได้เป็นอย่างดี
ลักษณะของดนตรีบาบัด
ควรเป็นแบบไหน?
1.ควรเป็นเพลงบรรเลง ไม่ควรมีเนื้อร้อง มีเสียงตามธรรมชาติ เช่น เสียงนก น้าตก
เป็นต้น
2.มีจังหวะที่ช้า มั่นคง สม่าเสมอประมาณ 70-80 ครั้ง/นาที และมีทานองราบเรียบ
นุ่มนวล ระดับเสียงปานกลาง-ต่า
3.ความเข้มของเสียงไม่ดังมาก ขึ้นอยู่กับความรู้สึกของผู้ฟัง เนื่องจากความดัง
สามารถกระตุ้นให้มีความเจ็บปวดของผู้ป่วยให้เพิ่มมากขึ้นได้
4.ประเภทของดนตรีที่นิยมใช้ อาทิ พิณ เปียโน กีตาร์ วงออร์เคสตร้า แจ๊สแบบช้า
ป๊อป คลาสสิค เป็นต้น
5.ดนตรีที่ผู้ฟังมีความคุ้นเคย และความชอบ
ฟังเพลงได้มากกว่าคาว่าเพลิดเพลิน
1.ดนตรีรักษาโรค
ดนตรีบาบัด หรือ “Music Therapy” เป็นการใช้ดนตรีควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์
เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคม จิตใจ และร่างกาย โดยมีการบาบัดทั้งด้านการฟัง เพื่อลดความ
วิตกกังวล และด้านการร้อง การเต้น เพื่อฝึกการสื่อสาร เหมาะกับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ผู้มี
ปัญหาทางด้านสมองและอารมณ์ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า รวมไปถึงผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซ
เมอร์ด้วยนอกจากนี้ดนตรีบาบัดยังเป็นยาบรรเทาปวดชั้นดีของผู้ที่เข้ารับการผ่าตัด หากผู้ป่วย
ฟังเพลงก่อนและหลัง หรือ ระหว่างการผ่าตัด จะส่งผลให้พวกเค้ามีความเจ็บปวดที่น้อยลง
2.คลายเครียด เพิ่มอารมณ์ดี
ดนตรีมีผลอย่างลึกซึ้งต่อร่างกายและเพิ่มพลังบวกให้จิตใจ การฟังเพลง
เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยลดความเครียด ความกดดัน และความวิตกกังวล คลื่นสมอง
และอัตราการเต้นของหัวใจทางานประสานกับจังหวะของเพลง ทาให้ร่างกายผ่อน
คลาย การหายใจช้าลง ลดการทางานของสมอง และลดความดันโลหิต ส่งผลให้
สภาพจิตดีขึ้น
3.มีแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์
ดนตรีเป็นส่วนพัฒนาสมอง ทาให้สมองซีกซ้ายและซีกขวาทางานอย่างสมดุล ดังนั้น
สมองจะผ่อนคลาย ผู้ฟังจะปล่อยความคิดและจินตนาการไปตามเพลง ซึ่งเป็นผลดีกับ
สมองซีกขวา และยังช่วยกระตุ้นการทางานของสมองซีกซ้ายให้ตื่นตัวอีกด้วย การใช้
ดนตรีเป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับเด็กๆ ทั้งการฟัง การร้อง การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ
และการเล่นดนตรี จะส่งผลให้เด็กมีแรงบันดาลใจที่จะริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดลื่นไหล
และเป็นตัวสร้างเสริมจินตนาการของพวกเค้าได้ดี
4.เล่นดนตรีเพิ่มทักษะความจา
คนที่มีความสามารถในการเล่นดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่ง มีแนวโน้มที่จะมีประสิทธิภาพการทางานของสมอง
ได้ยาวนานกว่าคนที่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย แถมพวกเค้ายังมีทักษะแยกแยะและตอบสนองต่อเสียงได้อย่างดี
โดยสามารถรู้ได้เลยว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเครื่องดนตรีหรือโน้ตอะไร พูดได้ว่าการเล่นดนตรีเทียบเท่ากับการออก
กาลังกาย เพราะสมองจะจัดการข้อมูลต่างๆ พร้อมๆกัน ด้วยความประณีต และเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันด้วย
ความรวดเร็ว เป็นการเพิ่มปริมาณและกิจกรรมในส่วน corpus callosum ซึ่งเป็นตัวเชื่อมสมองซีกซ้ายและ
ซีกขวาเข้าด้วยกัน ทาให้นักดนตรีส่วนใหญ่มีความจาดีและเรียกใช้ความจาได้เร็ว สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์กว่าคนอื่นๆ
5.หลับสบายยิ่งขึ้น
อาการนอนไม่หลับหรืออาการนอนหลับไม่สนิท ล้วนเกิดจากการทางานของสมอง เมื่อเรา
ยิ่งเครียดจะทาให้คลื่นสมองของเรามีความถี่สูงขึ้น ทาให้เราอยู่ในภาวะที่รู้สึกตัว ส่งผลให้สมอง
ไม่หยุดคิดหรือนอนไม่หลับนั่นเอง เสียงดนตรีจะช่วยเปลี่ยนแปลงคลื่นสมองได้ ดังนั้นการฟัง
ดนตรีบรรเลงเบาๆ ช้าๆ ไม่มีเสียงร้อง อย่างดนตรีคลาสสิค จะส่งผลให้การเต้นของหัวใจลดลง
ทาให้หลับเต็มอิ่มขึ้น
6.มีสมาธิในการทางานมากขึ้น
เมื่อได้ฟังเพลงจังหวะช้าๆ เพลงคลาสสิค รวม
ไปถึงเสียงน้าไหลและเสียงฝน จะทาให้จิตใจเรา
ผ่อนคลายลง สามารถช่วยให้เราโฟกัสกับสิ่งต่างๆได้
ดียิ่งขึ้น ส่วนเพลงที่มีจังหวะสนุกๆ ก็สามารถทาให้รา
มีสมาธิในการทางานได้เหมือนกันเพราะมีนักวิจัย
พบว่า การฟังเพลงแนวอิเล็กทรอนิกส์ที่มีไดนามิกขึ้น
ลงสลับไปมาทาให้เราทางานท่ามกลางแรงกดดันได้
เป็นอย่างดี
7.อกหัก รักคุด มาฟังเพลงกันเถอะ
มีนักวิจัยค้นพบว่า ผู้ที่พบเจอเรื่องผิดหวัง เสียใจ ท้อแท้ในชีวิต รวมถึง
คนที่อกหัก ควรฟังเพลงแนวเมทัล เนื่องจากเป็นเพลงที่มีดนตรีค่อนข้างหนัก
สามารถทาให้ผู้ฟังรู้สึกกระฉับกระเฉง และได้ปลดปล่อยความรู้สึกด้านลบอย่าง
เต็มที่

More Related Content

What's hot

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตgeekan
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขwann555
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdom
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdomWish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdom
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdomPoukeaw
 
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจ
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจWisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจ
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจPanda Jing
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 

What's hot (18)

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdom
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdomWish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdom
Wish eruuengelaaephuuekhwaamhwangaelaphlangaicch chud_wisdom
 
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจ
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจWisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจ
Wisdom เรื่องเล่าเพื่อความหวังและพลังใจ
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 

Similar to Work com602 28&41

คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1niralai
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศWichuta Junkhaw
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfSophinyaDara
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfSophinyaDara
 
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงสูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงjitisak poonsrisawat, M.D.
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Angkana Chongjarearn
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดีWichuta Junkhaw
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29Ming Gub Yang
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 

Similar to Work com602 28&41 (20)

คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
 
Makeaplan
MakeaplanMakeaplan
Makeaplan
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1
 
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
014วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวพุทธวิธี1
 
Comprehen
ComprehenComprehen
Comprehen
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรงสูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
สูงวัย ภูมิใจ ใจสุข จัดการทุกข์ และแข็งแรง
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดี
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 

Work com602 28&41

  • 1. โครงงาน : การบาบัดความเครียดด้วยเสียงเพลง Music Therapy โครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทสื่อเพื่อการศึกษา จัดทาโดย นางสาวจารวี จี๋จันทร์ เลขที่ 28 ม.6/2 นางสาวอรทัย ทองตัน เลขที่ 41 ม.6/2 เสนอ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 2. ในปัจจุบันผู้คนทุกรุ่นทุกวัยมักเกิดปัญหาเกี่ยวกับการงาน การเรียน หรือการเงินซึ่งเป็นต้นเหตุที่ ทาให้เกิดความเครียดได้ อีกทั้งยังเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตามมา ซึ่งความเครียดเป็น อาการที่คนส่วนใหญ่เป็นกันมากขึ้นโดยไม่รู้ตัว ความเครียดนั้นหากปล่อยทิ้งไว้ จะส่งผลต่อร่างกายให้ป่วย ง่ายอีกด้วย การบาบัดความเครียดมีหลายรูปแบบที่เกิดจากปัญหาที่แตกต่างกันไป ความเครียด คือ การตอบสนองของร่างกายต่อความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และ เมื่อความเครียดเกิดขึ้น ร่างกายจะปล่อยสารเคมีที่เพิ่มพลังงานและความแข็งเกร็งแก่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย การบาบัดความเครียดได้โดยดนตรีบาบัด หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ Music Therapy เป็น กิจกรรมทางดนตรีที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการฟัง การร้องเพลง การแต่งเพลง โดยมีจุดประสงค์เพื่อบาบัด ความเจ็บป่วย ฟื้นฟูร่างกาย อารมณ์ รวมถึงสติของผู้เข้ารับการบาบัด ส่วนมากดนตรีบาบัด ถูกใช้ใน โรงพยาบาล ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ โรงเรียน สถานเลี้ยงดู หรือแม้แต่ที่พักอาศัย โดยส่วนมากเราจะเห็น ตามโรงพยาบาลของรัฐบาล ที่มีวงดนตรีของกลุ่มอาสาสมัคร ไปร้องเพลงเพื่อให้ประชาชนที่นั่งคอย การ รักษาได้ฟัง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย และช่วยลดความเครียดจากการเจ็บป่วย หรือการรอคอย การเข้ารับ บริการ เป็นเวลานาน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
  • 3. ขอบเขตการศึกษา 1. สาเหตุของความเครียด 2. วิธีรับมือกับความเครียด 3. บาบัดด้วยการฟังเพลง 4. ผลเมื่อใช้เสียงเพลงบาบัด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาอาการของความเครียด 2. แก้ปัญหากับความเครียด 3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ศึกษาสามารถนาความรู้มาใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน 2. สามารถนามาต่อยอดสร้างนวัตกรรมอื่นๆได้
  • 5. ความเครียด ก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกายนั่นเอง ซึ่ง ทุกคนจาเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดารงชีวิตเช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิด หรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่งในร่างกายเกิดขึ้น ควบคู่เสมอ ความเครียด มีทั้งประโยชน์และโทษ แต่ความเครียดที่เป็นโทษนั้น เป็นความเครียดชนิดที่เกินความจาเป็น แทนที่จะเป็นประโยชน์กลับกลายเป็นอุปสรรคและอันตรายต่อชีวิต เมื่อคนเราอยู่ในภาวะตึงเครียด ร่างกายก็จะ เกิดความเตรียมพร้อมที่จะ "สู้" หรือ "หนี" โดยที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น - หัวใจเต้นแรงและเร็วขึ้น เพื่อฉีดเลือดซึ่งจะนาออกซิเจนและสารอาหารต่างๆ ไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกาย พร้อม กับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอย่างเร็ว - การหายใจดีเร็วขึ้น แต่เป็นการหายใจตื้นๆ - ม่านตาขยายเพื่อให้ได้รับแสงมากขึ้น - กล้ามเนื้อหดเกร็งเพื่อเตรียมการเคลื่อนไหว เตรียมสู้หรือหนี - เหงื่อออก เพราะมีการเผาผลาญอาหารมากขึ้น ทาให้อุณหภูมิของร่างกายเพิ่มขึ้น
  • 6. ผลของความเครียดต่อชีวิต 1. ผลต่อสุขภาพทางกาย ได้แก่ อาการไม่สบายทางกายต่างๆ เช่น ปวดหัว ปวดเมื่อย ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ อาการท้องผูก ท้องเสียบ่อยๆ นอนไม่หลับ หอบหืดเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ 2. ผลต่อสุขภาพจิตใจ นาไปสู่ความวิตกกังวล ซึมเศร้า กลัวอย่างไร้เหตุผล อารมณ์ ไม่มั่นคง เปลี่ยนแปลงง่าย หรือโรคประสาทบางอย่าง นอกจากนี้ความเครียดส่งผลต่อร่างกายและ จิตใจ ย่อมส่งผลไปถึง ประสิทธิภาพในการทางาน สัมพันธภาพต่อครอบครัวและบุคคลแวดล้อม และเมื่อประสิทธิภาพในงานตกต่า สัมพันธภาพเสื่อมทรามลง จิตใจย่อมได้รับผลตึงเครียดมากขึ้น ซ้าซ้อน นับว่าความเครียดเป็นภัยต่อชีวิตอย่างยิ่ง
  • 8. สาเหตุของความเครียด 1. สภาพแวดล้อมทั่วไป เช่น มลภาวะ ได้แก่ เสียงดังเกินไป จากเครื่องจักร เครื่องยนต์ อากาศเสีย จากควันท่อไอเสีย น้าเสีย ฝุ่น ละออง ยาฆ่าแมลง การอยู่กันอย่างเบียดเสียด ยัดเยียด เป็นต้น 2. สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ เช่น รายได้น้อยกว่ารายจ่าย 3. สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น การสอบแข่งขันเข้าเรียน 4. เข้าทางาน เลื่อนขั้น เลื่อนตาแหน่ง เป็นต้น 5. นิสัยใจการกิน-ดื่ม ที่ส่งเสริมความเครียด เช่น ผู้ที่ดื่มกาแฟบ่อยๆ สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ตลอดจนกิน ของกินที่มีน้าตาลมากๆ 6. มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ ที่ไม่ราบรื่น มักมีข้อขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นเป็นปกติวิสัย 7. ความรู้สึกตนเองต่าต้อยกว่าคนอื่น ต้องพยายามต่อสู้เอาชนะ 8. ต้องการมีอานาจเหนือผู้อื่น
  • 10. ความเครียดเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ ทาให้สุขภาพของเราลดลง ทาให้เราแก่ตัวเร็วขึ้น วันนี้จะเสนอวิธีดนตรีบาบัด เพื่อเป็นอีกหนทาง หนึ่งที่ช่วยละความเครียด และเป็นการชะลอ ความแก่ และ ดูแลสุขภาพด้วยตนเองง่ายๆ ดนตรี เป็นสื่อภาษาสากลที่ไม่ว่า คนชาติไหนๆ ก็เข้าใจเนื้อดนตรีเดียวกัน ให้เป็น ไปในทิศทางเดียวกันได้ ดนตรีจึงสามารถใช้ สื่อสารได้กับคนทั้งโลก รวมทั้งการนามารักษาโรคได้กับทุกๆ คน ไม่ว่าจะเป็นเด็ก ผู้ใหญ่ หรือคนที่ผิดปกติทางอารมณ์ ฟัง เสียงดนตรีคึกคักใจเราก็อยากเต้นตาม แต่พอเป็นจังหวะสบายๆ เราก็เริ่มรู้สึกผ่อนคลาย อย่างกับว่า จังหวะและเสียงนั้นสั่งใจเราได้ก็ไม่ผิดนัก ด้วยเหตุนี้เอง คนยุคใหม่เลยนาความมหัศจรรย์ของดนตรีมาใช้กับการบาบัดความเครียด นอกเหนือจาก การฟังเพลงทั่วๆ ไปแล้วรู้สึกดี ซึ่งจะว่าไปแล้ว ดนตรีไม่ได้เกิดจากจินตนาการในการจับโน่นผสมนี่ของตัวโน้ตอย่างที่เรา คิด แต่เป็นการเรียบเรียงที่เป็นแบบแผน และมีโครงสร้างที่สามารถอธิบายในแนวทางวิทยาศาสตร์ได้ ดนตรีจึงสามารถสร้างขึ้นเพื่อนามาบาบัดมความรู้สึก และอารมณ์เราได้อย่าง น่าเชื่อถือ
  • 11. ประโยชน์ของดนตรีบาบัด 1. ลดความวิตกกังวลได้ เพียง เราฟังดนตรีจังหวะช้าๆ ผ่อนคลาย พลางหลับตาจินตนาการภาพที่เรา รู้สึกดี เราก็จะลดความตึงเกร็งของร่างกายทุกส่วนลง และยังปรับสมดุลใจเราให้เป็นปกติ 2. เพิ่มภูมิคุ้มกันได้ เพราะเมื่อร่างกายสงบ การไหลเวียนเลือดเป็นปกติ การหายใจผ่อนคลาย และ ความเจ็บปวดลดลง ร่างกายก็จะตอบสนองเป็นจิตใจที่ดี มีภูมิคุ้มกันยามเจ็บป่วย 3. เพิ่มทักษะการสื่อสาร คนที่สื่อสารติดขัด ดนตรียังช่วยปรับคลื่นเราสมองเราให้เป็นปกติ ทาให้เรา เรียบเรียงความคิดและการสื่อสารออกไปดีขึ้นได้ รวมทั้งการแสดงออกของเราด้วย 4. ทาให้เรามั่นใจขึ้น การขาดความมั่นใจในตัวเองก็เป็นปัญหาทางจิตใจอย่างหนึ่ง แต่หากเราได้บาบัด เป็นกลุ่ม ได้ร้องเพลงร่วมกัน ได้เต้นราไปด้วย ก็มีการพบว่าเราจะให้ความสาคัญกับตัวเรามากขึ้น มั่นใจใน การแสดงออกขึ้น 5. เยียวยาบาบัดโรค โรคในที่นี้มีทั้งโรคทางร่างกาย และโรคทางจิต มีการนาดนตรีมารักษาอย่าง จริงๆ จังๆ แล้วมากมาย แล้วพบว่าช่วยให้คนไข้เคลื่อนไหวและควบคุมตัวเองดีขึ้น ลดการแสดงออกที่ไม่ เหมาะสม แก้ปมในใจ และยังสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวกได้เป็นอย่างดี
  • 13. 1.ควรเป็นเพลงบรรเลง ไม่ควรมีเนื้อร้อง มีเสียงตามธรรมชาติ เช่น เสียงนก น้าตก เป็นต้น 2.มีจังหวะที่ช้า มั่นคง สม่าเสมอประมาณ 70-80 ครั้ง/นาที และมีทานองราบเรียบ นุ่มนวล ระดับเสียงปานกลาง-ต่า 3.ความเข้มของเสียงไม่ดังมาก ขึ้นอยู่กับความรู้สึกของผู้ฟัง เนื่องจากความดัง สามารถกระตุ้นให้มีความเจ็บปวดของผู้ป่วยให้เพิ่มมากขึ้นได้ 4.ประเภทของดนตรีที่นิยมใช้ อาทิ พิณ เปียโน กีตาร์ วงออร์เคสตร้า แจ๊สแบบช้า ป๊อป คลาสสิค เป็นต้น 5.ดนตรีที่ผู้ฟังมีความคุ้นเคย และความชอบ
  • 15. 1.ดนตรีรักษาโรค ดนตรีบาบัด หรือ “Music Therapy” เป็นการใช้ดนตรีควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคม จิตใจ และร่างกาย โดยมีการบาบัดทั้งด้านการฟัง เพื่อลดความ วิตกกังวล และด้านการร้อง การเต้น เพื่อฝึกการสื่อสาร เหมาะกับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ผู้มี ปัญหาทางด้านสมองและอารมณ์ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า รวมไปถึงผู้สูงอายุที่เป็นโรคอัลไซ เมอร์ด้วยนอกจากนี้ดนตรีบาบัดยังเป็นยาบรรเทาปวดชั้นดีของผู้ที่เข้ารับการผ่าตัด หากผู้ป่วย ฟังเพลงก่อนและหลัง หรือ ระหว่างการผ่าตัด จะส่งผลให้พวกเค้ามีความเจ็บปวดที่น้อยลง
  • 16. 2.คลายเครียด เพิ่มอารมณ์ดี ดนตรีมีผลอย่างลึกซึ้งต่อร่างกายและเพิ่มพลังบวกให้จิตใจ การฟังเพลง เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยลดความเครียด ความกดดัน และความวิตกกังวล คลื่นสมอง และอัตราการเต้นของหัวใจทางานประสานกับจังหวะของเพลง ทาให้ร่างกายผ่อน คลาย การหายใจช้าลง ลดการทางานของสมอง และลดความดันโลหิต ส่งผลให้ สภาพจิตดีขึ้น
  • 17. 3.มีแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ดนตรีเป็นส่วนพัฒนาสมอง ทาให้สมองซีกซ้ายและซีกขวาทางานอย่างสมดุล ดังนั้น สมองจะผ่อนคลาย ผู้ฟังจะปล่อยความคิดและจินตนาการไปตามเพลง ซึ่งเป็นผลดีกับ สมองซีกขวา และยังช่วยกระตุ้นการทางานของสมองซีกซ้ายให้ตื่นตัวอีกด้วย การใช้ ดนตรีเป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับเด็กๆ ทั้งการฟัง การร้อง การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ และการเล่นดนตรี จะส่งผลให้เด็กมีแรงบันดาลใจที่จะริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดลื่นไหล และเป็นตัวสร้างเสริมจินตนาการของพวกเค้าได้ดี
  • 18. 4.เล่นดนตรีเพิ่มทักษะความจา คนที่มีความสามารถในการเล่นดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่ง มีแนวโน้มที่จะมีประสิทธิภาพการทางานของสมอง ได้ยาวนานกว่าคนที่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย แถมพวกเค้ายังมีทักษะแยกแยะและตอบสนองต่อเสียงได้อย่างดี โดยสามารถรู้ได้เลยว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเครื่องดนตรีหรือโน้ตอะไร พูดได้ว่าการเล่นดนตรีเทียบเท่ากับการออก กาลังกาย เพราะสมองจะจัดการข้อมูลต่างๆ พร้อมๆกัน ด้วยความประณีต และเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันด้วย ความรวดเร็ว เป็นการเพิ่มปริมาณและกิจกรรมในส่วน corpus callosum ซึ่งเป็นตัวเชื่อมสมองซีกซ้ายและ ซีกขวาเข้าด้วยกัน ทาให้นักดนตรีส่วนใหญ่มีความจาดีและเรียกใช้ความจาได้เร็ว สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์กว่าคนอื่นๆ
  • 19. 5.หลับสบายยิ่งขึ้น อาการนอนไม่หลับหรืออาการนอนหลับไม่สนิท ล้วนเกิดจากการทางานของสมอง เมื่อเรา ยิ่งเครียดจะทาให้คลื่นสมองของเรามีความถี่สูงขึ้น ทาให้เราอยู่ในภาวะที่รู้สึกตัว ส่งผลให้สมอง ไม่หยุดคิดหรือนอนไม่หลับนั่นเอง เสียงดนตรีจะช่วยเปลี่ยนแปลงคลื่นสมองได้ ดังนั้นการฟัง ดนตรีบรรเลงเบาๆ ช้าๆ ไม่มีเสียงร้อง อย่างดนตรีคลาสสิค จะส่งผลให้การเต้นของหัวใจลดลง ทาให้หลับเต็มอิ่มขึ้น
  • 20. 6.มีสมาธิในการทางานมากขึ้น เมื่อได้ฟังเพลงจังหวะช้าๆ เพลงคลาสสิค รวม ไปถึงเสียงน้าไหลและเสียงฝน จะทาให้จิตใจเรา ผ่อนคลายลง สามารถช่วยให้เราโฟกัสกับสิ่งต่างๆได้ ดียิ่งขึ้น ส่วนเพลงที่มีจังหวะสนุกๆ ก็สามารถทาให้รา มีสมาธิในการทางานได้เหมือนกันเพราะมีนักวิจัย พบว่า การฟังเพลงแนวอิเล็กทรอนิกส์ที่มีไดนามิกขึ้น ลงสลับไปมาทาให้เราทางานท่ามกลางแรงกดดันได้ เป็นอย่างดี
  • 21. 7.อกหัก รักคุด มาฟังเพลงกันเถอะ มีนักวิจัยค้นพบว่า ผู้ที่พบเจอเรื่องผิดหวัง เสียใจ ท้อแท้ในชีวิต รวมถึง คนที่อกหัก ควรฟังเพลงแนวเมทัล เนื่องจากเป็นเพลงที่มีดนตรีค่อนข้างหนัก สามารถทาให้ผู้ฟังรู้สึกกระฉับกระเฉง และได้ปลดปล่อยความรู้สึกด้านลบอย่าง เต็มที่