SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
หน่วยการเรียนที่ 6

เรื่อง การวาดรูปต่าง ๆ ที่เป็นเส้นตรงและการประยุกต์ใช้ในโปรแกรม
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
        เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 2 เป็นต้นไป

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
        ใช้คอมพิวเตอร์ช่วงสร้ างชิ้นงานจากจินตนาการ หรืองานที่ทาในชีวิ ตประจาวัน อย่างมี
จิตสานึก และมีความรับผิดชอบ มฐ-ง 4.1 (10)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
        1. รู้จักและสามารถลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้
        2. รู้จักและสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างภาพที่เกิดจากการนาเอาเส้นตรงมาประกอบ
           ในการสร้างภาพได้
        3. รู้จักและสามารถนาคาสั่งต่างๆในภาษาโลโกมาประยุกต์ เพื่อเขียนโปรแกรมในการ
            สร้างภาพได้

สื่อ - อุปกรณ์
        1. ใบงาน
        2. กระบวนการจัดการเรียนรู้
               เรื่อง การวาดรูปต่าง ๆ ที่เป็นเส้นตรงและการประยุกต์ใช้ในโปรแกรม
        3. อุปกรณ์การเรียน
               เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมการเรียนการสอน MICROWORLDS PRO

เวลาเรียน 5 คาบ
85


กระบวนการจัดการเรียนรู้
       1. ทบทวนคาสั่งต่าง ๆ ที่เรียนมาแล้วทั้งหมด
       2. ผู้สอนทบทวนลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมในบทเรียนนี้ผู้สอนต้องฝึกให้
          ผู้เรียนวาดภาพตัวอักษรและตัวเลข ดังนี้
       - โปรแกรมวาดภาพตัวอักษร ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษได้ โดยอาจจะให้เขียนชื่อ
          โรงเรียน อักษรย่อโรงเรียน หรือชื่อตัวเองก็ได้
       - โปรแกรมวาดภาพตัวเลข อาจจะให้วาดตัวเลข 0-9 ก็ได้

การเขียนโปรแกรมสาหรับอักษร
โปรแกรมการวาดอักษร ก มีลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมดังนี้
1. วาดภาพ ก




2. จัดลาดับการวาดภาพ ก ได้ดังนี้
   2.1 วาดขา ก ข้างซ้ายเป็นเส้นตรงดิ่งยาว 54 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 54
   2.2 วาดหัว ก หมุนหัวเต่าไปทางขวา 45 องศา เขียนเส้นตรงยาว 6 หน่วย โดยใช้คาสั่ง
                      RIGHT 45
                      FORWARD 6
   2.3 วาดหัว ก หมุนตัวเต่าไปทางซ้าย 90 องศา เขียนเส้นตรงยาว 6 หน่วย โดยใช้คาสั่ง
                      LEFT 90
                      FORWARD 6
   2.4 หมุนหัวเต่ามาทางขวา 45 องศา โดยใช้คาสั่ง RIGHT 45
   2.5 หมุนหัวเต่ามาทางขวา 90 องศา โดยใช้คาสั่ง RITHT 90
   2.6 ลากเส้นตรงยาว 30 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 30
   2.7 หมุนหัวเต่าไปทางขวา 90 องศา โดยใช้คาสั่ง RIGHT 90
   2.8 ลากเส้นตรงตามแนวหัวเต่ายาว 63 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 63
86

3. นาคาสั่งทั้งหมดมาเขียนโปรแกรม (ในหน้า PROCEDURE) ได้ดังนี้

                    TO FONT1
                       FORWARD 54
                       RIGHT 45
                       FORWARD 6
                       LEFT 90
                        FORWARD 6
                        RIGHT 45
                        RIGHT 90
                        FORWARD 30
                        RIGHT 90
                        FORWARD 63
                        PENUP
                        HT
                    END
  ทดลองให้โลโก วาดภาพตามโปรแกรมที่เขียนไว้ ให้ออกจาก PROCEDURE ให้พิมพ์ชื่อ
FONT1 ในศูนย์คาสั่ง COMMAND CENTER

4. หลังจากที่โปรแกรมถูกต้องแล้วให้ผู้เรียนทาการ SAVE โปรแกรม โดยเลือกที่เมนูคาสั่ง แฟ้ม
   (FILE) เลื่อนเมาส์มาเลือกคาสั่ง SAVE PROJECT
87


เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

 การเขียนโปรแกรมเป็นเส้นตรงในบทเรียนนี้ ผู้สอนควรเน้นให้ผู้เรียนใช้คาสั่งทุกคาสั่งที่
  เรียนไปแล้วมาประกอบการวาดรูป เช่น คาสั่ง FD ,BK ,RT ,LT ,,PU ,PD ,,HT , ST
  เป็นต้น และในการวาดรูปนั้นผู้สอนควรจะแนะนาให้ผู้เรียนคิดลาดับขั้นตอนในการวาด
  รูป ไว้ ก่ อน เพื่อ ช่ ว ยให้ ก ารเรี ย นการสอนเร็ ว ขึ้ น และเป็น การฝึก ให้ ผู้ เรี ย นเป็น คนที่ มี
  ความคิดอย่างเป็นลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรม

 ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมตัวอักษร ก โดยลาดับการ
  สร้างเป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดาน
  ให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน

 จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองเขียนโปรแกรมตัวอักษร ก ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้
  ผู้เรียนได้เห็นจากหน้ าจอทีวีที่อยู่กลางห้ อง และให้ผู้เรียนปฏิ บัติตามผู้สอนโดยดูจาก
  หน้ า จอที วี ที่ อ ยู่ ก ลางห้ อ งที ล ะขั้ น ตอน โดยผู้ ส อนอธิ บ ายในแต่ ล ะขั้ น ตอนการเขี ย น
  โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย

 เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมตัวอักษร ก ที่สร้างไว้
  ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอน
  แนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้

 หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง    โดยผู้สอนคอยสังเกตการ
  ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่

 ผู้ ส อนและผู้ เ รี ย นช่ ว ยกั น สรุ ป ขั้ น ตอน เนื้ อ หาและค าสั่ ง ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ เ ขี ย นโปรแกรม
  ตัวอักษร ก
88


ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมสาหรับตัวเลข
โปรแกรมการวาดตัวเลข 1 มีลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมดังนี้

1. วาดรูปเลข 1




2. จัดลาดับการวาดรูปเลข 1 ได้ดังนี้
   2.1 วาดฐานไปทางซ้าย 20 หน่วย ไปทางขวา 20 หน่วย โดยใช้คาสั่ง
                      RIGHT 90
                      FORWARD 40
                      BACK 20
                      LEFT 90

  2.2 วาดตัวเลข 1 โดยลากเส้นตรงในแนวตั้งฉากยาวประมาณ 60 หน่วย โดยใช้คาสั่ง

                      FORWARD 60

  2.3 วาดหัวเลข 1 โดยหมุนหัวเต่ามาทางซ้าย 135 องศา แล้วลากเส้นตรงตามแนวยาว โดย
      ใช้คาสั่ง
                     LEFT 135
                     FORWARD 30

3. นาคาสั่งทั้งหมดมาเขียนเป็นโปรแกรม (ในหน้า PROCEDURE) ได้ดังนี้

                 TO ONE
                      RIGHT 90
                      FORWARD 40
                      BACK 20
                      LEFT 90
                      FORWARD 60
89

                       LEFT 135
                       FORWARD 30
                       HT
             END
   ทดลองให้โลโก วาดภาพตามโปรแกรมที่เขียนไว้ ให้ออกจาก PROCEDURE ให้พิมพ์ชื่อ
   ONE ในศูนย์คาสั่ง COMMAND CENTER

4. หลังจากที่โปรแกรมถูกต้องแล้วให้ผู้เรียนทาการ SAVE โปรแกรม โดยเลือกที่เมนูคาสั่ง แฟ้ม
   (FILE) เลื่อนเมาส์มาเลือกคาสั่ง SAVE PROJECT




  เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้


    ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมตัวเลข 1 โดยลาดับการ
     สร้างเป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดาน
     ให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน

    จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองเขียนโปรแกรมตัวเลข 1 ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้
     ผู้เรียนได้เห็นจากหน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติตามผู้สอนโดยดูจาก
     หน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้องทีละขั้นตอน โดยผู้สอนอธิบายในแต่ละขั้นตอนการเขียน
     โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย

    เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมตัวเลข 1 ที่สร้างไว้
     ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอน
     แนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้

    หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยสังเกตการ
     ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่
90

    ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอน เนื้อหาและคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เขียนโปรแกรมตัวเลข 1


การวาดภาพต่าง ๆ โดยใช้เส้นตรง
ผู้สอนวาดภาพตัวอย่างให้ผู้เรียนดู แล้วให้ผู้เรียนเขียนโปรแกรมการสร้างภาพโดยใช้เส้นตรง เช่น

 รูปบ้าน




TO HOUSE
         PU BK 50 PD FD 100 LT 60
         BK 15 FD 50 LT 60 FD 50 BK 15
         LT 60 FD 100 LT 90 FD 22
         REPEAT 2[FD 16 LT 90 FD 70 LT 90]
         FD 122 LT 90 FD 92 LT 90 BK 20
         REPEAT 2[FD 90 RT 90 FD 5 RT 90]
         FD 35
         REPEAT 2 [FD 20 LT 90 FD 50 LT 90]
         FD 20
         REPEAT 2[FD 20 LT 90 FD 50 LT 90]
         BK 55 RT 90 FD 5 LT 90
         REPEAT 2[FD 90 RT 30 FD 50 RT 150]
         FD 90 RT 30 FD 50 LT 60 FD 50
         FD 5 LT 90 FD 3 HT
       END
91

      เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ
HOUSE จะได้รูปบ้าน ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ HOUSE
 รูปดาว




TO STAR
      PD RT 18
      REPEAT 5[FD 90 RT 144]
END
      เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ
STAR จะได้รูปดาว ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ STAR

 รูปสามเหลี่ยมสามชั้น




TO T1
        RT 30 FD 70 RT 120
        FD 70 RT 120 FD 70
        RT 90 HT
END
TO T2
        RT 30 FD 50 RT 120
        FD 50 RT 120 FD 50
        RT 90 HT
END
92

TO T3
        RT 30 FD 30 RT 120
        FD 30 RT 120 FD 30
        RT 90 HT
END
TO T4
        T1
        RT 90 FD 10 LT 90
        T2
        RT 90 FD 10 LT 90
        T3
END

      เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ
T4 จะได้รูปสามเหลี่ยมสามชั้น ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ T4
93


เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

  ผู้สอนและผู้เรียนช่ว ยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมในการวาดรูปเป็นเส้นตรง
   ในบทเรียนจะเป็นการสอนให้ผู้เรียนวาดรูป ก , เลข 1 , บ้าน , ดาว , รูปสามเหลี่ยม เป็น
   ต้น โดยให้ผู้เรียนลาดับการสร้างเป็นขั้ นตอนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้น
   บนกระดาน

  จากนั้นผู้ สอนให้ผู้เ รียนทดลองเขียนโปรแกรมต่าง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้
   ผู้เรียนได้เห็นจากหน้ าจอทีวีที่อยู่กลางห้ อง และให้ผู้เรียนปฏิ บัติตามผู้สอนโดยดูจาก
   หน้ า จอที วี ที่ อ ยู่ ก ลางห้ อ งที ล ะขั้ น ตอน โดยผู้ ส อนอธิ บ ายในแต่ ล ะขั้ น ตอนการเขี ย น
   โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย

  เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมต่าง ๆ ที่สร้างไว้ขึ้นมาดู
   ว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอนแนะนา
   หรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้

  เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้คาสั่งต่าง ๆ ในบทเรียนการวาดรูปเป็นเส้นตรงแล้ว ผู้สอนควรฝึกให้
   ผู้เรียนปฏิบัติโปรแกรมในการวาดรูปที่เป็น เส้นตรงแบบอื่น ๆ ที่ นอกเหนือจากตัวอย่าง
   ข้างต้นที่ให้ม าโดยผู้ สอนอาจจะกาหนดรูปต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้ฝึก ปฏิบัติตาม เพื่อให้
   ผู้เรียนมีความชานาญในการเขียนโปรแกรม ผู้สอนอาจจะมีการเก็บคะแนนเพื่อให้ผู้เรียน
   มีความสนใจยิ่งขึ้น

  ผู้สอนสรุปเนื้อหาและคาสั่งของโปรแกรมต่าง ๆ ที่ไ ด้เรียนมา โดยทาเป็นการทดสอบ
   อาจจะมีการทดสอบปากเปล่า คือให้ผู้สอนถามผู้เรียนเกี่ยวกับคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เรียนมา
   และให้ผู้เรียนทากิจกรรมท้ายบทเพื่อเป็นการวัดผลว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่
   เรียนมาหรือไม่
94


การวาดรูปโดยใช้เส้นโค้ง
         นอกเหนือจากการวาดรูปโดยใช้เส้นตรงแล้วเรายังสามารถวาดรูปโดยใช้เส้นโค้งได้เช่นกัน
วิธีการก็คือเราจะนาเอาคาสั่งพื้นฐานในการวาดรูปของโปรแกรม MICROWORLDS PRO มา
ดัดแปลงใช้นั่นเอง โดยมีสูตรในการคานวณดังนี้

สูตรคานวณจานวนที่ให้เต่าเดินแต่ละครั้ง

   ความยาวส่วนโค้ง
                                = จานวนหน่วยในการเดิน
   มุมรองรับส่วนโค้ง

ขนาดของรูปขึ้นอยู่กับหน่วยในการหันของเต่า
คาสั่งในการเขียน

REPEAT มุมรองรับส่วนโค้ง [ FD จานวนหน่วยในการเดิน RT 1 ]
ตัวอย่าง 1 วาดรูปเส้นโค้ง มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ
ความยาวของส่วนโค้ง 100 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางขวาโดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย

วิธีทา
            100
                    = 1.1111111
            90
REPEAT 90 [ FD 1.1111111 RT 1 ]

รูปที่ได้
95

ตัวอย่าง 2 วาดรูปเส้นโค้ง มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ
ความยาวของส่วนโค้ง 100 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางซ้ายโดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย

วิธีทา
            100
                  = 1.1111111
            90
REPEAT 90 [ FD 1.1111111 LT 1 ]

รูปที่ได้




ตัวอย่างที่ 3

วาดรูปกลีบดอกไม้ มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ
ความยาวของส่วนโค้ง 200 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางขวา โดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย
โดยให้เขียนชุดคาสั่งใน PROCEDURE
TO FLOWER1
     REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
     RT 90
     REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
END
ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ FLOWER1
96

รูปที่ได้




ตัวอย่างที่ 4 นากลีบดอกที่ได้จากตัวอย่างที่ 3 มาทาเป็นดอกไม้ 8 กลีบโดยสามารถเขียน
ชุดคาสั่งได้ดังนี้
TO FLOWER1
     REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
     RT 90
     REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
END

TO FLOWER
     REPEAT 4 [FLOWER1]
     RT 45
     REPEAT 4 [FLOWER1]
END
ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ FLOWER
97

รูปที่ได้




ตัวอย่างที่ 5 เราสามารถใส่สีให้กับกลีบดอกไม้ที่ได้จากตัวอย่างที่ 4 ได้ดังต่อไปนี้

TO FLOWER1
      REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
      RT 90
      REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1]
END
TO FLOWER
      SETC 9 PD
      REPEAT 4 [FLOWER1]
      RT 45
      REPEAT 4 [FLOWER1]
END
98

TO SCOLOR15
     PU FD 100
     SETC 15 FILL
     BK 100
END

TO RCOLOR15
      HOME
      REPEAT 8 [SCOLOR15 RT 45]
END
TO SCOLOR45
      PU FD 50
      SETC 45 FILL
      BK 50
END
TO RCOLOR45
      HOME RT 22.5
      REPEAT 8 [SCOLOR45 RT 45]
END

TO RUNFLOWER
     HT
     FLOWER
     RCOLOR45
     RCOLOR15
END
99

ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ RUNFLOWER
รูปที่ได้
100


เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

 ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการสร้างรูปกลีบดอกไม้ โดยลาดับการสร้าง
  เป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดานให้
  ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน

 จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองสร้างรูปกลีบดอกไม้ ใน PROCEDURE โดยให้ผู้เรียนได้
  เห็นจากหน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติตามผู้สอนโดยดูจากหน้าจอทีวีท่ี
  อยู่กลางห้องทีละขั้นตอน โดยผู้สอนอธิบายในแต่ละขั้นตอนการเขียนโปรแกรมแต่ละขั้น
  ประกอบด้วย

 เมื่อผู้เรียนเขียนคาสั่ง PROCEDUR E เสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกคาสั่งที่เขียนรูปกลีบ
  ดอกไม้ ที่สร้างไว้ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่
  ต้องการ ให้ผู้สอนแนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็น
  ตัวอย่างก็ได้

 หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยสังเกตการ
  ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่

 ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอน เนื้อหาและคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เขียนโปรแกรมตัวเลข 1
101


การวัดและการประเมินผล

        การสังเกต          ผู้สอนสังเกตจากปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้เรียน จากท่าทางของผู้เรียน ว่าถ้า
ผู้เรียนสนุกสนาน ตั้งใจและมีความสนใจการเรียนอย่างต่อเนื่อง แสดงว่าการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นไปได้ด้วยดี แต่ถ้าผู้เรียนไม่สนใจในการเรียนการสอนแสดงว่าผู้เรียนไม่เข้าใจ ผู้สอนควรจะ
สอบถามหรืออธิบายใหม่เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและอยากเรียนยิ่งขึ้น

        ภาคทฤษฎี          ผู้สอนควรจะทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาทั้งหมดที่เรียนไป
แล้วโดยการ
       - ทดสอบปากเปล่า
       - ทดสอบจากการที่ผู้สอนได้ทาแบบทดสอบขึ้น หลังจากจบเนื้อหาในบทเรียน
       - ทดสอบจากแบบฝึกหัดท้ายบทว่าผู้เรียนสามารถตอบถูกมากน้อยเพียงใด

        ภาคปฏิบัติ         สังเกตจากการปฏิบัติของผู้เรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนดให้ว่าสามารถ
ทาได้หรือไม่ถ้าผู้เรียนส่วนใหญ่ทาได้เกิน 60% ของจานวนผู้เรียนทั้งหมดสามารถปฏิบัติหรือตอบ
คาถามได้ถูกต้อง ถือว่าการเรียนการสอนนี้ประสบผลสาเร็จ แต่ถ้าต่ากว่า 40% ผู้สอนจะต้องทา
การสอนใหม่อีกครั้ง

More Related Content

What's hot

การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
mathawee wattana
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
Bua Rom
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
ninewyuya
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
ninewyuya
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
kaokhwanjai
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
Anekphongtupan
 

What's hot (20)

การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
คู่มือ Courselab
คู่มือ Courselabคู่มือ Courselab
คู่มือ Courselab
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLabคู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
 
Course lap
Course lapCourse lap
Course lap
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psd
 

Similar to Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ

Turing Machine2
Turing Machine2Turing Machine2
Turing Machine2
ninewyuya
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3
preawie
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
Thamon Monwan
 
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
Jutharat Prommi
 
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
lekruthai khantongchai
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
winewic199
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
sutham lrp
 

Similar to Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ (20)

รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solving
 
Turing Machine2
Turing Machine2Turing Machine2
Turing Machine2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
 
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
น.ส.จุฑารัตน์ พรหมมิ เลขที 12 ม.4/5
 
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร การผลิตสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น breakฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น break
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
Pbl7.2
Pbl7.2Pbl7.2
Pbl7.2
 
1
11
1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Chepter3
Chepter3Chepter3
Chepter3
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++
 

More from Errorrrrr

Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Errorrrrr
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
Errorrrrr
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
Errorrrrr
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
Errorrrrr
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Errorrrrr
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Errorrrrr
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Errorrrrr
 

More from Errorrrrr (16)

Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
Ex9
Ex9Ex9
Ex9
 
Ex8
Ex8Ex8
Ex8
 
Ex7
Ex7Ex7
Ex7
 
Ex6
Ex6Ex6
Ex6
 
Ex5
Ex5Ex5
Ex5
 
Ex4
Ex4Ex4
Ex4
 
Ex3
Ex3Ex3
Ex3
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
Ex1
Ex1Ex1
Ex1
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 

Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ

  • 1. หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การวาดรูปต่าง ๆ ที่เป็นเส้นตรงและการประยุกต์ใช้ในโปรแกรม สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 2 เป็นต้นไป มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วงสร้ างชิ้นงานจากจินตนาการ หรืองานที่ทาในชีวิ ตประจาวัน อย่างมี จิตสานึก และมีความรับผิดชอบ มฐ-ง 4.1 (10) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. รู้จักและสามารถลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้ 2. รู้จักและสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างภาพที่เกิดจากการนาเอาเส้นตรงมาประกอบ ในการสร้างภาพได้ 3. รู้จักและสามารถนาคาสั่งต่างๆในภาษาโลโกมาประยุกต์ เพื่อเขียนโปรแกรมในการ สร้างภาพได้ สื่อ - อุปกรณ์ 1. ใบงาน 2. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวาดรูปต่าง ๆ ที่เป็นเส้นตรงและการประยุกต์ใช้ในโปรแกรม 3. อุปกรณ์การเรียน เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมการเรียนการสอน MICROWORLDS PRO เวลาเรียน 5 คาบ
  • 2. 85 กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ทบทวนคาสั่งต่าง ๆ ที่เรียนมาแล้วทั้งหมด 2. ผู้สอนทบทวนลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมในบทเรียนนี้ผู้สอนต้องฝึกให้ ผู้เรียนวาดภาพตัวอักษรและตัวเลข ดังนี้ - โปรแกรมวาดภาพตัวอักษร ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษได้ โดยอาจจะให้เขียนชื่อ โรงเรียน อักษรย่อโรงเรียน หรือชื่อตัวเองก็ได้ - โปรแกรมวาดภาพตัวเลข อาจจะให้วาดตัวเลข 0-9 ก็ได้ การเขียนโปรแกรมสาหรับอักษร โปรแกรมการวาดอักษร ก มีลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมดังนี้ 1. วาดภาพ ก 2. จัดลาดับการวาดภาพ ก ได้ดังนี้ 2.1 วาดขา ก ข้างซ้ายเป็นเส้นตรงดิ่งยาว 54 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 54 2.2 วาดหัว ก หมุนหัวเต่าไปทางขวา 45 องศา เขียนเส้นตรงยาว 6 หน่วย โดยใช้คาสั่ง RIGHT 45 FORWARD 6 2.3 วาดหัว ก หมุนตัวเต่าไปทางซ้าย 90 องศา เขียนเส้นตรงยาว 6 หน่วย โดยใช้คาสั่ง LEFT 90 FORWARD 6 2.4 หมุนหัวเต่ามาทางขวา 45 องศา โดยใช้คาสั่ง RIGHT 45 2.5 หมุนหัวเต่ามาทางขวา 90 องศา โดยใช้คาสั่ง RITHT 90 2.6 ลากเส้นตรงยาว 30 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 30 2.7 หมุนหัวเต่าไปทางขวา 90 องศา โดยใช้คาสั่ง RIGHT 90 2.8 ลากเส้นตรงตามแนวหัวเต่ายาว 63 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 63
  • 3. 86 3. นาคาสั่งทั้งหมดมาเขียนโปรแกรม (ในหน้า PROCEDURE) ได้ดังนี้ TO FONT1 FORWARD 54 RIGHT 45 FORWARD 6 LEFT 90 FORWARD 6 RIGHT 45 RIGHT 90 FORWARD 30 RIGHT 90 FORWARD 63 PENUP HT END ทดลองให้โลโก วาดภาพตามโปรแกรมที่เขียนไว้ ให้ออกจาก PROCEDURE ให้พิมพ์ชื่อ FONT1 ในศูนย์คาสั่ง COMMAND CENTER 4. หลังจากที่โปรแกรมถูกต้องแล้วให้ผู้เรียนทาการ SAVE โปรแกรม โดยเลือกที่เมนูคาสั่ง แฟ้ม (FILE) เลื่อนเมาส์มาเลือกคาสั่ง SAVE PROJECT
  • 4. 87 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  การเขียนโปรแกรมเป็นเส้นตรงในบทเรียนนี้ ผู้สอนควรเน้นให้ผู้เรียนใช้คาสั่งทุกคาสั่งที่ เรียนไปแล้วมาประกอบการวาดรูป เช่น คาสั่ง FD ,BK ,RT ,LT ,,PU ,PD ,,HT , ST เป็นต้น และในการวาดรูปนั้นผู้สอนควรจะแนะนาให้ผู้เรียนคิดลาดับขั้นตอนในการวาด รูป ไว้ ก่ อน เพื่อ ช่ ว ยให้ ก ารเรี ย นการสอนเร็ ว ขึ้ น และเป็น การฝึก ให้ ผู้ เรี ย นเป็น คนที่ มี ความคิดอย่างเป็นลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรม  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมตัวอักษร ก โดยลาดับการ สร้างเป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดาน ให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน  จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองเขียนโปรแกรมตัวอักษร ก ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้ ผู้เรียนได้เห็นจากหน้ าจอทีวีที่อยู่กลางห้ อง และให้ผู้เรียนปฏิ บัติตามผู้สอนโดยดูจาก หน้ า จอที วี ที่ อ ยู่ ก ลางห้ อ งที ล ะขั้ น ตอน โดยผู้ ส อนอธิ บ ายในแต่ ล ะขั้ น ตอนการเขี ย น โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย  เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมตัวอักษร ก ที่สร้างไว้ ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอน แนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้  หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยสังเกตการ ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่  ผู้ ส อนและผู้ เ รี ย นช่ ว ยกั น สรุ ป ขั้ น ตอน เนื้ อ หาและค าสั่ ง ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ เ ขี ย นโปรแกรม ตัวอักษร ก
  • 5. 88 ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมสาหรับตัวเลข โปรแกรมการวาดตัวเลข 1 มีลาดับขั้นตอนในการเขียนโปรแกรมดังนี้ 1. วาดรูปเลข 1 2. จัดลาดับการวาดรูปเลข 1 ได้ดังนี้ 2.1 วาดฐานไปทางซ้าย 20 หน่วย ไปทางขวา 20 หน่วย โดยใช้คาสั่ง RIGHT 90 FORWARD 40 BACK 20 LEFT 90 2.2 วาดตัวเลข 1 โดยลากเส้นตรงในแนวตั้งฉากยาวประมาณ 60 หน่วย โดยใช้คาสั่ง FORWARD 60 2.3 วาดหัวเลข 1 โดยหมุนหัวเต่ามาทางซ้าย 135 องศา แล้วลากเส้นตรงตามแนวยาว โดย ใช้คาสั่ง LEFT 135 FORWARD 30 3. นาคาสั่งทั้งหมดมาเขียนเป็นโปรแกรม (ในหน้า PROCEDURE) ได้ดังนี้ TO ONE RIGHT 90 FORWARD 40 BACK 20 LEFT 90 FORWARD 60
  • 6. 89 LEFT 135 FORWARD 30 HT END ทดลองให้โลโก วาดภาพตามโปรแกรมที่เขียนไว้ ให้ออกจาก PROCEDURE ให้พิมพ์ชื่อ ONE ในศูนย์คาสั่ง COMMAND CENTER 4. หลังจากที่โปรแกรมถูกต้องแล้วให้ผู้เรียนทาการ SAVE โปรแกรม โดยเลือกที่เมนูคาสั่ง แฟ้ม (FILE) เลื่อนเมาส์มาเลือกคาสั่ง SAVE PROJECT เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมตัวเลข 1 โดยลาดับการ สร้างเป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดาน ให้ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน  จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองเขียนโปรแกรมตัวเลข 1 ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้ ผู้เรียนได้เห็นจากหน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติตามผู้สอนโดยดูจาก หน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้องทีละขั้นตอน โดยผู้สอนอธิบายในแต่ละขั้นตอนการเขียน โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย  เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมตัวเลข 1 ที่สร้างไว้ ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอน แนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้  หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยสังเกตการ ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่
  • 7. 90  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอน เนื้อหาและคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เขียนโปรแกรมตัวเลข 1 การวาดภาพต่าง ๆ โดยใช้เส้นตรง ผู้สอนวาดภาพตัวอย่างให้ผู้เรียนดู แล้วให้ผู้เรียนเขียนโปรแกรมการสร้างภาพโดยใช้เส้นตรง เช่น  รูปบ้าน TO HOUSE PU BK 50 PD FD 100 LT 60 BK 15 FD 50 LT 60 FD 50 BK 15 LT 60 FD 100 LT 90 FD 22 REPEAT 2[FD 16 LT 90 FD 70 LT 90] FD 122 LT 90 FD 92 LT 90 BK 20 REPEAT 2[FD 90 RT 90 FD 5 RT 90] FD 35 REPEAT 2 [FD 20 LT 90 FD 50 LT 90] FD 20 REPEAT 2[FD 20 LT 90 FD 50 LT 90] BK 55 RT 90 FD 5 LT 90 REPEAT 2[FD 90 RT 30 FD 50 RT 150] FD 90 RT 30 FD 50 LT 60 FD 50 FD 5 LT 90 FD 3 HT END
  • 8. 91 เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ HOUSE จะได้รูปบ้าน ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ HOUSE  รูปดาว TO STAR PD RT 18 REPEAT 5[FD 90 RT 144] END เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ STAR จะได้รูปดาว ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ STAR  รูปสามเหลี่ยมสามชั้น TO T1 RT 30 FD 70 RT 120 FD 70 RT 120 FD 70 RT 90 HT END TO T2 RT 30 FD 50 RT 120 FD 50 RT 120 FD 50 RT 90 HT END
  • 9. 92 TO T3 RT 30 FD 30 RT 120 FD 30 RT 120 FD 30 RT 90 HT END TO T4 T1 RT 90 FD 10 LT 90 T2 RT 90 FD 10 LT 90 T3 END เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วให้ SAVE และออกจากโปรแกรม PROCEDURE แล้วเรียกชื่อ T4 จะได้รูปสามเหลี่ยมสามชั้น ให้ผู้เรียนระบายสีให้สวยงามและจัดเก็บไว้ในชื่อ T4
  • 10. 93 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ผู้สอนและผู้เรียนช่ว ยกันคิดลาดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมในการวาดรูปเป็นเส้นตรง ในบทเรียนจะเป็นการสอนให้ผู้เรียนวาดรูป ก , เลข 1 , บ้าน , ดาว , รูปสามเหลี่ยม เป็น ต้น โดยให้ผู้เรียนลาดับการสร้างเป็นขั้ นตอนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้น บนกระดาน  จากนั้นผู้ สอนให้ผู้เ รียนทดลองเขียนโปรแกรมต่าง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยให้ ผู้เรียนได้เห็นจากหน้ าจอทีวีที่อยู่กลางห้ อง และให้ผู้เรียนปฏิ บัติตามผู้สอนโดยดูจาก หน้ า จอที วี ที่ อ ยู่ ก ลางห้ อ งที ล ะขั้ น ตอน โดยผู้ ส อนอธิ บ ายในแต่ ล ะขั้ น ตอนการเขี ย น โปรแกรมแต่ละขั้นประกอบด้วย  เมื่อผู้เรียนสร้างโปรแกรมเสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกโปรแกรมต่าง ๆ ที่สร้างไว้ขึ้นมาดู ว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ให้ผู้สอนแนะนา หรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างก็ได้  เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้คาสั่งต่าง ๆ ในบทเรียนการวาดรูปเป็นเส้นตรงแล้ว ผู้สอนควรฝึกให้ ผู้เรียนปฏิบัติโปรแกรมในการวาดรูปที่เป็น เส้นตรงแบบอื่น ๆ ที่ นอกเหนือจากตัวอย่าง ข้างต้นที่ให้ม าโดยผู้ สอนอาจจะกาหนดรูปต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้ฝึก ปฏิบัติตาม เพื่อให้ ผู้เรียนมีความชานาญในการเขียนโปรแกรม ผู้สอนอาจจะมีการเก็บคะแนนเพื่อให้ผู้เรียน มีความสนใจยิ่งขึ้น  ผู้สอนสรุปเนื้อหาและคาสั่งของโปรแกรมต่าง ๆ ที่ไ ด้เรียนมา โดยทาเป็นการทดสอบ อาจจะมีการทดสอบปากเปล่า คือให้ผู้สอนถามผู้เรียนเกี่ยวกับคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เรียนมา และให้ผู้เรียนทากิจกรรมท้ายบทเพื่อเป็นการวัดผลว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ เรียนมาหรือไม่
  • 11. 94 การวาดรูปโดยใช้เส้นโค้ง นอกเหนือจากการวาดรูปโดยใช้เส้นตรงแล้วเรายังสามารถวาดรูปโดยใช้เส้นโค้งได้เช่นกัน วิธีการก็คือเราจะนาเอาคาสั่งพื้นฐานในการวาดรูปของโปรแกรม MICROWORLDS PRO มา ดัดแปลงใช้นั่นเอง โดยมีสูตรในการคานวณดังนี้ สูตรคานวณจานวนที่ให้เต่าเดินแต่ละครั้ง ความยาวส่วนโค้ง = จานวนหน่วยในการเดิน มุมรองรับส่วนโค้ง ขนาดของรูปขึ้นอยู่กับหน่วยในการหันของเต่า คาสั่งในการเขียน REPEAT มุมรองรับส่วนโค้ง [ FD จานวนหน่วยในการเดิน RT 1 ] ตัวอย่าง 1 วาดรูปเส้นโค้ง มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ ความยาวของส่วนโค้ง 100 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางขวาโดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย วิธีทา 100 = 1.1111111 90 REPEAT 90 [ FD 1.1111111 RT 1 ] รูปที่ได้
  • 12. 95 ตัวอย่าง 2 วาดรูปเส้นโค้ง มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ ความยาวของส่วนโค้ง 100 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางซ้ายโดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย วิธีทา 100 = 1.1111111 90 REPEAT 90 [ FD 1.1111111 LT 1 ] รูปที่ได้ ตัวอย่างที่ 3 วาดรูปกลีบดอกไม้ มีขนาดของมุมรองรับส่วนโค้ง 90 องศา และ ความยาวของส่วนโค้ง 200 กาหนดให้วาดส่วนโค้งทางขวา โดยให้องศาในการหันเท่ากับ 1 หน่วย โดยให้เขียนชุดคาสั่งใน PROCEDURE TO FLOWER1 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] RT 90 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] END ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ FLOWER1
  • 13. 96 รูปที่ได้ ตัวอย่างที่ 4 นากลีบดอกที่ได้จากตัวอย่างที่ 3 มาทาเป็นดอกไม้ 8 กลีบโดยสามารถเขียน ชุดคาสั่งได้ดังนี้ TO FLOWER1 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] RT 90 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] END TO FLOWER REPEAT 4 [FLOWER1] RT 45 REPEAT 4 [FLOWER1] END ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ FLOWER
  • 14. 97 รูปที่ได้ ตัวอย่างที่ 5 เราสามารถใส่สีให้กับกลีบดอกไม้ที่ได้จากตัวอย่างที่ 4 ได้ดังต่อไปนี้ TO FLOWER1 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] RT 90 REPEAT 90 [FD 2.2222222 RT 1] END TO FLOWER SETC 9 PD REPEAT 4 [FLOWER1] RT 45 REPEAT 4 [FLOWER1] END
  • 15. 98 TO SCOLOR15 PU FD 100 SETC 15 FILL BK 100 END TO RCOLOR15 HOME REPEAT 8 [SCOLOR15 RT 45] END TO SCOLOR45 PU FD 50 SETC 45 FILL BK 50 END TO RCOLOR45 HOME RT 22.5 REPEAT 8 [SCOLOR45 RT 45] END TO RUNFLOWER HT FLOWER RCOLOR45 RCOLOR15 END
  • 16. 99 ในช่อง COMMAND CENTER เรียก PROCEDURE ชื่อ RUNFLOWER รูปที่ได้
  • 17. 100 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันคิดลาดับขั้นตอนการสร้างรูปกลีบดอกไม้ โดยลาดับการสร้าง เป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเขียนในกระดาษ และให้ผู้สอนเขียนลาดับขั้นตอนบนกระดานให้ ผู้เรียนดูเป็นตัวอย่างประกอบการเรียนการสอน  จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนทดลองสร้างรูปกลีบดอกไม้ ใน PROCEDURE โดยให้ผู้เรียนได้ เห็นจากหน้าจอทีวีที่อยู่กลางห้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติตามผู้สอนโดยดูจากหน้าจอทีวีท่ี อยู่กลางห้องทีละขั้นตอน โดยผู้สอนอธิบายในแต่ละขั้นตอนการเขียนโปรแกรมแต่ละขั้น ประกอบด้วย  เมื่อผู้เรียนเขียนคาสั่ง PROCEDUR E เสร็จแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียกคาสั่งที่เขียนรูปกลีบ ดอกไม้ ที่สร้างไว้ขึ้นมาดูว่าได้ผลตามที่ได้เขียนไว้หรือไม่ ถ้าผู้เรียนคนใดไม่ได้ผลตามที่ ต้องการ ให้ผู้สอนแนะนาหรืออธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้สอนอาจจะปฏิบัติให้ดูเป็น ตัวอย่างก็ได้  หลังจากนั้นจึงกาหนดให้ผู้เรียนได้ทาการปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยสังเกตการ ปฏิบัติของผู้เรียนว่าสามารถทาได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กาหนดหรือไม่  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปขั้นตอน เนื้อหาและคาสั่งต่าง ๆ ที่ได้เขียนโปรแกรมตัวเลข 1
  • 18. 101 การวัดและการประเมินผล การสังเกต ผู้สอนสังเกตจากปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้เรียน จากท่าทางของผู้เรียน ว่าถ้า ผู้เรียนสนุกสนาน ตั้งใจและมีความสนใจการเรียนอย่างต่อเนื่อง แสดงว่าการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นไปได้ด้วยดี แต่ถ้าผู้เรียนไม่สนใจในการเรียนการสอนแสดงว่าผู้เรียนไม่เข้าใจ ผู้สอนควรจะ สอบถามหรืออธิบายใหม่เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและอยากเรียนยิ่งขึ้น ภาคทฤษฎี ผู้สอนควรจะทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาทั้งหมดที่เรียนไป แล้วโดยการ - ทดสอบปากเปล่า - ทดสอบจากการที่ผู้สอนได้ทาแบบทดสอบขึ้น หลังจากจบเนื้อหาในบทเรียน - ทดสอบจากแบบฝึกหัดท้ายบทว่าผู้เรียนสามารถตอบถูกมากน้อยเพียงใด ภาคปฏิบัติ สังเกตจากการปฏิบัติของผู้เรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนดให้ว่าสามารถ ทาได้หรือไม่ถ้าผู้เรียนส่วนใหญ่ทาได้เกิน 60% ของจานวนผู้เรียนทั้งหมดสามารถปฏิบัติหรือตอบ คาถามได้ถูกต้อง ถือว่าการเรียนการสอนนี้ประสบผลสาเร็จ แต่ถ้าต่ากว่า 40% ผู้สอนจะต้องทา การสอนใหม่อีกครั้ง