SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
ใบความรู้ที่1 ความเป็นมาของภาษาโลโก้
ภาษาโลโกและการสร้างชิ้นงานน
ความเป็นมาของภาษาโลโกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2513 เมื่อกลุ่มนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ นาโดย
เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ทาการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ คล้ายกับของ เกย์ วอลเทอร์ เพื่อให้เด็ก ๆ สามารถเขียนโปรแกรม
คาสั่งที่ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย สั่งให้โปรแกรมทางานตามที่ต้องการ พวกเขาจึงทาการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่
เรียกว่าภาษา “โลโก” เป็นภาษาที่ง่ายสาหรับเด็ก ช่วยให้เด็กสามารถเขียนคาสั่งให้หุ่นยนต์เต่า (Logo) เคลื่อนที่ไปมาและ
เปลี่ยนทิศทางตามที่ต้องการ ภาษาโลโกจึงเป็นทางเลือกใหม่ สาหรับเด็กในการฝึกทักษะทางภาษาคอมพิวเตอร์ และ
สามารถสร้างงานจากจินตนาการ โดยอาศัยความเข้าใจพื้นฐานของวิชาคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ในปัจจุบัน
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มีราคาถูก จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูปให้สามารถจาลองหุ่นยนต์เต่า
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นภาพกราฟิกเต่า เคลื่อนที่ไปมาบนจอภาพคอมพิวเตอร์ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของภาพกราฟิก
เต่า มาเป็นภาพสัญลักษณ์สามเหลี่ยม
ภาษาโลโกบนระบบปฏิบัติการวินโดว์
ภาษาโลโกได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 และเมื่อต้นปี พ.ศ.2523 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการ
พัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ นาทีมโดย เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ออกแบบโปรแกรมสร้างภาพกราฟิกที่มีประสิทธิภาพสูงและใช้งาน
ง่าย เรียกว่า ภาษาโลโก
คาว่า “โลโก” หมายถึงหุ่นยนต์เต่า สามารถเคลื่อนที่ไปในทิศทางต่าง ๆ ได้โดยการควบคุมจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะ
ที่เคลื่อนที่จะเขียนรอยทางเดินไปตามทิศทางนั้น ๆ ด้วย ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้คาสั่งภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย ๆ
เช่น เมื่อต้องการให้เต่าเคลื่อนที่ไปด้านหน้าจะใช้คาสั่งว่า FORWARD (ซึ่งแปลว่า เดินหน้า) หรือ ต้องการให้ย้อนกลับจะใช้
คาสั่งว่า REVERSE (ซึ่งแปลว่า ย้อนกลับ) และคาสั่งให้เลี้ยวขวาหรือเลี้ยวซ้ายจะใช้ว่า RIGHT หรือ LEFT เป็นต้น
ภาษาโลโกมีจุดเริ่มต้นการพัฒนาโปรแกรมจาก ไบรอัน ฮาร์เวย์ และคณะทางานที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์–เบิร์
กเลย์ ซึ่งเรียกโปรแกรมนี้ว่า “โลโกเบิร์กเลย์” หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถใช้งานภายใต้
ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน จากระบบยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบดอส (DOS) จนถึงปัจจุบัน ยอร์จ มิลส์ ได้พัฒนาให้
สามารถทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ได้ เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “เอ็มเอสดับบลิวโลโก”(MSWLogo)
MSWLogo เป็นโปรแกรมรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากโปรแกรมโลโกที่มีใช้ทั้งหมดในขณะนี้ เหมาะสาหรับใช้ในการเรียน
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น และได้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับโปรแกรมนี้อย่างแพร่หลายในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก การใช้งานสะดวก ไม่ยุ่งยาก เหมือนโปรแกรมอื่นๆ ที่มีปุ่ม
เลือกและสัญรูป ต่างๆ เป็นจานวนมาก โปรแกรมนี้จะกระตุ้นให้นักเรียนมีความกล้าในการสร้างสรรค์งานกราฟิกรูปแบบ
ต่าง ๆ จากจินตนาการของตนเองได้ง่าย ช่วยให้มีพื้นฐานและความถนัดเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ความ
แพร่หลายของโปรแกรม MSWLogo ที่นาไปสอนในโรงเรียนต่าง ๆ ทาให้มีการสนับสนุนทางด้านวิชาการและตัวอย่าง
โปรแกรมที่น่าสนใจเป็นจานวนมาก โดยสามารถสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตได้โดยง่าย
ใบความรู้ที่ 2 หน้าต่างโปรแกรมโลโก้
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมโลโกจะเห็นส่วนประกอบ 3 ส่วนรวมกันในหน้าต่างโปรแกรมโลโกดังนี้
<—ส่วนที่ 1
<—ส่วนที่ 2
<—ส่วนที่ 3
ส่วนที่ 1 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงผล (Display window) เริ่มต้นจะมีภาพเต่าโลโกเป็นรูปสามเหลี่ยม ชี้ไป
ทางทิศเหนือ(คือด้านบนของจอภาพ) และเมื่อมีการสั่งให้เต่าทางาน จะแสดงรอยทางเดินที่เต่าเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางที่กาหนด ด้วยความยาวขนาดต่าง ๆ
ส่วนที่ 2 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงคาสั่ง (Commander window) คาสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทางานเมื่อพิมพ์ลง
ไปแล้วจะปรากฏให้เห็นในหน้าต่างนี้ คาสั่งที่พิมพ์เข้าไปก่อนจะอยู่บรรทัดบน ส่วนคาสั่งที่พิมพ์ตามเข้าไปจะ
อยู่บรรทัดล่าง คาสั่งเหล่านี้สามารถเรียกกลับมาใช้งานได้อีก
ส่วนที่ 3 มีชื่อเรียกว่าช่องป้อนเข้าข้อมูล (Input box) เป็นส่วนหนึ่งของหน้าต่างแสดงคาสั่ง เมื่อคลิกที่ช่องนี้
จะปรากฏเครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) ทาให้สามารถพิมพ์คาสั่งลงไปได้ครั้งละ 1 บรรทัด เมื่อพิมพ์เสร็จ
แล้วให้กดแป้น Enter เสมอ คาสั่งที่พิมพ์ลงไปจะไปปรากฏในหน้าต่างแสดงคาสั่ง (ส่วนที่ 2) และโปรแกรมจะ
ทาการประมวลผล ในกรณีที่เป็นคาสั่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่จะทาให้เต่าในหน้าต่างที่ 1 เกิดการเคลื่อนไหวด้วย
แต่ถ้าคาสั่งมีข้อผิดพลาดก็จะปรากฏข้อความที่เต่าไม่เข้าใจ (I don’t know how to …) ในหน้าต่างที่ 2 นี้
ขณะที่อยู่ในช่องป้อนเข้าข้อมูล ถ้ากดแป้นลูกศรขึ้น เคอร์เซอร์จะเข้าไปอยู่ในหน้าต่างแสดงคาสั่งด้านบน จึง
สามารถเลือกคาสั่งเดิมให้ทางานได้อีก (โดยคลิกที่ปุ่ม Execute)
ใบงานที่3 คาสั่งเบื้องต้นภาษาโลโก้
คาสั่งเบื้องต้นภาษาโลโก้
คาสั่งเต็ม คาสั่งย่อ ความหมาย
FORWARD FD เดินตรงไปข้างหน้า (ตามระยะที่กาหนด)
BACK BK ถอยหลัง (ตามระยะที่กาหนด)
RIGHT RT เลี้ยวขวา (ตามมุมองศาที่กาหนด)
LEFT LT เลี้ยวซ้าย (ตามมุมองศาที่กาหนด)
Home – สั่งให้เต่ากลับไปยังตาแหน่งเริ่มต้น
Clear Screen CS ลบข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏในหน้าต่างแสดงผล
Hide Turtle HT ซ่อนภาพกราฟิกเต่า
Show Turtle ST แสดงภาพกราฟิกเต่า
ใบงานที่ 4 คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 1)
คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 1)
คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เรื่องสี)
คาสั่งเต็ม คาสั่งย่อ ความหมาย
REPEAT n [ .. ] ทาคาสั่งในวงเล็บ [ .. ] ซ้า n รอบ
PEN UP PU ยกปากกาขึ้น (เดินไปจะไม่มีรอย)
PEN DOWN PD วางปากกาลง (เดินไปจะปรากฏรอย)
SETPENCOLOR [R G B] SETPC กาหนดสีปากกาเป็นสีตามค่าในวงเล็บ
SETPENCOLOR n SETPC กาหนดสีปากกาตามค่าตัวเลข n
สี คาสั่งในภาษาโลโก
ดา SETPC [0 0 0]
ขาว SETPC [255 255 255]
แดง SETPC [255 0 0]
เขียว SETPC [0 255 0]
น้าเงิน SETPC [0 0 255]
ฟ้า SETPC [0 255 255]
ชมพู SETPC [255 0 255]
เหลือง SETPC [255 255 0]
สี หมายเลข ค่า RGB คาสั่งในภาษาโลโก
Black 0 [0 0 0] SETPC 0
Blue 1 [0 0 255] SETPC 1
Green 2 [0 255 0] SETPC 2
Cyan 3 0 255 255] SETPC 3
Red 4 [255 0 0] SETPC 4
Magenta 5 [255 0 255] SETPC 5
Yellow 6 [255 255 0] SETPC 6
White 7 [255 255 255] SETPC 7
Brown 8 [155 96 59] SETPC 8
Light brown 9 [197 136 18] SETPC 9
Mid-green 10 [100 162 64] SETPC 10
Blue-green 11 [120 187 187] SETPC 11
Salmon 12 [255 149 119] SETPC 12
Blue-ish 13 [144 113 208] SETPC 13
Orange 14 [255 163 0] SETPC 14
Silver 15 [183 183 183] SETPC 15
ใบความรู้ที่ 5
การเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ Program Mode
การเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ Program Mode
คาสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทางานดังที่ได้ทดลองปฏิบัติในใบงานที่ 3-4 นั้น เรียกว่าเป็นการทางานใน
ลักษณะ Command Mode กล่าวคือเต่าโลโกจะทาตามคาสั่งทันที่ที่กดแป้น Enter วิธีนี้สะดวกและได้ผล
รวดเร็ว แต่จะเห็นว่าเมื่อเกิดความผิดพลาดจะแก้ไขได้ยาก อาจต้องใช้คาสั่งลบจอภาพ (Clear Screen – CS)
ซึ่งทาให้ภาพถูกลบไปทั้งหมด ต้องเริ่มต้นใหม่
ยังมีอีกวิธีหนึ่งในการสั่งให้เต่าโลโกทางาน แต่คราวนี้จะต้องพิมพ์ชุดคาสั่งทั้งหมดลงไปก่อน และเมื่อเรียกใช้
ส่วนหนึ่งในชุดคาสั่งนี้ เต่าโลโกจะสร้างภาพทั้งหมดให้ทันที วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการทางานใน
ลักษณะ Program Mode ตัวอย่างเช่น ในการสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 100 หน่วย จะใช้
คาสั่งใน comand mode ดังนี้
REPEAT 4 [FD 100 RT 90]
แต่เมื่ออยู่ใน program mode จะเพิ่มคาสั่งดังนี้
TO SQUAREREPEAT 4 [FD 100 RT 90]END
และถ้าต้องการให้โปรแกรมนี้ทางานก็เพียงแต่พิมพ์คาว่า SQUARE ที่ช่องป้อนเข้า
ข้อมูลเท่านั้น ก็จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทันทีจะสังเกตเห็นว่าชุดคาสั่งในลักษณะ
program mode สามารถทาได้ง่าย ๆ เพียงเพิ่มคาสั่ง TO ตามด้วยชื่อรูปที่จะสร้าง
(ในที่นี้คือ SQUARE = รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ไว้ที่บรรทัดแรก ตามด้วยชุดคาสั่งในการ
สร้างรูป และปิดท้ายด้วยคาสั่ง ENDลองดูอีกคาสั่งหนึ่ง เช่นการสร้างภาพดอกไม้
(FLOWER) จะมีชุดคาสั่งดังนี้
TO FLOWERFD 100SETPENCOLOR [255 0 0]REPEAT 36 [RT 10 REPEAT 4
[FD 50 RT 90]]END
หลังจากที่พิมพ์ชุดคาสั่งข้างต้นลงไปทั้งหมดแล้ว เมื่อพิมพ์ชื่อ FLOWER ที่ช่อง
ป้อนเข้าข้อมูลและกดแป้น Enter จะได้ภาพดอกไม้สีแดง 1 ดอกที่กลางจอภาพทันที
ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของการเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ program mode ก็คือ สามารถ
บันทึกชุดคาสั่งเหล่านี้ไว้ในฮาร์ดดิสก์หรือแผ่นดิสก์ได้ โดยการใช้คาสั่ง File –> Save
หรือ File –> SaveAs
ใบความรู้ที่ 6
การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย
ในการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างงานที่มีความซับซ้อน ควรแบ่งการเขียนโปรแกรมออกเป็นส่วน ๆ เพื่อให้
สะดวกในการปรับปรุงแก้ไขในภายหลัง โปรแกรมแต่ละส่วนเรียกว่าโปรแกรมย่อย (Procedure)โปรแกรม
ย่อยสามารถนามาใช้ในโปรแกรมหลักได้ โดยไม่ต้องพิมพ์คาสั่งทั้งหมดซ้าอีก เพียงพิมพ์ชื่อโปรแกรมย่อย
เท่านั้นตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงวิธีการเขียนโปรแกรมย่อย เพื่อให้ได้ภาพสวนดอกไม้ โดยเขียนโปรแกรม
ย่อยสร้างรูปสี่เหลี่ยม (Square) ก่อน แล้วจึงเขียนโปรแกรมย่อยสร้างรูปดอกไม้ (Flower) หลังจากนั้นจึง
เขียนโปรแกรมสร้างสวนดอกไม้ (Garden)
to squarerepeat 4 [fd 40 rt 90]end
to flowerfd 100repeat 36 [rt 10 square]setpencolor [0 0 0]bk 100end
to gardenpu setxy 0 0 pdsetpencolor [255 0 0] flowerpu setxy 150 0
pdsetpencolor [0 255 0] flower pu setxy -150 0 pdsetpencolor [0 0 255]
flower end
เมื่อพิมพ์คาว่า garden ที่ช่องป้อนเข้าข้อมูล จะได้ดอกไม้จานวน 3 ดอก 3 สี ดังภาพ
หมายเหตุ ชุดคาสั่งเพิ่มเติม
setxy ค่าบนแกนx ค่าบนแกนy เป็นการกาหนดให้เต่าโลโกเคลื่อนไปอยู่ที่ตาแหน่งพิกัด (x,y) ซึ่งที่จุดกึ่งกลาง
จอภาพค่า x=0 และค่า y=0 เช่น setxy 0 0 เป็นการกาหนดให้เต่าโลโกเคลื่อนไปอยู่ที่พิกัด (0,0)
จากจุดกึ่งกลาง ค่าบนแกน x จะมีค่าเป็น + เมื่อนับไปทางขวามือ และเป็น – เมื่อนับไปทางซ้ายมือ
จากจุดกึ่งกลาง ค่าบนแกน y จะมีค่าเป็น + เมื่อนับขึ้นไปด้านบน และเป็น – เมื่อนับลงมาด้านล่าง
ใบความรู้ 7
เรื่องคาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก้ (เพิ่มเติม2)
คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 2)
คาสั่งเต็ม (คาสั่งย่อ) ความหมาย
setpensize [width height]
กาหนดขนาดของปากกาด้วยขนาดความกว้างและความสูง เช่น
setpensize [1 1]
show pensize แสดงค่าตัวเลขขนาดของปากกา
setfloodcolor [rr gg bb] (setfc)
กาหนดสีเพื่อระบายลงในบริเวณที่ล้อมรอบเต่าโลโก เช่น
setfloodcolor [255 0 0] เป็นการกาหนดสีที่จะระบายเป็นสี
แดง
FILL
ระบายสี(ที่กาหนดจากคาสั่ง setfloodcolor) ในบริเวณที่
ล้อมรอบเต่าโลโก
show floodcolor แสดงค่าตัวเลขของสีพื้นในบริเวณที่กาหนด
setscreencolor [rr gg bb] (setsc)
กาหนดสีแบ็คกราวนด์ หรือสีของแผ่นงานทั้งแผ่น เช่น
setscreencolor [0 255 0] จะได้แบ็คกราวนด์เป็นสีน้าเงิน
show screencolor แสดงค่าตัวเลขของสีแบ็คกราวนด์
label “Hello เขียนข้อความ Hello ในทิศทางที่เต่าโลโกชี้อยู่
label [Hello good morning] เขียนข้อความ Hello good morning
circle ความยาวของรัศมี
เขียนวงกลมตามความยาวของรัศมี แล้วตาแหน่งเต่าโลโกอยู่ที่จุด
ศูนย์กลาง
circle2 ความยาวของรัศมี
เขียนวงกลมตามความยาวของรัศมี แล้วตาแหน่งเต่าโลโกอยู่ที่เส้น
รอบวง
arc มุมที่เป็นองศา ความยาวของรัศมี
เขียนส่วนโค้งของวงกลมตามขนาดมุมและความยาวรัศมี ดัง
ตัวอย่างด้านล่างนี้
ใบความรู้ 8
เรื่องการนาเต่าโลโก้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ
การนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการอย่างรวดเร็ว
เราสามารถนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพได้อย่างรวดเร็ว โดยมองจอภาพเหมือนกับ
กระดาษกราฟที่มีแกนนอน (แกน x) และแกนตั้ง (แกน y) ตั้งฉากกันที่จุด (0,0) กลางจอภาพ ลักษณะดังภาพ
ต่อไปนี้
เมื่อเริ่มต้นใช้งานเต่าโลโกจะอยู่ที่ตาแหน่ง (0,0) ถ้าต้องการนาเต่าโลโกไปยังจุดสี(มีหมายเลข 1-4) ที่มี
พิกัดตามที่กาหนด จะทาได้โดยใช้คาสั่งยกปากกาขึ้น (pu) ก่อน ตามด้วยคาสั่ง setxy แล้วจึงวางปากกาลง
(pd) รวมเป็นชุดคาสั่งดังนี้
จุดหมายเลข พิกัด ชุดคาสั่ง
1 (150,100) pu setxy 150 100 pd
2 (-150,120) pu setxy -150 120 pd
3 (-200,-120) pu setxy -200 -120 pd
4 (100,-100) pu setxy 100 -100 pd
ใบความรู้ 9
เรื่องคาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก้
คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก
เรายังสามารถกาหนดสีที่จะใช้ในคาสั่งข้างต้น ด้วยตัวเลข 0-15 ซึ่งตัวเลขแต่ละตัวจะแทนสีต่าง ๆ ดังตาราง
ต่อไปนี้
สี หมายเลข ค่า RGB คาสั่งกาหนดสีปากกา
Black 0 [0 0 0] SETPC 0
Blue 1 [0 0 255] SETPC 1
Green 2 [0 255 0] SETPC 2
Cyan 3 0 255 255] SETPC 3
Red 4 [255 0 0] SETPC 4
Magenta 5 [255 0 255] SETPC 5
Yellow 6 [255 255 0] SETPC 6
White 7 [255 255 255] SETPC 7
Brown 8 [155 96 59] SETPC 8
Light brown 9 [197 136 18] SETPC 9
Mid-green 10 [100 162 64] SETPC 10
คาสั่งเต็ม คาสั่งลัด ความหมาย
SETPENCOLOR SETPC กาหนดสีของปากกา
SETSCREENCOLOR SETSC กาหนดสีของแบ็คกราวนด์
SETFLOODCOLOR SETFC กาหนดสีที่จะใช้ระบายด้วยคาสั่ง FILL
Blue-green 11 [120 187 187] SETPC 11
Salmon 12 [255 149 119] SETPC 12
Blue-ish 13 [144 113 208] SETPC 13
Orange 14 [255 163 0] SETPC 14
Silver 15 [183 183 183] SETPC 15
ใบความรู้ 10
เรื่องการใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก้
การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร
ในการเขียนโปรแกรมภาษาโลโก เราสามารถกาหนดตัวแปรไว้ที่ชื่อโปรแกรมย่อยโดยใช้เครื่องหมาย
colon ( : ) ตามด้วยชื่อตัวแปร เช่น :side คือตัวแปรชื่อ side หรือ :color หมายถึงตัวแปรชื่อ color
เมื่อเรียกใช้โปรแกรมย่อยนั้นตามด้วยค่าตัวแปร (ตามปกติจะเป็นตัวเลข) จะมีผลทาให้เกิดการส่งผ่านค่าตัว
แปรไปยังโปรแกรมย่อยนั้น และโปรแกรมย่อยจะนาค่าตัวแปรไปคานวณและแสดงผลอีกทีหนึ่ง
ประโยชน์ที่เห็นได้ง่าย ๆ จากการกาหนดตัวแปรไว้ที่โปรแกรมย่อย ทาให้เราไม่ต้องเขียนโปรแกรมย่อยซ้า ๆ
กัน เช่นการสร้างภาพดอกไม้ 3 ดอก 3 สี 3 ขนาด และวางไว้ที่ตาแหน่งต่าง ๆ กัน สามารถทาได้ง่ายขึ้น โดย
สร้างโปรแกรมย่อยชื่อ flower เพียง 1 โปรแกรมย่อย และกาหนดตัวแปรดังนี้คือ
flower : side : color : x : y
ตัวแปร : side หมายถึงด้านของรูปสี่เหลี่ยมที่จะหมุนให้เกิดดอกไม้
ตัวแปร : color หมายถึงสีของดอกไม้
ตัวแปร : x หมายถึงพิกัด x
ตัวแปร : y หมายถึงพิกัด y
เมื่อต้องการสร้างภาพดอกไม้ 1 ดอก ก็ส่งค่าตัวแปร 4 ตัวไปยังโปรแกรมย่อย
flower เช่นflower 35 4 -10 0 (หมายถึงกาหนดค่าตัวแปร side=35 , color=4 , x=-10 และ y=0)
จะได้ดอกไม้ที่มีขนาด 35 (ความยาวด้านของสี่เหลี่ยม) สีแดง (สีหมายเลข 4) ณ พิกัด (-10,0) ทันที
ใบความรู้ 11
เรื่องการใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ
เรื่องการใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ
การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบรูปทรงหรือสิ่งของ ทาได้โดยการวาดรูปทรงหรือสิ่งของนั้นลงบน
กระดาษกราฟ เช่นถ้าต้องการออกแบบบ้านสัก 1 หลัง สามารถวาดรูปบ้านลงบนกระดาษกราฟ และระบายสี
ในส่วนต่าง ๆ ดังภาพต่อไปนี้
to front end
to door end
to roof end
to wall end
to windows end
to
house cs door front roof windows wall end
ในการเขียนโปรแกรมแต่ละส่วนอาจใช้คาสั่ง setxy เพื่อช่วยในการลากเส้นจากค่าพิกัดที่อ่านได้จาก
กระดาษกราฟ ไปทีละพิกัดจนกลับมายังจุดเริ่มต้น แล้วใช้คาสั่งระบายสีในส่วนที่กาหนดอีกครั้งหนึ่ง เช่น ส่วน
ของประตูอาจใช้คาสั่งดังนี้
to door setpc 0 กาหนดสีปากกาเป็นสี 0 คือสีดา pu setxy -100 0 pd ยกปากกา
ขึ้น นาเต่าโลโกไปยังพิกัด (-100,0) แล้วจึงวางปากกาลง setxy -100 80 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด
(-100,80) setxy -60 80 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-60,80)setxy -60 0 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด
(-60,0) setxy -100 0 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-100,0) pu setxy -80 40 ยกปากกาขึ้น
นาเต่าโลโกเข้าไปอยู่ภายในรูปประตู ที่พิกัด 80,40) setfc 2 fill กาหนดสีที่จะระบายเป็นสี 2
คือสีเขียว แล้วสั่งระบายสี end
ใบความรู้ 12
เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหว
เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ภาษาโลโกมีคุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่ง ก็คือสามารถเขียนโปรแกรมเรียกตัวเองที่เรียกว่า Recursion ได้
ด้วยคุณสมบัตินี้ ทาให้เราสามารถนามาเขียนโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว ได้อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างดัง
โปรแกรมหมายเลข 1
โปรแกรมหมายเลข 1
จะสังเกตเห็นว่าในโปรแกรมย่อยชื่อ TRI_GO จะมีคาสั่งในบรรทัดสุดท้ายเรียกใช้โปรแกรมย่อยชื่อ
TRI_GO ซึ่งก็คือเรียกใช้ตัวเอง (วิธีการนี้มีชื่อเรียกว่า Recursion) ลองดูอีกสักโปรแกรมหนึ่ง คราวนี้จะเป็นรูป
ปลา 1 ตัว สีแดง เคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือ ชุดคาสั่งทั้งหมดดังโปรแกรมหมายเลข 2
โปรแกรมหมายเลข 2
ใบงานที่ 1
ความเป็นมาของโปรแกรมโลโก้
คาชี้แจง
ให้ศึกษาใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมาของภาษาโลโก แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ในใบงาน
1. ใครเป็นผู้พัฒนาภาษาโลโก และพัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. อะไร
2. คาว่า “โลโก” (Logo) หมายถึงอะไร และใช้แทนด้วยสัญลักษณ์อะไร
3. ใครเป็นผู้พัฒนาภาษา “โลโกเบิร์กเลย์” และโปรแกรมที่ใช้ในระบบปฏิบัติการวินโดว์มีชื่อเรียกว่าโปรแกรม
อะไร
4. ชุดคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรมโลโก ใช้ภาษาอะไร
5. ทาไมโปรแกรมโลโกจึงสามารถสร้างเส้นลวดลายต่าง ๆ ได้
6. ประเทศใดบ้างที่มีการนาโปรแกรมโลโกไปใช้ในการเรียนการสอนกันอย่างแพร่หลาย
คาตอบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อ……………………………………………..…….ชั้น………...เลขที่…………………..
ใบงานที่ 2
ความเป็นมาภาษาของโปรแกรมโลโก้
คาแนะนา
ให้ศึกษาใบความรู้เรื่องภาษาคอมพิวเตอร์ แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ในใบงาน
1. จงให้ความหมายของคาว่า ซอฟต์แวร์
2. ภาษาคอมพิวเตอร์คืออะไร
3. เราสามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
4. การที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจภาษาระดับสูง จาเป็นต้องผ่านกระบวนการแปลภาษา ซึ่งมี 2
ลักษณะ คืออะไรบ้าง
5. ตัวแปลภาษาแต่ละลักษณะในข้อ 4 มีการทางานต่างกันอย่างไร
6. จงบอกชื่อภาษาคอมพิวเตอร์มา 3 ภาษา
คาตอบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อ……………………………………………..…….ชั้น………...เลขที่…………………..
ใบงานที่ 3
เรื่องหน้าต่างโปรแกรมโลโกและคาสั่งเบื้องต้น
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง “หน้าต่างโปรแกรมโลโก” แล้วจดชื่อส่วนต่าง ๆ ของหน้าต่าง ไว้ในสมุดจด
2. ศึกษาใบความรู้เรื่อง “คาสั่งเบื้องต้นในภาษาโลโก” แล้วจดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด
3. ทดลองปฏิบัติ การใช้โปรแกรมโลโกช่วยสร้างรูปทรงเรขาคณิต ได้แก่รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้า
เหลี่ยม และรูปหกเหลี่ยม
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1
อย่าง โดยเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 5
คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม)
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม)" แล้วจดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. ใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่
ออกแบบไว้
2. ถ้าไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่ออกแบบไว้ ให้ปรับแก้ที่ชุดคาสั่งจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
3. ทดลองใช้คาสั่งเพิ่มเติมที่เรียนในครั้งนี้
4. ปรับปรุงชุดคาสั่งเดิมให้กระทัดรัด สวยงาม แล้วลอกชุดคาสั่งใหม่ทั้งหมดส่งให้ครูตรวจ
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1
อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุด
จด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 6
การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง
ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo แล้วใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้า
ข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่ออกแบบไว้
2. บันทึกใน My Document ด้วยชื่อ job1-ห้อง-เลขที่ เช่นนักเรียนห้อง ม.2/3 เลขที่ 8 จะใช้
ชื่อไฟล์เป็น job1-203-08
3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
4. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล จน
ครบทั้ง 3 โปรแกรมย่อย
5. เรียกดูผลการทางานโดยพิมพ์คาว่า garden ในช่องป้อนเข้าข้อมูล
6. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า garden-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนห้อง ม.1/5 เลขที่ 12 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น garden-105-12
7. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ ไว้ในกระดาษกราฟ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ
ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่ง
ทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 7
"คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม2)"
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม2)" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่งทั้งหมด
ไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo แล้วใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้า
ข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่ออกแบบไว้
2. บันทึกใน My Document ด้วยชื่อ job1-ห้อง-เลขที่ เช่นนักเรียนห้อง ม.2/3 เลขที่ 8 จะใช้
ชื่อไฟล์เป็น job1-203-08
3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
4. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อ
สังเกตผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5. ออกแบบงานตามที่อาจารย์ประจาวิชากาหนด
6. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job2-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนห้อง ม.1/5 เลขที่ 12 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job2-105-12
7. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ ไว้ในกระดาษกราฟ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ
ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่ง
ทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 8
การนาเต่าโลโก้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการ" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง
ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อ
สังเกตผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
2. ออกแบบงานตามที่อาจารย์ประจาวิชากาหนด
3. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job3-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนชั้น ม.1/9 เลขที่ 32 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job3-109-32
4. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทิวทัศน์ ที่มีภาพหลาย ๆ อย่างประกอบกัน กาหนดสีพื้นหลัง และระบายสี
ส่วนของภาพ โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุด
จด นามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 9
คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก้
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง
ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาช่วยในการออกแบบงาน ให้ได้ผลงาน
ลักษณะดังภาพต่อไปนี้
2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job4-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนชั้น ม.1/3 เลขที่ 15 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job4-103-15
3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทิวทัศน์ ที่มีภาพหลาย ๆ อย่างประกอบกัน กาหนดสีพื้นหลัง และระบายสี
ส่วนของภาพ โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุด
จด นามาส่งในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่10
การใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก" แล้วจดสาระสาคัญไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ สร้างผลงานให้ได้ลักษณะดังภาพต่อไปนี้
2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job5-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนชั้น ม.2/5 เลขที่ 42 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job5-205-42
3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของที่มีรูปร่างเหมือนกัน แต่ขนาดต่างกัน สีต่างกัน และวางไว้ ณ ตาแหน่งที่
ต่างกัน อย่างน้อย 3 รูป โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย
ที่มีการใช้ตัวแปร ไว้ในสมุดจด นามาทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่11
การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ" แล้วจดสาระสาคัญไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ สร้างผลงานให้ได้ลักษณะดังภาพต่อไปนี้
2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job6-ห้อง-เลขที่ เช่น
นักเรียนชั้น ม.2/7 เลขที่ 27 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job6-207-27
3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อยไว้
ในสมุดจด นามาทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป
ใบงานที่ 12
คาแนะนา
จงใช้โปรแกรมโลโกเขียนโปรแกรมในลักษณะ Program mode เพื่อสร้างภาพ จากภาพที่ออกแบบบน
กระดาษกราฟต่อไปนี้
ตัวอย่าง คาสั่งสาหรับสร้างแท่งสีฟ้า มีดังนี้
to top
pu setxy 0 138 pd ; ชุดคาสั่งสร้างส่วนโค้งด้านบน
rt 90
arc 180 20
pu setxy -20 140 pd ; ชุดคาสั่งสร้างกรอบสี่เหลี่ยม
setxy -20 20
setxy 20 20
setxy 20 140
pu setxy 0 120 pd ; ชุดคาสั่งระบายสีเป็นสีฟ้า
setfc 3 fill
end
ใบงานที่ 13
คาชี้แจง
1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การสร้างภาพเคลื่อนไหว" แล้วจดชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด
2. ทดลองปฏิบัติ
1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ทดลองสร้างแล้วดูผลลัพธ์ ทีละโปรแกรม
2. รอครูสั่งให้แก้ไขโปรแกรม ให้ได้ผลลัพธ์แตกต่างออกไป
การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของหรือรูปทรง ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ แล้วเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะ
โปรแกรมย่อยไว้ในสมุดจด นามาส่งและทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 

What's hot (20)

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
มหาชาติ
มหาชาติมหาชาติ
มหาชาติ
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 

Viewers also liked

Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆLesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆErrorrrrr
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรมLesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกErrorrrrr
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1kao20082543
 
Limitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDLimitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDKrishnaSoc
 
Dinah slide1
Dinah slide1Dinah slide1
Dinah slide1dat298
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพErrorrrrr
 
Msw logo presentacion
Msw logo presentacionMsw logo presentacion
Msw logo presentacionEx-Plotation
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)Chainarong Maharak
 
4.programming
4.programming4.programming
4.programmingKru Botun
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบคุณครูสุนันทา เวียงใต้
 
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมLesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมErrorrrrr
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีSutthida0802
 

Viewers also liked (20)

Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆLesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
 
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรมLesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม
Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
 
Robot form University of Phayao
Robot form University of PhayaoRobot form University of Phayao
Robot form University of Phayao
 
หุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะหุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะ
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
Coures Outline
Coures OutlineCoures Outline
Coures Outline
 
Limitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDLimitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPD
 
Dinah slide1
Dinah slide1Dinah slide1
Dinah slide1
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 
Msw logo presentacion
Msw logo presentacionMsw logo presentacion
Msw logo presentacion
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
4.programming
4.programming4.programming
4.programming
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
 
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมLesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี
 
เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
Msw logo
Msw logoMsw logo
Msw logo
 

Logo

  • 1. ใบความรู้ที่1 ความเป็นมาของภาษาโลโก้ ภาษาโลโกและการสร้างชิ้นงานน ความเป็นมาของภาษาโลโกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2513 เมื่อกลุ่มนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ นาโดย เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ทาการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ คล้ายกับของ เกย์ วอลเทอร์ เพื่อให้เด็ก ๆ สามารถเขียนโปรแกรม คาสั่งที่ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย สั่งให้โปรแกรมทางานตามที่ต้องการ พวกเขาจึงทาการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่ เรียกว่าภาษา “โลโก” เป็นภาษาที่ง่ายสาหรับเด็ก ช่วยให้เด็กสามารถเขียนคาสั่งให้หุ่นยนต์เต่า (Logo) เคลื่อนที่ไปมาและ เปลี่ยนทิศทางตามที่ต้องการ ภาษาโลโกจึงเป็นทางเลือกใหม่ สาหรับเด็กในการฝึกทักษะทางภาษาคอมพิวเตอร์ และ สามารถสร้างงานจากจินตนาการ โดยอาศัยความเข้าใจพื้นฐานของวิชาคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มีราคาถูก จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูปให้สามารถจาลองหุ่นยนต์เต่า อิเล็กทรอนิกส์ เป็นภาพกราฟิกเต่า เคลื่อนที่ไปมาบนจอภาพคอมพิวเตอร์ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของภาพกราฟิก เต่า มาเป็นภาพสัญลักษณ์สามเหลี่ยม ภาษาโลโกบนระบบปฏิบัติการวินโดว์ ภาษาโลโกได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 และเมื่อต้นปี พ.ศ.2523 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการ พัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ นาทีมโดย เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ออกแบบโปรแกรมสร้างภาพกราฟิกที่มีประสิทธิภาพสูงและใช้งาน ง่าย เรียกว่า ภาษาโลโก คาว่า “โลโก” หมายถึงหุ่นยนต์เต่า สามารถเคลื่อนที่ไปในทิศทางต่าง ๆ ได้โดยการควบคุมจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะ ที่เคลื่อนที่จะเขียนรอยทางเดินไปตามทิศทางนั้น ๆ ด้วย ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้คาสั่งภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย ๆ เช่น เมื่อต้องการให้เต่าเคลื่อนที่ไปด้านหน้าจะใช้คาสั่งว่า FORWARD (ซึ่งแปลว่า เดินหน้า) หรือ ต้องการให้ย้อนกลับจะใช้ คาสั่งว่า REVERSE (ซึ่งแปลว่า ย้อนกลับ) และคาสั่งให้เลี้ยวขวาหรือเลี้ยวซ้ายจะใช้ว่า RIGHT หรือ LEFT เป็นต้น ภาษาโลโกมีจุดเริ่มต้นการพัฒนาโปรแกรมจาก ไบรอัน ฮาร์เวย์ และคณะทางานที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์–เบิร์ กเลย์ ซึ่งเรียกโปรแกรมนี้ว่า “โลโกเบิร์กเลย์” หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถใช้งานภายใต้ ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน จากระบบยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบดอส (DOS) จนถึงปัจจุบัน ยอร์จ มิลส์ ได้พัฒนาให้ สามารถทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ได้ เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “เอ็มเอสดับบลิวโลโก”(MSWLogo) MSWLogo เป็นโปรแกรมรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากโปรแกรมโลโกที่มีใช้ทั้งหมดในขณะนี้ เหมาะสาหรับใช้ในการเรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น และได้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับโปรแกรมนี้อย่างแพร่หลายในประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก การใช้งานสะดวก ไม่ยุ่งยาก เหมือนโปรแกรมอื่นๆ ที่มีปุ่ม เลือกและสัญรูป ต่างๆ เป็นจานวนมาก โปรแกรมนี้จะกระตุ้นให้นักเรียนมีความกล้าในการสร้างสรรค์งานกราฟิกรูปแบบ ต่าง ๆ จากจินตนาการของตนเองได้ง่าย ช่วยให้มีพื้นฐานและความถนัดเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ความ แพร่หลายของโปรแกรม MSWLogo ที่นาไปสอนในโรงเรียนต่าง ๆ ทาให้มีการสนับสนุนทางด้านวิชาการและตัวอย่าง โปรแกรมที่น่าสนใจเป็นจานวนมาก โดยสามารถสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตได้โดยง่าย
  • 2. ใบความรู้ที่ 2 หน้าต่างโปรแกรมโลโก้ เมื่อเข้าสู่โปรแกรมโลโกจะเห็นส่วนประกอบ 3 ส่วนรวมกันในหน้าต่างโปรแกรมโลโกดังนี้ <—ส่วนที่ 1 <—ส่วนที่ 2 <—ส่วนที่ 3 ส่วนที่ 1 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงผล (Display window) เริ่มต้นจะมีภาพเต่าโลโกเป็นรูปสามเหลี่ยม ชี้ไป ทางทิศเหนือ(คือด้านบนของจอภาพ) และเมื่อมีการสั่งให้เต่าทางาน จะแสดงรอยทางเดินที่เต่าเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางที่กาหนด ด้วยความยาวขนาดต่าง ๆ ส่วนที่ 2 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงคาสั่ง (Commander window) คาสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทางานเมื่อพิมพ์ลง ไปแล้วจะปรากฏให้เห็นในหน้าต่างนี้ คาสั่งที่พิมพ์เข้าไปก่อนจะอยู่บรรทัดบน ส่วนคาสั่งที่พิมพ์ตามเข้าไปจะ อยู่บรรทัดล่าง คาสั่งเหล่านี้สามารถเรียกกลับมาใช้งานได้อีก ส่วนที่ 3 มีชื่อเรียกว่าช่องป้อนเข้าข้อมูล (Input box) เป็นส่วนหนึ่งของหน้าต่างแสดงคาสั่ง เมื่อคลิกที่ช่องนี้ จะปรากฏเครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) ทาให้สามารถพิมพ์คาสั่งลงไปได้ครั้งละ 1 บรรทัด เมื่อพิมพ์เสร็จ แล้วให้กดแป้น Enter เสมอ คาสั่งที่พิมพ์ลงไปจะไปปรากฏในหน้าต่างแสดงคาสั่ง (ส่วนที่ 2) และโปรแกรมจะ ทาการประมวลผล ในกรณีที่เป็นคาสั่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่จะทาให้เต่าในหน้าต่างที่ 1 เกิดการเคลื่อนไหวด้วย แต่ถ้าคาสั่งมีข้อผิดพลาดก็จะปรากฏข้อความที่เต่าไม่เข้าใจ (I don’t know how to …) ในหน้าต่างที่ 2 นี้ ขณะที่อยู่ในช่องป้อนเข้าข้อมูล ถ้ากดแป้นลูกศรขึ้น เคอร์เซอร์จะเข้าไปอยู่ในหน้าต่างแสดงคาสั่งด้านบน จึง สามารถเลือกคาสั่งเดิมให้ทางานได้อีก (โดยคลิกที่ปุ่ม Execute)
  • 3. ใบงานที่3 คาสั่งเบื้องต้นภาษาโลโก้ คาสั่งเบื้องต้นภาษาโลโก้ คาสั่งเต็ม คาสั่งย่อ ความหมาย FORWARD FD เดินตรงไปข้างหน้า (ตามระยะที่กาหนด) BACK BK ถอยหลัง (ตามระยะที่กาหนด) RIGHT RT เลี้ยวขวา (ตามมุมองศาที่กาหนด) LEFT LT เลี้ยวซ้าย (ตามมุมองศาที่กาหนด) Home – สั่งให้เต่ากลับไปยังตาแหน่งเริ่มต้น Clear Screen CS ลบข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏในหน้าต่างแสดงผล Hide Turtle HT ซ่อนภาพกราฟิกเต่า Show Turtle ST แสดงภาพกราฟิกเต่า
  • 4. ใบงานที่ 4 คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 1) คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 1) คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เรื่องสี) คาสั่งเต็ม คาสั่งย่อ ความหมาย REPEAT n [ .. ] ทาคาสั่งในวงเล็บ [ .. ] ซ้า n รอบ PEN UP PU ยกปากกาขึ้น (เดินไปจะไม่มีรอย) PEN DOWN PD วางปากกาลง (เดินไปจะปรากฏรอย) SETPENCOLOR [R G B] SETPC กาหนดสีปากกาเป็นสีตามค่าในวงเล็บ SETPENCOLOR n SETPC กาหนดสีปากกาตามค่าตัวเลข n สี คาสั่งในภาษาโลโก ดา SETPC [0 0 0] ขาว SETPC [255 255 255] แดง SETPC [255 0 0] เขียว SETPC [0 255 0] น้าเงิน SETPC [0 0 255] ฟ้า SETPC [0 255 255] ชมพู SETPC [255 0 255] เหลือง SETPC [255 255 0]
  • 5. สี หมายเลข ค่า RGB คาสั่งในภาษาโลโก Black 0 [0 0 0] SETPC 0 Blue 1 [0 0 255] SETPC 1 Green 2 [0 255 0] SETPC 2 Cyan 3 0 255 255] SETPC 3 Red 4 [255 0 0] SETPC 4 Magenta 5 [255 0 255] SETPC 5 Yellow 6 [255 255 0] SETPC 6 White 7 [255 255 255] SETPC 7 Brown 8 [155 96 59] SETPC 8 Light brown 9 [197 136 18] SETPC 9 Mid-green 10 [100 162 64] SETPC 10 Blue-green 11 [120 187 187] SETPC 11 Salmon 12 [255 149 119] SETPC 12 Blue-ish 13 [144 113 208] SETPC 13 Orange 14 [255 163 0] SETPC 14 Silver 15 [183 183 183] SETPC 15
  • 6. ใบความรู้ที่ 5 การเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ Program Mode การเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ Program Mode คาสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทางานดังที่ได้ทดลองปฏิบัติในใบงานที่ 3-4 นั้น เรียกว่าเป็นการทางานใน ลักษณะ Command Mode กล่าวคือเต่าโลโกจะทาตามคาสั่งทันที่ที่กดแป้น Enter วิธีนี้สะดวกและได้ผล รวดเร็ว แต่จะเห็นว่าเมื่อเกิดความผิดพลาดจะแก้ไขได้ยาก อาจต้องใช้คาสั่งลบจอภาพ (Clear Screen – CS) ซึ่งทาให้ภาพถูกลบไปทั้งหมด ต้องเริ่มต้นใหม่ ยังมีอีกวิธีหนึ่งในการสั่งให้เต่าโลโกทางาน แต่คราวนี้จะต้องพิมพ์ชุดคาสั่งทั้งหมดลงไปก่อน และเมื่อเรียกใช้ ส่วนหนึ่งในชุดคาสั่งนี้ เต่าโลโกจะสร้างภาพทั้งหมดให้ทันที วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการทางานใน ลักษณะ Program Mode ตัวอย่างเช่น ในการสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 100 หน่วย จะใช้ คาสั่งใน comand mode ดังนี้ REPEAT 4 [FD 100 RT 90] แต่เมื่ออยู่ใน program mode จะเพิ่มคาสั่งดังนี้ TO SQUAREREPEAT 4 [FD 100 RT 90]END และถ้าต้องการให้โปรแกรมนี้ทางานก็เพียงแต่พิมพ์คาว่า SQUARE ที่ช่องป้อนเข้า ข้อมูลเท่านั้น ก็จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทันทีจะสังเกตเห็นว่าชุดคาสั่งในลักษณะ program mode สามารถทาได้ง่าย ๆ เพียงเพิ่มคาสั่ง TO ตามด้วยชื่อรูปที่จะสร้าง (ในที่นี้คือ SQUARE = รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ไว้ที่บรรทัดแรก ตามด้วยชุดคาสั่งในการ สร้างรูป และปิดท้ายด้วยคาสั่ง ENDลองดูอีกคาสั่งหนึ่ง เช่นการสร้างภาพดอกไม้ (FLOWER) จะมีชุดคาสั่งดังนี้ TO FLOWERFD 100SETPENCOLOR [255 0 0]REPEAT 36 [RT 10 REPEAT 4 [FD 50 RT 90]]END หลังจากที่พิมพ์ชุดคาสั่งข้างต้นลงไปทั้งหมดแล้ว เมื่อพิมพ์ชื่อ FLOWER ที่ช่อง ป้อนเข้าข้อมูลและกดแป้น Enter จะได้ภาพดอกไม้สีแดง 1 ดอกที่กลางจอภาพทันที ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของการเขียนชุดคาสั่งในลักษณะ program mode ก็คือ สามารถ บันทึกชุดคาสั่งเหล่านี้ไว้ในฮาร์ดดิสก์หรือแผ่นดิสก์ได้ โดยการใช้คาสั่ง File –> Save หรือ File –> SaveAs
  • 7. ใบความรู้ที่ 6 การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย ในการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างงานที่มีความซับซ้อน ควรแบ่งการเขียนโปรแกรมออกเป็นส่วน ๆ เพื่อให้ สะดวกในการปรับปรุงแก้ไขในภายหลัง โปรแกรมแต่ละส่วนเรียกว่าโปรแกรมย่อย (Procedure)โปรแกรม ย่อยสามารถนามาใช้ในโปรแกรมหลักได้ โดยไม่ต้องพิมพ์คาสั่งทั้งหมดซ้าอีก เพียงพิมพ์ชื่อโปรแกรมย่อย เท่านั้นตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงวิธีการเขียนโปรแกรมย่อย เพื่อให้ได้ภาพสวนดอกไม้ โดยเขียนโปรแกรม ย่อยสร้างรูปสี่เหลี่ยม (Square) ก่อน แล้วจึงเขียนโปรแกรมย่อยสร้างรูปดอกไม้ (Flower) หลังจากนั้นจึง เขียนโปรแกรมสร้างสวนดอกไม้ (Garden) to squarerepeat 4 [fd 40 rt 90]end to flowerfd 100repeat 36 [rt 10 square]setpencolor [0 0 0]bk 100end to gardenpu setxy 0 0 pdsetpencolor [255 0 0] flowerpu setxy 150 0 pdsetpencolor [0 255 0] flower pu setxy -150 0 pdsetpencolor [0 0 255] flower end เมื่อพิมพ์คาว่า garden ที่ช่องป้อนเข้าข้อมูล จะได้ดอกไม้จานวน 3 ดอก 3 สี ดังภาพ หมายเหตุ ชุดคาสั่งเพิ่มเติม setxy ค่าบนแกนx ค่าบนแกนy เป็นการกาหนดให้เต่าโลโกเคลื่อนไปอยู่ที่ตาแหน่งพิกัด (x,y) ซึ่งที่จุดกึ่งกลาง จอภาพค่า x=0 และค่า y=0 เช่น setxy 0 0 เป็นการกาหนดให้เต่าโลโกเคลื่อนไปอยู่ที่พิกัด (0,0) จากจุดกึ่งกลาง ค่าบนแกน x จะมีค่าเป็น + เมื่อนับไปทางขวามือ และเป็น – เมื่อนับไปทางซ้ายมือ จากจุดกึ่งกลาง ค่าบนแกน y จะมีค่าเป็น + เมื่อนับขึ้นไปด้านบน และเป็น – เมื่อนับลงมาด้านล่าง
  • 8. ใบความรู้ 7 เรื่องคาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก้ (เพิ่มเติม2) คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม 2) คาสั่งเต็ม (คาสั่งย่อ) ความหมาย setpensize [width height] กาหนดขนาดของปากกาด้วยขนาดความกว้างและความสูง เช่น setpensize [1 1] show pensize แสดงค่าตัวเลขขนาดของปากกา setfloodcolor [rr gg bb] (setfc) กาหนดสีเพื่อระบายลงในบริเวณที่ล้อมรอบเต่าโลโก เช่น setfloodcolor [255 0 0] เป็นการกาหนดสีที่จะระบายเป็นสี แดง FILL ระบายสี(ที่กาหนดจากคาสั่ง setfloodcolor) ในบริเวณที่ ล้อมรอบเต่าโลโก show floodcolor แสดงค่าตัวเลขของสีพื้นในบริเวณที่กาหนด setscreencolor [rr gg bb] (setsc) กาหนดสีแบ็คกราวนด์ หรือสีของแผ่นงานทั้งแผ่น เช่น setscreencolor [0 255 0] จะได้แบ็คกราวนด์เป็นสีน้าเงิน show screencolor แสดงค่าตัวเลขของสีแบ็คกราวนด์ label “Hello เขียนข้อความ Hello ในทิศทางที่เต่าโลโกชี้อยู่ label [Hello good morning] เขียนข้อความ Hello good morning circle ความยาวของรัศมี เขียนวงกลมตามความยาวของรัศมี แล้วตาแหน่งเต่าโลโกอยู่ที่จุด ศูนย์กลาง circle2 ความยาวของรัศมี เขียนวงกลมตามความยาวของรัศมี แล้วตาแหน่งเต่าโลโกอยู่ที่เส้น รอบวง arc มุมที่เป็นองศา ความยาวของรัศมี เขียนส่วนโค้งของวงกลมตามขนาดมุมและความยาวรัศมี ดัง ตัวอย่างด้านล่างนี้
  • 9. ใบความรู้ 8 เรื่องการนาเต่าโลโก้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ การนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการอย่างรวดเร็ว เราสามารถนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพได้อย่างรวดเร็ว โดยมองจอภาพเหมือนกับ กระดาษกราฟที่มีแกนนอน (แกน x) และแกนตั้ง (แกน y) ตั้งฉากกันที่จุด (0,0) กลางจอภาพ ลักษณะดังภาพ ต่อไปนี้ เมื่อเริ่มต้นใช้งานเต่าโลโกจะอยู่ที่ตาแหน่ง (0,0) ถ้าต้องการนาเต่าโลโกไปยังจุดสี(มีหมายเลข 1-4) ที่มี พิกัดตามที่กาหนด จะทาได้โดยใช้คาสั่งยกปากกาขึ้น (pu) ก่อน ตามด้วยคาสั่ง setxy แล้วจึงวางปากกาลง (pd) รวมเป็นชุดคาสั่งดังนี้ จุดหมายเลข พิกัด ชุดคาสั่ง 1 (150,100) pu setxy 150 100 pd 2 (-150,120) pu setxy -150 120 pd 3 (-200,-120) pu setxy -200 -120 pd 4 (100,-100) pu setxy 100 -100 pd
  • 10. ใบความรู้ 9 เรื่องคาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก้ คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก เรายังสามารถกาหนดสีที่จะใช้ในคาสั่งข้างต้น ด้วยตัวเลข 0-15 ซึ่งตัวเลขแต่ละตัวจะแทนสีต่าง ๆ ดังตาราง ต่อไปนี้ สี หมายเลข ค่า RGB คาสั่งกาหนดสีปากกา Black 0 [0 0 0] SETPC 0 Blue 1 [0 0 255] SETPC 1 Green 2 [0 255 0] SETPC 2 Cyan 3 0 255 255] SETPC 3 Red 4 [255 0 0] SETPC 4 Magenta 5 [255 0 255] SETPC 5 Yellow 6 [255 255 0] SETPC 6 White 7 [255 255 255] SETPC 7 Brown 8 [155 96 59] SETPC 8 Light brown 9 [197 136 18] SETPC 9 Mid-green 10 [100 162 64] SETPC 10 คาสั่งเต็ม คาสั่งลัด ความหมาย SETPENCOLOR SETPC กาหนดสีของปากกา SETSCREENCOLOR SETSC กาหนดสีของแบ็คกราวนด์ SETFLOODCOLOR SETFC กาหนดสีที่จะใช้ระบายด้วยคาสั่ง FILL
  • 11. Blue-green 11 [120 187 187] SETPC 11 Salmon 12 [255 149 119] SETPC 12 Blue-ish 13 [144 113 208] SETPC 13 Orange 14 [255 163 0] SETPC 14 Silver 15 [183 183 183] SETPC 15
  • 12. ใบความรู้ 10 เรื่องการใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก้ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร ในการเขียนโปรแกรมภาษาโลโก เราสามารถกาหนดตัวแปรไว้ที่ชื่อโปรแกรมย่อยโดยใช้เครื่องหมาย colon ( : ) ตามด้วยชื่อตัวแปร เช่น :side คือตัวแปรชื่อ side หรือ :color หมายถึงตัวแปรชื่อ color เมื่อเรียกใช้โปรแกรมย่อยนั้นตามด้วยค่าตัวแปร (ตามปกติจะเป็นตัวเลข) จะมีผลทาให้เกิดการส่งผ่านค่าตัว แปรไปยังโปรแกรมย่อยนั้น และโปรแกรมย่อยจะนาค่าตัวแปรไปคานวณและแสดงผลอีกทีหนึ่ง ประโยชน์ที่เห็นได้ง่าย ๆ จากการกาหนดตัวแปรไว้ที่โปรแกรมย่อย ทาให้เราไม่ต้องเขียนโปรแกรมย่อยซ้า ๆ กัน เช่นการสร้างภาพดอกไม้ 3 ดอก 3 สี 3 ขนาด และวางไว้ที่ตาแหน่งต่าง ๆ กัน สามารถทาได้ง่ายขึ้น โดย สร้างโปรแกรมย่อยชื่อ flower เพียง 1 โปรแกรมย่อย และกาหนดตัวแปรดังนี้คือ flower : side : color : x : y ตัวแปร : side หมายถึงด้านของรูปสี่เหลี่ยมที่จะหมุนให้เกิดดอกไม้ ตัวแปร : color หมายถึงสีของดอกไม้ ตัวแปร : x หมายถึงพิกัด x ตัวแปร : y หมายถึงพิกัด y เมื่อต้องการสร้างภาพดอกไม้ 1 ดอก ก็ส่งค่าตัวแปร 4 ตัวไปยังโปรแกรมย่อย flower เช่นflower 35 4 -10 0 (หมายถึงกาหนดค่าตัวแปร side=35 , color=4 , x=-10 และ y=0) จะได้ดอกไม้ที่มีขนาด 35 (ความยาวด้านของสี่เหลี่ยม) สีแดง (สีหมายเลข 4) ณ พิกัด (-10,0) ทันที
  • 13. ใบความรู้ 11 เรื่องการใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ เรื่องการใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบรูปทรงหรือสิ่งของ ทาได้โดยการวาดรูปทรงหรือสิ่งของนั้นลงบน กระดาษกราฟ เช่นถ้าต้องการออกแบบบ้านสัก 1 หลัง สามารถวาดรูปบ้านลงบนกระดาษกราฟ และระบายสี ในส่วนต่าง ๆ ดังภาพต่อไปนี้ to front end to door end to roof end to wall end to windows end to house cs door front roof windows wall end ในการเขียนโปรแกรมแต่ละส่วนอาจใช้คาสั่ง setxy เพื่อช่วยในการลากเส้นจากค่าพิกัดที่อ่านได้จาก กระดาษกราฟ ไปทีละพิกัดจนกลับมายังจุดเริ่มต้น แล้วใช้คาสั่งระบายสีในส่วนที่กาหนดอีกครั้งหนึ่ง เช่น ส่วน ของประตูอาจใช้คาสั่งดังนี้ to door setpc 0 กาหนดสีปากกาเป็นสี 0 คือสีดา pu setxy -100 0 pd ยกปากกา ขึ้น นาเต่าโลโกไปยังพิกัด (-100,0) แล้วจึงวางปากกาลง setxy -100 80 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-100,80) setxy -60 80 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-60,80)setxy -60 0 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-60,0) setxy -100 0 ลากเส้นต่อไปยังพิกัด (-100,0) pu setxy -80 40 ยกปากกาขึ้น นาเต่าโลโกเข้าไปอยู่ภายในรูปประตู ที่พิกัด 80,40) setfc 2 fill กาหนดสีที่จะระบายเป็นสี 2 คือสีเขียว แล้วสั่งระบายสี end
  • 14. ใบความรู้ 12 เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหว เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหว ภาษาโลโกมีคุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่ง ก็คือสามารถเขียนโปรแกรมเรียกตัวเองที่เรียกว่า Recursion ได้ ด้วยคุณสมบัตินี้ ทาให้เราสามารถนามาเขียนโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว ได้อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างดัง โปรแกรมหมายเลข 1 โปรแกรมหมายเลข 1 จะสังเกตเห็นว่าในโปรแกรมย่อยชื่อ TRI_GO จะมีคาสั่งในบรรทัดสุดท้ายเรียกใช้โปรแกรมย่อยชื่อ TRI_GO ซึ่งก็คือเรียกใช้ตัวเอง (วิธีการนี้มีชื่อเรียกว่า Recursion) ลองดูอีกสักโปรแกรมหนึ่ง คราวนี้จะเป็นรูป ปลา 1 ตัว สีแดง เคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือ ชุดคาสั่งทั้งหมดดังโปรแกรมหมายเลข 2 โปรแกรมหมายเลข 2
  • 15. ใบงานที่ 1 ความเป็นมาของโปรแกรมโลโก้ คาชี้แจง ให้ศึกษาใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมาของภาษาโลโก แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ในใบงาน 1. ใครเป็นผู้พัฒนาภาษาโลโก และพัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. อะไร 2. คาว่า “โลโก” (Logo) หมายถึงอะไร และใช้แทนด้วยสัญลักษณ์อะไร 3. ใครเป็นผู้พัฒนาภาษา “โลโกเบิร์กเลย์” และโปรแกรมที่ใช้ในระบบปฏิบัติการวินโดว์มีชื่อเรียกว่าโปรแกรม อะไร 4. ชุดคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรมโลโก ใช้ภาษาอะไร 5. ทาไมโปรแกรมโลโกจึงสามารถสร้างเส้นลวดลายต่าง ๆ ได้ 6. ประเทศใดบ้างที่มีการนาโปรแกรมโลโกไปใช้ในการเรียนการสอนกันอย่างแพร่หลาย คาตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อ……………………………………………..…….ชั้น………...เลขที่…………………..
  • 16. ใบงานที่ 2 ความเป็นมาภาษาของโปรแกรมโลโก้ คาแนะนา ให้ศึกษาใบความรู้เรื่องภาษาคอมพิวเตอร์ แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ในใบงาน 1. จงให้ความหมายของคาว่า ซอฟต์แวร์ 2. ภาษาคอมพิวเตอร์คืออะไร 3. เราสามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง 4. การที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจภาษาระดับสูง จาเป็นต้องผ่านกระบวนการแปลภาษา ซึ่งมี 2 ลักษณะ คืออะไรบ้าง 5. ตัวแปลภาษาแต่ละลักษณะในข้อ 4 มีการทางานต่างกันอย่างไร 6. จงบอกชื่อภาษาคอมพิวเตอร์มา 3 ภาษา คาตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อ……………………………………………..…….ชั้น………...เลขที่…………………..
  • 17. ใบงานที่ 3 เรื่องหน้าต่างโปรแกรมโลโกและคาสั่งเบื้องต้น คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง “หน้าต่างโปรแกรมโลโก” แล้วจดชื่อส่วนต่าง ๆ ของหน้าต่าง ไว้ในสมุดจด 2. ศึกษาใบความรู้เรื่อง “คาสั่งเบื้องต้นในภาษาโลโก” แล้วจดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด 3. ทดลองปฏิบัติ การใช้โปรแกรมโลโกช่วยสร้างรูปทรงเรขาคณิต ได้แก่รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้า เหลี่ยม และรูปหกเหลี่ยม การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง โดยเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 18. ใบงานที่ 5 คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม) คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม)" แล้วจดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. ใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่ ออกแบบไว้ 2. ถ้าไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่ออกแบบไว้ ให้ปรับแก้ที่ชุดคาสั่งจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ 3. ทดลองใช้คาสั่งเพิ่มเติมที่เรียนในครั้งนี้ 4. ปรับปรุงชุดคาสั่งเดิมให้กระทัดรัด สวยงาม แล้วลอกชุดคาสั่งใหม่ทั้งหมดส่งให้ครูตรวจ การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุด จด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 19. ใบงานที่ 6 การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การเขียนโปรแกรมในลักษณะโปรแกรมย่อย" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo แล้วใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้า ข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่ออกแบบไว้ 2. บันทึกใน My Document ด้วยชื่อ job1-ห้อง-เลขที่ เช่นนักเรียนห้อง ม.2/3 เลขที่ 8 จะใช้ ชื่อไฟล์เป็น job1-203-08 3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo 4. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล จน ครบทั้ง 3 โปรแกรมย่อย 5. เรียกดูผลการทางานโดยพิมพ์คาว่า garden ในช่องป้อนเข้าข้อมูล 6. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า garden-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนห้อง ม.1/5 เลขที่ 12 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น garden-105-12 7. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ ไว้ในกระดาษกราฟ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่ง ทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 20. ใบงานที่ 7 "คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม2)" คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งโปรแกรมภาษาโลโก (เพิ่มเติม2)" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่งทั้งหมด ไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo แล้วใช้ชุดคาสั่งที่ทาเป็นการบ้าน มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้า ข้อมูล เพื่อแสดงผลให้ได้ตามที่ออกแบบไว้ 2. บันทึกใน My Document ด้วยชื่อ job1-ห้อง-เลขที่ เช่นนักเรียนห้อง ม.2/3 เลขที่ 8 จะใช้ ชื่อไฟล์เป็น job1-203-08 3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo 4. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อ สังเกตผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 5. ออกแบบงานตามที่อาจารย์ประจาวิชากาหนด 6. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job2-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนห้อง ม.1/5 เลขที่ 12 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job2-105-12 7. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงอื่น ๆ ไว้ในกระดาษกราฟ เช่นบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องบิน โทรศัพท์ เรือ ฯลฯ อย่างน้อย 1 อย่าง (ต้องไม่ใช่รูปทรงในครั้งที่ผ่านมา และควรเพิ่มเติมสีสรรให้สวยงาม) โดยเขียนชุดคาสั่ง ทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุดจด และนามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 21. ใบงานที่ 8 การนาเต่าโลโก้ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การนาเต่าโลโกไปยังตาแหน่งที่ต้องการ" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาทดลองพิมพ์ในช่องป้อนเข้าข้อมูล เพื่อ สังเกตผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 2. ออกแบบงานตามที่อาจารย์ประจาวิชากาหนด 3. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job3-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนชั้น ม.1/9 เลขที่ 32 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job3-109-32 4. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทิวทัศน์ ที่มีภาพหลาย ๆ อย่างประกอบกัน กาหนดสีพื้นหลัง และระบายสี ส่วนของภาพ โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุด จด นามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 22. ใบงานที่ 9 คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก้ คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "คาสั่งลัดในการกาหนดสีในโปรแกรมโลโก" แล้วจดสาระสาคัญและชุดคาสั่ง ทั้งหมด ไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ มาช่วยในการออกแบบงาน ให้ได้ผลงาน ลักษณะดังภาพต่อไปนี้ 2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job4-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนชั้น ม.1/3 เลขที่ 15 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job4-103-15 3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบรูปทิวทัศน์ ที่มีภาพหลาย ๆ อย่างประกอบกัน กาหนดสีพื้นหลัง และระบายสี ส่วนของภาพ โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ไว้ในสมุด จด นามาส่งในชั่วโมงต่อไป
  • 23. ใบงานที่10 การใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การใช้ตัวแปรในโปรแกรมโลโก" แล้วจดสาระสาคัญไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ สร้างผลงานให้ได้ลักษณะดังภาพต่อไปนี้ 2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job5-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนชั้น ม.2/5 เลขที่ 42 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job5-205-42 3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของที่มีรูปร่างเหมือนกัน แต่ขนาดต่างกัน สีต่างกัน และวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ ต่างกัน อย่างน้อย 3 รูป โดยออกแบบไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อย ที่มีการใช้ตัวแปร ไว้ในสมุดจด นามาทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป
  • 24. ใบงานที่11 การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การใช้กระดาษกราฟช่วยออกแบบ" แล้วจดสาระสาคัญไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ สร้างผลงานให้ได้ลักษณะดังภาพต่อไปนี้ 2. บันทึก (Save) ชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ใน My Document ตั้งชื่อไฟล์ว่า job6-ห้อง-เลขที่ เช่น นักเรียนชั้น ม.2/7 เลขที่ 27 จะใช้ชื่อไฟล์เป็น job6-207-27 3. ส่งไฟล์ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องครู แล้วปิดโปรแกรม MSWLogo การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของไว้ในกระดาษกราฟ และเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะโปรแกรมย่อยไว้ ในสมุดจด นามาทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป
  • 25. ใบงานที่ 12 คาแนะนา จงใช้โปรแกรมโลโกเขียนโปรแกรมในลักษณะ Program mode เพื่อสร้างภาพ จากภาพที่ออกแบบบน กระดาษกราฟต่อไปนี้ ตัวอย่าง คาสั่งสาหรับสร้างแท่งสีฟ้า มีดังนี้ to top pu setxy 0 138 pd ; ชุดคาสั่งสร้างส่วนโค้งด้านบน rt 90 arc 180 20 pu setxy -20 140 pd ; ชุดคาสั่งสร้างกรอบสี่เหลี่ยม setxy -20 20 setxy 20 20 setxy 20 140 pu setxy 0 120 pd ; ชุดคาสั่งระบายสีเป็นสีฟ้า setfc 3 fill end
  • 26. ใบงานที่ 13 คาชี้แจง 1. ศึกษาใบความรู้เรื่อง "การสร้างภาพเคลื่อนไหว" แล้วจดชุดคาสั่งทั้งหมดไว้ในสมุดจด 2. ทดลองปฏิบัติ 1. เปิดโปรแกรม MSWLogo ใช้ชุดคาสั่งในใบความรู้ทดลองสร้างแล้วดูผลลัพธ์ ทีละโปรแกรม 2. รอครูสั่งให้แก้ไขโปรแกรม ให้ได้ผลลัพธ์แตกต่างออกไป การบ้าน ให้นักเรียนออกแบบสิ่งของหรือรูปทรง ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ แล้วเขียนชุดคาสั่งทั้งหมดในลักษณะ โปรแกรมย่อยไว้ในสมุดจด นามาส่งและทดลองปฏิบัติในชั่วโมงต่อไป