SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ชีวิตของปลากัด
โดย ด.ญ.ฟ้ าปภาทิพย์ คงธนชโยพิทย์
เลขที่ 30 ป.5/5
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของการศึกษาค้นคว้ารายวิชาวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนอนุบาลนครพนม
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 1
ปลากัด
- มีชื่อสามัญว่า Siamese Fighting Fish
- เป็นปลาน้าจืดขนาดเล็กมีอวัยวะช่วยหายใจบนผิวน้าได้โดยใช้
ปากฮุบอากาศโดยไม่ต้องผ่านเหงือกเหมือนปลาทั่วไป
- เป็นปลาสวยงามที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยมานาน
แล้ว เนื่องจากเป็นปลาสวยงาม และเป็นยอดนักสู้ตัวฉกาจอย่าง
ยิ่ง นิยมเลี้ยงเป็นการเลี้ยงเพื่อเกมกีฬาโดยเฉพาะมีการจัดตั้งเป็น
บ่อนการพนัน
2
วัฏจักรชีวิตของปลากัด
-เมื่อการผสมพันธุ์เสร็จสิ้นลง ภายใน 36 - 48 ชั่วโมง จะเกาะกันแน่น
อยู่ภายในหวอด
-ในช่วงนี้ยังไม่ต้องการอาหารเพราะมีถุงไข่แดง (Yolk Sac)ติดตัวมา
ด้วย
-การเจริญเติบโตของลูกปลากัดตั้งแต่อายุได้ 1 ถึง 30 วัน
3
ปลากัด
เมื่อลูกปลาอายุ 30วันลูกปลาจะมีลาตัวหนาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนทึบแสงไม่สามารถ
มองเห็นอวัยวะภายใน มีรงควัตถุกระจายบริเวณลาตัวและหัวมีแถบสีดา 2 แถบขนาน
กันอยู่กลางลาตัวจากหัวไปถึงโคนหาง ครีบก้นมีก้านครีบ 27 ก้าน ครีบหลัง มีก้านครีบ
11 ก้าน
4
การผสมพันธุ์(แพร่พันธุ์)
ปลาจะการผสมพันธุ์วางไข่บนผิวน้าในช่วงเช้า โดยทั้งปลาเพศผู้และ
เพศเมียจะเข้าไปอยู่ใต้รัง จากนั้นปลาเพศผู้จะงอตัวรัดบริเวณท้องของ
ปลาเพศเมีย ลักษณะนี้เรียกว่า “การรัด” ปลาเพศเมียจะปล่อยไข่
ออกมาครั้งละ 7 - 20 ฟองในขณะเดียวกันปลาเพศผู้จะปล่อยน้าเชื้อ
เข้าผสมกับไข่ ทั้งปลาเพศผู้และเพศเมียจะค่อยๆจมลงสู่ก้นบ่อจากนั้น
ปลาเพศผู้จะค่อยๆคลายการรัดตัว แล้วรีบว่ายน้าไปหาไข่ที่กาลังจม
ลงสู่พื้น ใช้ปากอมไข่นาไปพ่นติดไว้ที่หวอด ปลาก็จะทาการรัดตัวกัน
ใหม่เช่นนี้ไปเรื่อยๆจนแม่ปลาไข่หมดท้อง ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2
ชั่วโมง เมื่อวางไข่หมดแล้วปลาเพศผู้จะไล่กัดขับไล่ปลาเพศเมียไม่ให้
มาใกล้รังอีก และจะคอยเปลี่ยนลมในหวอดอยู่เสมอ 5
การผสมพันธุ์(แพร่พันธุ์)
6
การเพาะพันธุ์
ดาเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้
การเตรียมพ่อแม่พันธุ์ ปลากัดจะสมบูรณ์เพศเมื่ออายุ 4 -6 เดือน สามารถนาไปใช้เป็น
พ่อแม่พันธุ์ได้
-การเลือกปลาเพศผู้ควรเลือกปลาที่คึกคะนอง คือ เมื่อนาปลาดังกล่าวไปใกล้กับปลาเพศ
ผู้ตัวอื่น ก็จะแสดงอาการก้าวร้าวทันที โดยจะกางกระพุ้งแก้มและกางครีบ รี่เข้าหาปลาตัว
อื่นทันทีพร้อมที่จะกัด หรืออาจสังเกตจากการสร้างหวอดก็ได้ เพราะปลาเพศผู้ที่สมบูรณ์
เพศและพร้อมจะผสมพันธุ์ มักจะสร้างหวอดในภาชนะที่เลี้ยงเสมอ
- ปลาเพศเมียควรเลือกปลาที่มีท้องแก่คือมีไข่แก่เต็มที่ โดยสังเกตได้จากส่วนท้องของปลา ซึ่ง
จะขยายตัวพองออกอย่างชัดเจน และเมื่อลองให้อดอาหารเป็นเวลา 1วัน ส่วนท้องก็ยังคง
ขยายอยู่เช่นเดิม
- นาแม่ปลาที่เลือกได้ไปใส่ขวดแล้วนาไปวางเทียบกับปลาเพศผู้ เมื่อปลาเพศผู้แสดงอาการ
เกี้ยวพาราสีปลาเพศเมียที่ท้องแก่จะเกิดลายสีขาวแกมเหลืองพาดจากส่วนหลังลงไปทาง
ส่วนท้อง จานวน 4 - 6 แถบ ในเรื่องสีสันของปลานั้นสามารถเลือกได้ตาม
ความชอบ เพราะปลาสีต่างกันสามารถผสมกันได้
7
การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์
การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ บ่อหรือภาชนะที่จะใช้เป็นบ่อเพาะปลากัดควรมี
ขนาดเล็ก ส่วนมากนิยมใช้ภาชนะต่างๆไม่มีบ่อถาวร เช่น อ่างดิน
เผา กะละมัง ถังหรือตุ่มน้าขนาดเล็ก เพราะสะดวกกว่าการเพาะในบ่อภาชนะ
ดังกล่าวมักมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 - 40 เซนติเมตร ใส่น้าสะอาดลงในภาชนะที่
เตรียมไว้ให้มีระดับสูงประมาณ 10-15 เซนติเมตร จากนั้นใส่พันธุ์ไม้น้าที่มีใบ
หรือลาต้นผิวน้า เช่น จอก ผักตบชวา ผักบุ้ง หรือผักกระเฉด ลงไปบ้าง
เล็กน้อยเพื่อให้ปลาสร้างหวอดได้ง่าย แสดงการเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ปลากัด
โดยใส่เฉพาะใบไม้ หรือภาชนะขนาดเล็กที่ปลาเข้าไปทารังได้
8
การเพาะพันธุ์
ภาชนะที่นามาใช้ในการเพาะพันธุ์ การปิดแสงบ่อเพาะพันธุ์เพียงบางส่วน
9
แหล่งที่อยู่ของปลากัด
ปลากัดเป็นปลาพื้นเมืองของไทย พบแพรหลายกระจายทั่วไปทุกภาค
ของประเทศไทย
ลักษณะที่อยู่อาศัย : อาศัยอยู่ในอ่างเก็บน้า ทะเลสาบ หนอง บึง แอ่งน้า
ลาคลอง เป็นต้น ในบริเวณที่มีน้าตื้นๆน้าค่อนใส น้านิ่งหรือไหลเอื่อยๆมี
พันธุ์ไม้น้าขึ้นประปราย ชอบว่ายน้าช้าๆบริเวณผิวน้า แต่ถ้าเลี้ยงตกแต่ง
ห้องหรือสถานที่ต่างๆเพื่อให้เกิดความสวยงาม นิยมเลี้ยงในภาชนะขนาด
เล็กและแคบ เช่น ขวดโหล, ขวดน้าอัดลม เป็นต้น
10
แหล่งที่อยู่ของปลากัด
11
ลักษณะของปลากัด
ปลากัดจัดเป็นปลาขนาด ลักษณะลาตัวเรียวยาว แบนข้าง ปากมีขนาด
เล็กเชิดขึ้นด้านบนเล็กน้อย ส่วนหัวมีเกล็ดปกคลุม ครีบก้นมีฐานครีบค่อนข้าง
ยาว ครีบท้องเล็กยาว สีของลาตัวเป็นสีเทาแกมดา สีของครีบและเกล็ด
บริเวณใกล้ครีบจะเป็นสีสดเข้มสีใดสีหนึ่งทั้งตัว เช่น ปลากัดสีแดง จะมีครีบ
ทุกครีบและเกล็ดที่อยู่ใกล้ครีบเป็นสีแดงทั้งหมด
12
ลักษณะของปลากัด
ลักษณะของปลากัด
13
การหายใจ
ปลากัดยังมีอวัยวะพิเศษเพื่อช่วยในการหายใจซึ่งมีชื่อ
เรียกว่า labyrinth organ พบอยู่ในโพรงอากาศหลังช่องเหงือก มี
ลักษณะเป็นรอยหยักที่ซับซ้อนและมีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงจานวน
มาก อวัยวะนี้จะพบในปลาที่มีอายุมากกว่า 10 วัน และจากการมีอวัยวะ
ดังกล่าวจึงทาให้ปลากัดมีความอดทนสามารถอาศัยอยู่ได้ในบริเวณน้าตื้น
หรือในน้าที่มีปริมาณของออกซิเจนละลายอยู่น้อยและสามารถเลี้ยงปลากัด
ในภาชนะเล็กๆ ได้ โดยไม่ต้องให้อากาศเพราะปลากัดสามารถหายใจโดยโผล่
ขึ้นมาฮุบอากาศบนผิวน้าได้
14
การหายใจ
15
การจาแนกเพศของปลากัด
ปลากัดเพศผู้และเพศเมียมีลักษณะภายนอกที่แสดงความแตกต่างกัน ซึ่ง
พอจะสังเกตได้หลายประการ คือ
- สีของลาตัว ปลาเพศผู้จะมีสีของลาตัวและครีบ เข้มและสดกว่าปลาเพศ
เมียอย่างชัดเจน เมื่อปลามีอายุตั้งแต่ 2 เดือน หรือมีขนาดตั้งแต่ 3 เซนติเมตรขึ้นไป
- ขนาดของตัว ปลาที่เลี้ยงในครอกเดียวกันปลาเพศผู้จะเจริญเติบโตเร็วกว่า
ปลาเพศเมีย
- ความยาวครีบ ปลาเพศผู้จะมีครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นยาวกว่าของ
ปลาเพศเมียมาก ยกเว้นปลากัดหม้อจะยาวต่างกันไม่มากนัก
- เม็ดไข่นา ปลาเพศเมียจะมีเม็ดหรือจุดขาวๆอยู่ 1 จุด ใกล้ๆกับช่องเปิด
ของช่องเพศ ลักษณะคล้ายกับไข่ของปลากัดเอง เรียกจุดนี้ว่าไข่นา ส่วนปลาเพศผู้ไม่
16
การจาแนกเพศของปลากัด
เพศเมีย เพศผู้
17
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
• ปลากัดลูกหม้อ มีลักษณะลาตัวค่อนข้างหนาเมื่อเทียบกับสายพันธุ์อื่น ส่วนหัวค่อนข้าง
โต ปากใหญ่ ครีบสั้นสีเข้ม เดิมมักจะเป็นสีเขียว หรือสีน้าเงินแกมแดง ปัจจุบันนิยมเรียก
เป็นกลุ่มของ ปลากัดครีบสั้น
• ปลากัดลูกทุ่ง มีลักษณะลาตัวเล็กกว่าพันธุ์ลูกหม้อ ลาตัวค่อนข้างยาว ครีบยาวปาน
กลางหรือยาวกว่าพันธุ์ลูกหม้อเล็กน้อย สีไม่เข้มมากนัก ส่วนมากมักจะเป็นสีแดงแกม
เขียว
• ปลากัดลูกผสม หรือพันธุ์สังกะสี หรือพันธุ์ลูกตะกั่ว เป็นลูกปลาที่เกิดจากการผสม
ข้ามสายพันธุ์ระหว่างปลากัดลูกหม้อกับปลากัดลูกทุ่งโดยอาจผสมระหว่างพ่อเป็นปลา
ลูกหม้อกับแม่เป็นปลลูกทุ่ง หรือพ่อเป็นปลาลูกทุ่งกับแม่เป็นปลาลูกหม้อ ได้ทั้งสอง
แบบ ผู้เพาะต้องการให้ปลาลูกผสมที่ได้มีลักษณะปากคม กัดคล่องแคล่วว่องไวแบบปลา
ลูกทุ่ง และมีความอดทนแบบปลาลูกหม้อ โดยพยายามคัดปลาที่มีลักษณะลาตัวเป็นปลา
ลูกทุ่ง
18
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
• ปลากัดจีน เป็นปลากัดที่เกิดจากการเพาะและคัดพันธุ์ปลากัดโดยเน้นเพื่อความ
สวยงาม พยายามคัดพันธุ์เพื่อให้ปลามีหางยาวและสีสันสดเข้ม มีครีบต่างๆค่อนข้าง
ยาว โดยเฉพาะครีบหางจะยาวมากเป็นพิเศษและมีรูปทรงหลายแบบ มีสีสันสดสวย
มากมายหลายสี ปลา ปัจจุบันนิยมเรียกเป็นกลุ่มของ ปลากัดครีบยาว
• ปัจจุบันผู้เพาะพันธุ์ปลากัดสามารถเพาะพันธุ์ปลากัดสายพันธุ์ใหม่ๆออกมาอีกหลายสาย
พันธุ์ และมีความหลากหลายทางด้านสีสันอีกด้วย ทาให้มีการเรียกชื่อสายพันธุ์ปลากัด
เพิ่มขึ้นอีกมากมาย ได้แก่ ปลากัดครีบสั้น(ปลากัดหม้อ)สีเดียว ปลากัดครีบยาว(ปลากัด
จีน)สีแฟนซี ปลากัดสองหาง (Double Tail) ปลากัดหางหนามมงกุฎ (Crown
Tail) ปลากัดหางพระจันทร์ (Halfmoon )
19
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
ปลากัดลูกหม้อ ปลากัดลูกทุ่ง
20
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
ปลากัดลูกผสมหรือพันธุ์สังกะสีหรือพันธุ์ลูกตะกั่ว ปลากัดจีน
21
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
ปลากัดครีบสั้น(ปลากัดหม้อ)สีเดียว ปลากัดครีบยาว(ปลากัดจีน)สีแฟนซี
22
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
ปลากัดสองหาง ปลากัดหางหนามมงกุฎ
23
ลักษณะพันธุ์ของปลากัด
ปลากัดหางพระจันทร์
24
การจาแนกทางอนุกรมวิธาน
Nelson (1984) ได้จัดลาดับชั้นของปลากัดไว้ดังนี้
Superclass : Osteichthyes
Class : Actinopterygii
Order : Perciformes -- perch-like fishes
Suborder : Anabantoidei -- labyrinthfishes
Family : Osphronemidae Bleeker,
1859 -- giant gouramis
Genus : Betta
ปลากัดที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมานานแล้วนั้นถูกจัดให้เป็นชนิด splendens หรือมี
ชื่อวิทยาศษสตร์ว่า Betta splendens, Regan, 1910 ปัจจุบันได้มีการสารวจ
พบชนิดของปลากัดประมาณ 50 - 60 ชนิด
25
การจาแนกทางอนุกรมวิธาน
• โดยจัดแบ่งกลุ่มตามลักษณะการวางไข่ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
• 1 กลุ่มแรก เป็นปลากัดที่ก่อหวอดวางไข่ เป็นปลากัดที่ผู้เพาะเลี้ยงปลากัดส่วน
ใหญ่ดาเนินการกันมานานแล้ว ปลาเพศผู้จะสร้างรัง เรียกว่าหวอดที่บริเวณผิวน้า
และจะติดอยู่ใต้ใบพันธุ์ไม้น้าชายฝั่ง เพื่อใช้ในการฟักไข่ ตัวอย่างปลากัดในกลุ่ม
นี้เช่น Betta coccina B. brownorum B.burdigala
B. livida B.rutilans B. tussyae
• 2 กลุ่มที่สอง เป็นปลากัดอมไข่ เป็นปลากัดที่ถูกนามาเลี้ยงยังไม่นาน
นัก เป็นปลาที่มีพฤติกรรมการแพร่พันธุ์วางไข่คล้ายกับปลาหมอสีกลุ่มที่อม
ไข่ เพื่อให้ไข่ฟักตัวภายในปาก ตัวอย่างปลากัดในกลุ่มนี้เช่นBetta
akarensis B.patoti B.anabatoides B.macrostoma
B. albimarginata B. channoides
• . 26
การจาแนกทางอนุกรมวิธาน
โดยจัดแบ่งกลุ่มตามลักษณะการวางไข่ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
• 1 กลุ่มแรก เป็นปลากัดที่ก่อหวอดวางไข่ เป็นปลากัดที่ผู้เพาะเลี้ยงปลากัดส่วน
ใหญ่ดาเนินการกันมานานแล้ว ปลาเพศผู้จะสร้างรัง เรียกว่าหวอดที่บริเวณผิวน้า
และจะติดอยู่ใต้ใบพันธุ์ไม้น้าชายฝั่ง เพื่อใช้ในการฟักไข่ ตัวอย่างปลากัดในกลุ่มนี้
เช่น Betta coccina B. brownorum B. burdigala B.
livida B. rutilans B. tussyae
• 2 กลุ่มที่สอง เป็นปลากัดอมไข่ เป็นปลากัดที่ถูกนามาเลี้ยงยังไม่นาน
นัก เป็นปลาที่มีพฤติกรรมการแพร่พันธุ์วางไข่คล้ายกับปลาหมอสีกลุ่มที่อม
ไข่ เพื่อให้ไข่ฟักตัวภายในปาก ตัวอย่างปลากัดในกลุ่มนี้เช่น
• Betta
akarensis B.patoti B.anabatoides B.macrostoma
• B. albimarginata B. channoides
27
การจาแนกทางอนุกรมวิธาน
ปลากัด Betta splenden ปลากัดที่ก่อหวอดวางไข่ชนิดอื่น ๆ
28
การจาแนกทางอนุกรมวิธาน
ปลากัดอมไข่บางชนิด
29
Thank you for your attention
30
ขอขอบพระคุณ
คุณครูสมสมัย จิรพัทธ์พงศกร และครอบครัว ผู้ที่
คอยสนับสนุน มา ณ โอกาสนี้
ฟ้ าปภาทิพย์ คงธนชโยพิทย์
๕ ธันวาคม ๒๕๕๗
31

More Related Content

What's hot

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 

What's hot (20)

หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
แบบใบสำคัญรับเงิน
แบบใบสำคัญรับเงินแบบใบสำคัญรับเงิน
แบบใบสำคัญรับเงิน
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 

Viewers also liked

ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...Prachoom Rangkasikorn
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำsavokclash
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกkrusupap
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 

Viewers also liked (7)

ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
 
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)2+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f2...
 
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...
ใบความรู้+การสืบพันธุ์ของสัตว์(การปฏิสันธิ)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci p05 f11...
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Similar to ชีวิตของปลากัด

งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขRathapon Silachan
 
เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอcherdpr1
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงAbnPlathong Ag'
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงAbnPlathong Ag'
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ0905695847
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
สายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดสายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดpongwiwat
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องNoiRr DaRk
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทองsittichart
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookJintana Deenang
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)AmmyMoreen
 
Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the seaMICKY_JS
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดlongkhao
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดlongkhao
 

Similar to ชีวิตของปลากัด (20)

งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอ
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
Teerapat betta fish
Teerapat betta fishTeerapat betta fish
Teerapat betta fish
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมง
 
โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมง
 
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำมหัศจรรย์สัตว์น้ำ
มหัศจรรย์สัตว์น้ำ
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
สายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัดสายพันธุ์ปลากัด
สายพันธุ์ปลากัด
 
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่องคู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
คู่มือการจำแนกชนิดแมงกระพรุนกล่อง
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทอง
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
 
Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the sea
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรด
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรด
 

ชีวิตของปลากัด