SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
135-402 Cross-Cultural Management
หัวข้อที่ 14
จริยธรรมทางธุรกิจ
ในบริบททางวัฒนธรรมที่ต่างกัน
จริยธรรมทางธุรกิจ
• จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) หมายถึง
หลักการและมาตรฐานที่เป็นตัวชี้นาพฤติกรรมในโลก
ธุรกิจ พฤติกรรมมักจะประเมินในรูปของการตัดสินใจ
ของบุคคลและกลุ่ม
• แนวคิดเรื่องจริยธรรมทางธุรกิจ และความรับผิดชอบของธุรกิจ
ต่อสังคมมักใช้แทนกัน
แนวคิดทางจรรยาบรรณธุรกิจ
• Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทาจากความ
สานึกในผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้น
เมื่อได้ทาไปแล้ว (Borchert and Stewart, 1986, p. 199)
ดังนั้น Deontology จึงเป็นแนวคิดที่คานึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและ
พฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าคานึงถึงผลที่เกิดขึ้น สาหรับใน
องค์การธุรกิจแล้วผู้ปฏิบัติหน้าที่ในองค์การพึงมีสิทธิหลาย
ประการเช่น สิทธิส่วนบุคคลในการกระทาใด สิทธิในการพูด สิทธิ
ที่จะมีความเป็นส่วนตัวในเรื่องที่ตนไม่ต้องการเปิดเผย สิทธิที่จะ
มีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี สิทธิที่จะได้รับความยุติธรรมจากสังคม
เป็นต้น
• Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทาง
จรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่าง
ทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลตัดสินในเรื่องของ ความถูกต้อง
ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม อาจมีความหมายที่
แตกต่างกันได้
• •เนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน เช่น
ประชาชนที่มีศาสนาหรือลัทธิความเชื่อที่แตกต่างกัน จะมีข้อสรุป
ในเรื่องที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณแตกต่างกันในหลายเรื่อง
• •ในทางปฏิบัติแล้วให้ความสาคัญกับกิจกรรมหรือการกระทาที่
มองเห็นได้ชัดเจนเป็นหลัก สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
ที่เป็นรูปธรรมได้แก่ข้อบังคับของกฎหมาย ธรรมเนียมปฏิบัติที่
ชัดเจนในแต่ละสังคม และจิตสานึกในสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
สังคม ซึ่งต้องพิจารณาความแตกต่างที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศ
• Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่า
เป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค เช่นหาก
บริษัทญี่ปุ่นที่จัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศอื่น เนื่องจาก
ประเทศนั้นมีกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าในประเทศ
ญี่ปุ่น ทาให้ลดต้นทุนการดาเนินงานได้มากกว่า การกระทาใน
ลักษณะเช่นนั้นย่อมเป็นการไร้จริยธรรม (unethical) แต่อย่างไร
ก็ดีแนวคิดนี้ยอมรับว่าเป็นสิ่งไม่เสียหายหากการไปจัดตั้งกิจการ
ในประเทศอื่นเพื่อช่วยบรรเทาปัญหาความอดอยากและความ
ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ โดยพิจารณาร่วมกัน
ระหว่างผลดีและผลเสียที่เกิดขึ้นต่อสังคมนั้นๆ ในมุมที่ว่าการเข้า
มาจัดตั้งเป็นประโยชน์ต่อประเทศนั้นๆ ซึ่งอาจมีผลเสียบางส่วน
ได้ เนื่องจากเป็นผลเสียที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ถ้าไม่จัดตั้งแม้จะไม่
มีผลเสีย แต่ก็ไม่มีผลดี
ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
– ความแตกต่างกันในด้านการเมือง ด้านประเพณี
ค่านิยมและอุดมการณ์มีผลต่อจริยธรรมในการบริหาร
– ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม ปัญหาทางจริยธรรมอัน
เนื่องมาจากความแตกต่างของค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เป็นประเด็นสาคัญของธุรกิจข้ามชาติ
– การตัดสินใจทางจริยธรรมโดยมีค่านิยมที่แตกต่างกัน เป็นความ
แตกต่างทางด้านวัฒนธรรมที่สาคัญระหว่างประเทศแม่กับ
ประเทศที่กิจการไปลงทุน
การคอร์รัปชั่นกับการจ่ายเงินบางประเภท
• การจ่ายเงินบางอย่างในประเทศที่บริษัทไปทาธุรกิจถูก
มองว่าไม่เหมาะสมและผิดจริยธรรมและนาไปสู่การ
ทุจริตคอร์รัปชัน
• ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับธุรกิจต่างชาติ ที่เป็น
ลักษณะการจ่ายในรูปของสินบน การให้และการรับ
สินบนถือว่าเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
การค้า การเงิน และการลงทุนระหว่าง
ประเทศกับจริยธรรม
• จากความแตกต่างในด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ปัญหา
ทางจริยธรรมเกิดได้กับธุรกิจการเงินระหว่างประเทศและ
การค้าระหว่างประเทศ
–การเก็งกาไรและโจมตีค่าเงินของประเทศหนึ่งๆ เพื่อ
หวังกาไรของผู้เก็งกาไร
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
• บางประเทศใช้นโยบายการค้าเพื่อกดดันประเทศอื่นให้
เปลี่ยนแปลงนโยบายบางประการ
- การใช้นโยบายการค้าเช่นนี้เป็นปัญหาทาง
จริยธรรมว่ามีความธรรมเพียงใดและอาจมีการเลือก
ปฏิบัติ เช่น ใช้กับประเทศหนึ่งแต่ละเว้นประเทศหนึ่ง
การลงทุนจากต่างประเทศ
• การลงทุนจากต่างประเทศนาไปสู่ปัญหาจริยธรรมได้
–การลงทุนจะนามาซึ่งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ดีขึ้น
แต่ในขณะเดียวกันการย้ายการลงทุนไปสู่อีกประเทศ
หนึ่งทาให้เกิดการว่างงานในประเทศแม่ได้
–บริษัทที่ย้ายการลงทุนไปต่างประเทศมักอ้างเงื่อนไข
ภายนอกซึ่งอยู่นอกการควบคุมของตน เช่น ต้นทุน
ภาษี ตลาดและกฎข้อบังคับ
มาตรฐานด้านแรงงาน
• การจ้างแรงงานเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน
และการค้าระหว่างประเทศ
–การจ้างแรงงานมักเป็นปัญหาจริยธรรมอยู่เสมอ
สาหรับการลงทุนในต่างประเทศ เช่น การใช้แรงงาน
เด็ก การกดขี่แรงงาน ค้ามนุษย์
ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม CSR
CSR เป็นแนวคิดการจัดการที่มุ่งให้วิสาหกิจผสานการดาเนิน
ธุรกิจกับความห่วงใยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ ผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียทั้งหลาย
องค์กรเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (UNIDO)
CSR เป็นแนวคิดที่องค์กรแสดงความรับผิดชอบผลกระทบ
จากการประกอบกิจการของตนต่อผู้ถือหุ้น ลูกจ้าง ลูกค้า คู่ค้า
ชุมชน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น รวมทั้งสิ่งแวดล้อม และพันธ
กิจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนี้อาจเกินเลยกว่าที่กฎหมายกาหนดคือ
หมายรวมถึงการทาดีตามใจสมัครด้วยก็ได้ (แต่ต้องไม่ละเลยการ
ปฏิบัติตามกฎหมาย)
วิกิพีเดีย (Wikipedia)
43/53
หัวใจของ CSR
1. CSR คือ กิจกรรมรับผิดชอบต่อสังคมและองค์กร
2. CSR ต้องเป็นกิจกรรมที่องค์กรให้ คามั่นกับตัวเองว่าจะทา
อย่างต่อเนื่อง
3. CSR เป็นกิจกรรมที่องค์กรสนับสนุนอย่างเต็มที่ เพื่อพัฒนา
สภาพเศรษฐกิจและคุณภาพในการดารงชีวิตของ Stakeholders
โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะมีทั้ง ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกจ้าง คู่ค้า
ลูกค้า ชุมชนที่วิสาหกิจนั้นตั้งอยู่ สังคม สิ่งแวดล้อมโดยรวม
ทั้งหมด ซึ่งเป็นเป้าหมายปลายทางที่องค์กรต้องการนา
อรรถประโยชน์ทั้งปวงไปมอบให้
44/53
 Michael E. Porter ศาสตราจารย์ด้านกลยุทธ์ทางธุรกิจ
ได้กล่าวไว้ว่า “แนวโน้มธุรกิจในอนาคตข้างหน้าจะต้องให้
ความสนใจ CSR เพราะต่อจากนี้ไป ประเด็นความ
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจะกลายเป็นเครื่องมือ
อย่างหนึ่งของประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่นามาใช้เป็น
เงื่อนไขในการทาการค้ากับหลายประเทศ”
50/53
จุดกาเนิดและปัจจัยผลักดันให้เกิด CSR
การทา CSR มีมานานกว่า 200 ปีแล้ว แต่ยังไม่มีบัญญัติคาว่า
CSR ขึ้นใช้อย่างเป็นทางการ และการทา CSR ขององค์กรในยุค
นั้นโดยมากทาเพราะเกิดปัญหาขึ้นในองค์กร หรือทา CSR เพื่อ
แก้ปัญหาและเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรให้ดีขึ้น เช่น
 ค.ศ.1790 บริษัท อีสท์ อินเดีย ในประเทศอังกฤษ: ถูกต่อต้าน
จากประชาชนในประเทศ เนื่องจากพบว่าบริษัทมีการกดขี่ ใช้
แรงงานทาส จึงทาให้บริษัทจาเป็นต้องหันมาใส่ใจกับสวัสดิการ
แรงงาน และสิทธิมนุษยชนมากขึ้น
45/53
– ค.ศ.1960 เกิดปัญหาผลกระทบจากการใช้สารดีดีที: ซึ่งบริษัทใน
อเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งออก ทาให้สภาพแวดล้อมปนเปื้อน
สารพิษนี้ จึงนาไปสู่กระแสเรียกร้องด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น
 ค.ศ.1984 บริษัท เนสท์เล่: ซึ่งผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์นม
ได้จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เด็กทารกดื่มนมผง แทนนมมารดา
ก่อให้เกิดกระแสความไม่พอใจของประชาชน จนเกิดการ
ประท้วง และคว่าบาตรสินค้าของเนสท์เล่ เพื่อเรียกร้องให้
บริษัทเปลี่ยนแปลงนโยบายดังกล่าว
46/53
 ค.ศ.1989 หลังเกิดเหตุการณ์เรือบรรทุกน้ามันดิบของ
Exxon Waldez ล่มบริเวณทะเลอาลาสกา:
ทาให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม
และสัตว์น้าในทะเลแถบนั้นเป็นวงกว้าง กลุ่มธุรกิจการ
ลงทุนที่รับผิดชอบต่อสังคมซึ่ง Exxon เป็นหนึ่งในนั้น จึง
รวมกันบัญญัติกฎ 10 ประการที่เรียกว่า Waldez Principle
ซึ่งกาหนดแนวปฏิบัติขององค์กรให้มีความรับผิดชอบต่อ
สิ่งแวดล้อม ต่อมาได้เรียกชื่อใหม่เป็น CERES Principle
47/53
 ค.ศ.1992 หลังการประชุมระดับโลก (Earth Summit)
ครั้งแรกที่กรุงริโอเดจาเนโร:
ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างก็เริ่มตื่นตัวกับแนวคิด
“การพัฒนาที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทิศทางใหม่ของการพัฒนา
ที่ไม่ใช่มุ่งเน้นแต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียง
อย่างเดียว แต่ต้องคานึงถึงในเรื่องสังคมและ
สิ่งแวดล้อมด้วย ในขณะเดียวกัน ก็เริ่มมีกระแสกดดัน
องค์กรธุรกิจให้คานึงถึงเรื่องดังกล่าวด้วยเช่นกัน
48/53
– ค.ศ.2000 กระแสของโลกในเรื่อง CSR เริ่มจริงจังยิ่งขึ้น โดย
องค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือ
OECD – Organization for Economic Cooperation and
Development ได้ออกแนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติ
(OECD-Consensus) และได้มีการปรับปรุงโดยเน้นในเรื่อง
CSR อย่างเข้มข้น มีการเสนอแนะให้บรรษัทข้ามชาติทาธุรกิจกับ
คู่ค้าทั่วโลกเฉพาะที่มี CSR เท่านั้น ธุรกิจใดไม่ทา CSR ก็จะส่ง
สินค้าไปขายให้บรรษัทข้ามชาติเหล่านี้ไม่ได้
49/53
ISO 26000 Social Responsibility
ISO 26000 Social Responsibility: มาตรฐานเพื่อความ
รับผิดชอบต่อสังคม
- เป็นมาตรฐานการแสดงความรับผิดชอบต่อผลกระทบ
ของสังคมและสิ่งแวดล้อมจากการตัดสินใจ และ
ดาเนินกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร
- องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน
(International Organization for Standardization:
ISO) ได้เริ่มมีการพิจารณาตั้งแต่ พ.ศ. 2548 เป็นต้น
มา และคาดว่าน่าจะมีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ
ในช่วงปลายปี 2552
51/53
วัตถุประสงค์ของ ISO 26000
 เพื่อให้บริษัท องค์กร หน่วยงาน และสถาบันทั่วโลก
รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรได้เพิ่มความ
ตระหนัก และสร้างความเข้าใจในเรื่องของความ
รับผิดชอบต่อสังคม
 มาตรฐานดังกล่าวจะเป็นข้อแนะนา หลักการ และ
วิธีการของความรับผิดชอบต่อสังคมที่องค์กร พึงปฏิบัติ
โดยความสมัครใจ ทุกองค์กรสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ได้โดยไม่ต้องมีการตรวจรับรอง
52/53
ISO 26000 และความรับผิดชอบ
ISO 26000 กาหนดองค์ประกอบหลัก ของความรับผิดชอบไว้
7 ประการ
1. มีการกากับดูแลกิจการที่ดี (Organization Governance)
2. คานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human Right)
3. ข้อปฏิบัติด้านแรงงาน (Labor Practices)
4. การดูแลสิ่งแวดล้อม (Environment)
5. การดาเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม (Fair Operating Practices)
6. ใส่ใจต่อผู้บริโภค (Consumer Issues)
7. การแบ่งปันสู่สังคมและชุมชน
(Contribution to the Community and Society)
53/53
บรรณานุกรม
26
• บรรจง อมรชีวิน. CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการ
บริหารและการเจรจาต่อรอง. บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989), 2547.
• บรรจง อมรชีวิน. การตลาดข้ามวัฒนธรรม. สำนักพิมพ์ MDI,
2549.
• ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ .
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2552.
กำรจัดกำรและพฤติกรรมต่ำงวัฒนธรรมหัวข้อที่ 3

More Related Content

What's hot

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)Chapter 1 (introduction to strategic brand management)
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)Jawad Chaudhry
 
Brand Identity
Brand IdentityBrand Identity
Brand IdentitySj -
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويق
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويقالمحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويق
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويقwalid saed
 
A brief history of brands
A brief history of brands A brief history of brands
A brief history of brands Cara North
 
Factors affecting buying behaviour
Factors affecting buying behaviourFactors affecting buying behaviour
Factors affecting buying behaviourSwapnil Mali
 
brand/branding/brand hierarchy
brand/branding/brand hierarchybrand/branding/brand hierarchy
brand/branding/brand hierarchyParminder Kaur
 
Devising brand strategy
Devising brand strategyDevising brand strategy
Devising brand strategySameer Mathur
 
The personality & Consumer behavior
The personality & Consumer behaviorThe personality & Consumer behavior
The personality & Consumer behaviorDr. Ahmad Faraz
 
Strategic Brand Management 1
Strategic Brand Management 1Strategic Brand Management 1
Strategic Brand Management 1rishistd
 

What's hot (20)

18 private labels
18 private labels18 private labels
18 private labels
 
Brand Mantra
Brand MantraBrand Mantra
Brand Mantra
 
Cb 3.1
Cb 3.1Cb 3.1
Cb 3.1
 
brand managament
brand managamentbrand managament
brand managament
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)Chapter 1 (introduction to strategic brand management)
Chapter 1 (introduction to strategic brand management)
 
Brand Identity
Brand IdentityBrand Identity
Brand Identity
 
Consumer behaviour
Consumer behaviourConsumer behaviour
Consumer behaviour
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويق
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويقالمحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويق
المحاضرة الخامسة في كورس اساسيات التسويق
 
A brief history of brands
A brief history of brands A brief history of brands
A brief history of brands
 
Factors affecting buying behaviour
Factors affecting buying behaviourFactors affecting buying behaviour
Factors affecting buying behaviour
 
Co branding
Co brandingCo branding
Co branding
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
brand/branding/brand hierarchy
brand/branding/brand hierarchybrand/branding/brand hierarchy
brand/branding/brand hierarchy
 
Brand Management
Brand ManagementBrand Management
Brand Management
 
Devising brand strategy
Devising brand strategyDevising brand strategy
Devising brand strategy
 
The personality & Consumer behavior
The personality & Consumer behaviorThe personality & Consumer behavior
The personality & Consumer behavior
 
Brand & brand strategy
Brand & brand strategy Brand & brand strategy
Brand & brand strategy
 
Strategic Brand Management 1
Strategic Brand Management 1Strategic Brand Management 1
Strategic Brand Management 1
 

Similar to 135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2Vivace Narasuwan
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
โครงการ ช่วยเหลือเจือปัน
โครงการ ช่วยเหลือเจือปันโครงการ ช่วยเหลือเจือปัน
โครงการ ช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันSanita Fakbua
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)Pongsa Pongsathorn
 

Similar to 135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง (20)

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
กลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher marketกลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher market
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
โครงการ ช่วยเหลือเจือปัน
โครงการ ช่วยเหลือเจือปันโครงการ ช่วยเหลือเจือปัน
โครงการ ช่วยเหลือเจือปัน
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
Peter drucker
Peter druckerPeter drucker
Peter drucker
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
Com03
Com03Com03
Com03
 
Sustainable Business
Sustainable BusinessSustainable Business
Sustainable Business
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)
 
Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122
 
#2 edward jones
#2 edward jones#2 edward jones
#2 edward jones
 

135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง