SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
Higher Market

        ลักษณะและพฤติกรรมทั่วไปของ Higher Market
          เป็ นชนชั้นสูงที่สุด สินค้าที่ชนชั้นเหล่านี้แสวงหาเพื่อตอบเสนองความต้องการของตนเอง คือ
สินค้าที่สามารถเสริ มฐานะ ทางสังคม และได้รับการยอมรับจางสังคม โดยจะไม่ให้ความสาคัญกับปัจจัย
ด้านราคา เช่น กระเป๋ า Hermes หนังจระเข้ ราคาตั้งแค่ 2 แสน ถึง 5 ล้านบาท , รถยนต์ Roll-Royce phantom
ราคาประมาณ 12 ล้าน เป็ นต้น
          ชั้นที่ 1 Upper-Upper class ประกอบด้วยครอบครัวที่มีชื่อเสียงเก่าแก่ผเู้ กิดมา “บนกองเงินกองทอง”
เป็ นกลุ่มที่เล็กที่สุดในชนชั้นทางสังคม ซึ่งสมาชิกในชนชั้นส่วนใหญ่จะประกอบด้วย ราชวงศ์ และตระกูลผู้
ดีกว่า
          ชั้นที่ 2 Lower-Upper class เป็ นชนชั้น “คนรวยหน้าใหม่” เพิ่งจะมีทรัพย์สมบัติและยังไม่เป็ นสิ่งที่
ยอมรับของคนชั้นที่ 1 บุคคลเหล่านี้เป็ นผูยงใหญ่ในวงการบริ หาร จัดว่าอยูในระดับ “มหาเศรษฐี”
                                              ้ ิ่                        ่

        ทัศนคติ
          ทัศนคติต่าง ๆ ต่างก็ก่อตัวขึ้นมาในขณะที่มนุษย์ตองเกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ และบุคคล ต่าง ๆ อยู่
                                                            ้
ตลอดเวลาในชีวิตประจาวัน ด้วยเหตุน้ ีจึงความรู้สึก ความเชื่อ และแบบของการปฏิบติตอบที่แสดงออกจะมี
                                                                                   ั
ลักษณะเกิดขึ้นมาซ้ า ๆ ซาก ๆ เสมอ จนในที่สุดจะถูกเก็บไว้เป็ นความทรงจาและในทางกลับกับ
ปัจจัยพื้นฐานที่สมพันธ์กนเหล่านี้กจะกลายมาเป็ นแนวโน้มที่เป็ นไปทางใดทางหนึ่งที่จะถูกนามาใช้ประเมิน
                   ั         ั      ็
เป็ นลักษณะของการชอบ หรื อไม่ชอบสิ่งของหรื อตัวบุคคล ต่อจากนั้นผลจากการจัดระเบียบทางจิตใจจน
กลายเป็ นทัศนคติน้ ี ซึ่งจะช่วยให้การกระทาของเขามีความสม่าเสมอ คงที่เป็ นแบบใดแบบหนึ่ง และสามารถ
คาดการณ์ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ตัวบุคคลจะมีการวางแผนที่จดไว้ เพื่อสาหรับการคิดและการประพฤติ
                                                                   ั
ต่าง ๆ และจะกลายเป็ นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลดังกล่าวไม่ตองเผชิญกับปัญหายุงยากในทุกครั้งที่ตองเผชิญกับ
                                                          ้                 ่                 ้
ปรากฏการณ์ที่แปลกใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ทศนคติได้ก่อตัวขึ้นแล้ว
                                                   ั
          ด้วยตาแหน่งที่ต้งของทัศนคติและค่านิยม แสดงให้เห็นว่า ทัศนคติที่มีอยูน้ ีจะมีผลอย่างมากต่อ
                           ั                                                         ่
กระบวนการเปรี ยบเทียบ ในฐานะที่จะเป็ นเครื่ องกลันกรองสิ่งต่าง ๆ ที่รับเข้ามา ตัวอย่างเช่น การที่บุคคลใด
                                                     ่
บุคคลหนึ่งมีทศนคติท่ีดีต่อร้านค้าที่ขายเสื้อผ้าร้านใดร้านหนึ่ง เช่น อาจชอบร้าน ดวงใจบีช หรื อฟลายนาว
               ั
ดังนี้ ด้วยการมีทศนคติดงกล่าวนี้เอง อาจมีทางเป็ นไปได้ที่เขาอาจไม่มีความต้องการที่จะไปเสาะหาซื้อ
                     ั         ั
เสื้อผ้าจากร้านอื่น ๆ อีก และจะซื้อจากร้านที่ตนชอบเท่านั้น แนวความคิดเกี่ยวกับทัศนคติสมพันธ์กบการ
                                                                                            ั       ั
ดาเนินการของตลาด ดังนี้คือ
1. ขั้นเริ่มต้นของการดาเนินการตลาด นักวิชาการหลายคนเชื่อว่า องค์ประกอบด้านความรู้
ความเข้าใจในทัศนคติของผูที่คาดว่าจะเป็ นผูบริ โภคจะเกี่ยวข้องกับขั้นตอนแรกเริ่ มของการดาเนินการของ
                              ้              ้
ตลาด ในขั้นตอนนี้ นักการตลาดต้องเสนอพลังทางการตลาดต่างๆ (Marketing forces) ในรู ปของส่วน
ประสมทางการตลาด (Marketing mix) ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิงการเตรี ยมโฆษณาเพื่อที่จะทาการ
                                                                       ่
เปลี่ยนบุคคลเหล่านั้นจากความไม่รู้ตวเป็ นรู้ตว และเข้าใจตามลาดับ ในบางกรณี ข้นตอนนี้นกการตลาดจะ
                                     ั         ั                                 ั        ั
ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลข่าวสารแก่ผบริ โภคที่กาลังทาการเสาะแสวงหาข่าวสารของผลิตภัณฑ์ ตรายีหอของคู่
                                  ู้                                                         ่ ้
แข่งขันอยูดวย
          ่ ้
                  2. ขั้นระหว่างการดาเนินการตลาด ขั้นตอนนี้เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบเกี่ยวกับความชอบ
พอกับผลิตภัณฑ์ตราใดตราหนึ่ง โดยเฉพาะขั้นตอนนี้นกการตลาด ต้องพยายามให้ผบริ โภคมีภาพพจน์และ
                                                       ั                             ู้
ภาพลักษณ์ที่ดีเกี่ยวกับตราสินค้าของกิจการ ที่ดีเพื่อพัฒนาให้เกิดความภักดีต่อตราให้ได้
                  3. ขั้นสุ ดท้ ายของการดาเนินการตลาด ผูบริ โภคในขั้นตอนนี้อยูใกล้กบการตัดสินใจซื้อ
                                                            ้                      ่    ั
มากแล้วนักการตลาดจึงควรโน้มน้าวชักจูงให้ผบริ โภคเกิด ความโน้มเอียงที่จะก่อพฤติกรรม การซื้อและการ
                                                 ู้
ตัดสินใจซื้อ
ทัศนคติเกิดจากการที่ผบริ โภคสามารถนึกเห็นภาพพจน์ได้
                            ู้




                 ทัศนคติเกิดจากการที่ผบริ โภคคุนเคย
                                           ู้      ้
ที่มา นิตยสาร Brandage ปี ที่ 4 ฉบับที่ 6 มิถุนายน 2546 หน้า 43
จากคาจากัดความของทัศนคติ ซึ่งมีองค์ประกอบทางด้านความรู้สึก (Affective) เป็ นเครื่ องวัดโดย
การให้ความหมายแก่ทางเลือกต่าง ๆ ที่ผบริ โภคสามารถนึกเห็นภาพพจน์ได้ พร้อมๆ กันนี้เขาก็ใช้
                                             ู้
องค์ประกอบทางด้านความรู้ ความเข้าใจ เช่นกัน สาหรับองค์ประกอบทางด้านพฤติกรรมที่รวมอยูในคา              ่
นิยามของทัศนคติ เนื่องจากเป็ นความตั้งใจทางด้านพฤติกรรม (Behavioral intentions) ซึ่งอาจยังไม่มี
บทบาทใดเลยจนกว่า ผูบริ โภคถึงจุดที่กาลังจะตระหนักถึงปัญหาที่จะต้องตัดสินใจและเริ่ มมีพฤติกรรมการ
                         ้
แก้ปัญหา โดยแท้ที่จริ งแล้วทัศนคติสมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความตั้งใจที่จะก่อพฤติกรรม
                                    ั
          การเปลี่ยนแปลงทัศนคติจะเกิดขึ้นได้จากภาวะการณ์หลายอย่าง ได้แก่ ความขัดแย้ง ความแตกต่าง
กัน ความไม่แน่นอน ของสิ่งหนึ่งกับสิ่งที่เจ้าของเชื่อหรื อความเชื่อที่มีอยูเ่ ดิม วิธีการใหญ่ ๆ 2 วิธีในการ
เปลี่ยนแปลงทัศนคติน้ น ได้แก่ การใช้วิธีการที่อาศัยอิทธิพลของกลุ่ม เป็ นวิธีการที่ทาให้บุคคลตระหนักว่า
                       ั
การปฏิบติหรื อพฤติกรรมของตนเองไม่เหมือนกับของกลุม
          ั                                              ่    จึงพยายามที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้
เหมือนกับของกลุ่ม ส่วนวิธีการที่ใช้การติดต่อสื่อความหมายอย่างเป็ นทางการนั้น จะเป็ นวิธีการที่ช่วยให้
เกิดความแตกต่างระหว่างสิ่งที่บุคคลกาลังเป็ นอยูกบสิ่งที่เขาควรจะเป็ นหรื อควรจะปฏิบติ สิ่งที่เขาควรจะ
                                                ่ ั                                      ั
ได้รับสิ่งตอบแทนหรื อสิ่งที่เขาควรจะหลีกเลี่ยงการลงโทษหรื อควรจะเป็ นผูที่สามารถคิดอย่างมีเหตุผล
                                                                               ้
วิธีการอันนี้จะช่วยให้บุคคลเปลี่ยนแปลงทัศนคติอนสืบเนื่องมาจากความต้องการภายในของบุคคลนั้นจริ งๆ
                                                    ั

เกร็ดการตลาด “บทเรียนสาหรับ SME : แดรี่ควีนไทยต้องสร้ าง Brand ใหม่อกครั้ง”        ี
          แดรี่ ควีนเป็ นร้านอาหารเล็ก ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีตระกูลปรี ชาหาญเป็ น
เจ้าของ และดูแลมาตลอด 30 ปี มี 3 สาขา คือ สาขาเกษตศาสตร์ สาขาสะพานพระนังเกล้า และสาขาบางนา ่
(ริ มถนนบางนา - ตราด) การลงทุนของกลุ่มนี้เป็ นแบบอนุรักษ์นิยม ไม่มุ่งขยายสาขา แต่จะบริ หารแต่ละ
สาขาให้มีความมันคง และควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานที่ต้งไว้
                    ่                                         ั
          หากแต่ชื่อ “แดวีควีน” นั้นไปซ้ ากับ ร้านขายไอศกรี มของต่างประเทศ ที่เข้ามาในเมืองไทย เมื่อกว่า
                             ่
10 ปี ผ่านมา ปัญหาเรื่ องชื่อหรื อ Brand ที่ซ้ ากันในทางธุรกิจนั้นถือเป็ นเรื่ องใหญ่ เพราะมีกฎเกณฑ์หามใช้ซ้ า
                                                                                                       ้
กัน
          “แดรี่ ควีนของธัชพล” เปิ ดมานานกว่า แต่ไม่มการจดเครื่ องหมายการค้าชื่อ แดรี่ ควีน ขณะที่ “แด
                                                          ี
รี่ ควีน”จากต่างประเทศเมื่อเข้ามาเปิ ดกิจการก็ได้จดเครื่ องหมายการค้าชื่อร้าน                ตามกฎหมายคุมครอง
                                                                                                         ้
ทรัพย์สินทางปัญญาจะให้สิทธิแก่ผที่จดทะเบียนทรัพย์สินนั้นไว้ก่อน
                                      ู้                                           ดังนั้นสิทธิครอบครองชื่อหรื อ
เครื่ องหมายการค้านี้จึงตกเป็ นของแดรี่ ควีนสัญชาติอเมริ กา ผูนาชื่อไปจดทะเบียนก่อนตามกฎหมาย
                                                                ้
          เนื่องจากการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า ชื่อสินค้า รวมไปถึงสิทธิบตรในกระบวนการผลิต ๆ
                                                                                      ั
นั้น กฎหมายจะคุมครองเฉพาะในประเทศเท่านั้น กรณีของแดรี่ ควีนสัญชาติไทย แม้จะมีอายุการ
                         ้
ประกอบการยาวนานกว่าแดรี่ ควีนสัญชาติอเมริ กา                ทว่าตามกฎหมายของไทยที่นบอายุของเครื่ องหมาย
                                                                                             ั
การค้าเมื่อมีผนาชื่อนั้นมาจดทะเบียนแล้วเท่านั้น
                ู้
ดังนั้น “แดรี่ ควีนสัญชาติไทย” จึงแก้ปัญหาด้วยการสร้าง Brand ใหม่ โดยมีแนวคิดรวบยอดดังนี้
           1. เป็ นร้านอาหารที่เน้นทุกกลุ่มเป้ าหมาย ครอบครัว คนสูงอายุ แต่จะเพิ่มกลุ่มลูกค้าวัยรุ่ นเข้าไป
               อีก
           2. ร้านอาหารที่ราคาไม่แพง ทั้งเครื่ องดื่ม และอาหาร
           3. ร้านอาหารที่มีการฝึ กอบรมพนักงานในร้านอย่างดี
           4. ร้านอาหารทุกสาขาต้องมีมาตรฐานเดียวกันเท่านั้น
           โดยชื่อใหม่ มี ตัว “D” ซึ่งคือตัวแทนของแดรี่ ควีนที่ทุกคนรู้จก โดยสาขาต้นแบบที่เขาเลือกทาอยูริม
                                                                        ั                                  ่
แม่น้ าเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี ซึ่งสาขานี้เรี ยกว่า “D สะพานกรุ งเทพฯ และให้นิยามของสาขานี้ว่า “โรงสีอาหาร”
เนื่องจากพื้นที่เดิมเคยเป็ นโรงสีขาวของตระกูลหวังหลี และเป็ นโรงสีขาวที่ทนสมัยที่สุดด้วย นอกจากนั้น
                                    ้                ่                    ้    ั
ร้านนี้ยงจัดอยูในกลุ่มโพลต์ โมเดิร์น โดยเจ้าของตั้งใจทาเพื่อขยายกลุ่มลูกค้า ด้วยการใช้สีสนของโต๊ะ
         ั        ่                                                                                 ั
อาหาร การตกแต่ง และองค์ประกอบอื่น ๆ ให้ดูแปลกตา เพื่อใช้เป็ นจุดดึงดูดลูกค้าในช่วงของการสร้าง
Brand ใหม่อีกครั้ง

เกร็ดการตลาด นวัตกรรมสร้ างตลาด
         ปัจจัยสาคัญของการทาตลาดเครื่ องดื่มเพื่อสุขภาพให้ประสบความสาเร็ จนั้น ต้องอาศัยการสร้าง
ความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดขึ้นกับผูบริ โภคให้ได้ ในขณะเดียวกันก็จะต้องตอบสนองความต้องการให้มาก
                                    ้
ที่สุด
         บริ ษท ยูนิเพรสซิเดนท์ (ประเทศไทย) จากัด กาลังผลักดันให้แบรนด์ยนิฟ สามารถก้าวไปสู่
               ั                                                                ู
เป้ าหมายการเติบโต 60% ในปี 2546 สิ่งที่ทาให้ยนิฟมันใจว่า จะสามารถเติบโตได้สูงตามเป้ าหมาย เนื่องจาก
                                                ู ่
การทาตลาดของยูนิฟที่ผานมา มีตาแหน่งทางการตลาดชัดเจนว่า เป็ นสินค้าเพื่อสุขภาพ และมีไลน์สินค้า
                          ่
ค่อนข้างหลากหลาย ตั้งแต่น้ าผักผลไม้ 100% และ 40% น้ าผลไม้นานาชนิด ไปจนถึงน้ าชาเขียว และกาแฟ
ความหลากหลายนี้เกิดจากการที่ยนิฟให้ความสาคัญกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมอยูตลอดเวลา การสร้าง
                                      ู                                       ่
รสชาติแปลกใหม่ในสินค้าให้ผบริ โภครับรู้อยูเ่ สมอเพื่อสร้างความต่างให้โดดเด่นในตลาดนับเป็ นสิ่งจาเป็ น
                                 ู้
อย่างยิงกับสินค้าอาหารและเครื่ องดื่ม
       ่
         สินค้าประเภทอาหาร ต้องได้รับความเชื่อมันจากผูบริ โภคเป็ นอันดับแรก จากนั้นต้องพยายามทาให้
                                                  ่      ้
ผูบริ โภคอยูใกล้ชิดคุนเคยและเหนือสิ่งใด คือ จะต้องเข้าใจพฤติกรรมผูบริ โภคอย่างถ่องแท้ว่าต้องการอะไร
   ้         ่       ้                                              ้
เพราะพฤติกรรมของผูบริ โภคเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
                        ้
การสร้างความสาเร็ จให้กบยูนิฟก็คือ ต้องมีขอมูลที่เป็ นความต้องการที่แท้จริ งของผูบริ โภคเพื่อที่จะ
                                  ั                  ้                                    ้
สามารถตอบสนองความต้องการของผูบริ โภคได้ตรงความต้องการจริ ง ๆ เพราะปัจจุบน ผูบริ โภคมีความรู้
                                     ้                                                ั ้
ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ที่ตองได้มาตรฐานที่สาคัญมีขอมูลในการเลือกซื้อค่อนข้างมาก ดังนั้น ยูนิฟจึงให้
                           ้                           ้
ความสาคัญกับการวิจยการตลาด โดยแบ่งเป็ นการวิจยก่อนออกสินค้าและหลังออกสินค้าแล้ว คือ ก่อนออก
                        ั                          ั
สินค้านั้นจะมีการวิจยเพื่อจะดูว่าขณะนี้ผบริ โภคต้องการอะไร ขาดอะไร ไม่พอใจสินค้าอะไร เพื่อจะดูว่า
                      ั                 ู้
ตรงไหน คือ สิ่งที่น่าจะลงทุน และหลังจากสินค้าออกสู่ตลาด ก็มการทา Sensory Test ซึ่งเป็ นการทดสอบผล
                                                                ี
เกี่ยวกับความรู้สึกต่อ ผลิตภัณฑ์

เกร็ดการตลาด ขนมขบเคียว : รสชาติที่กาลังเปลียนไป
                            ้                           ่
            ตลาดขนมขบเคี้ยวมีอตราเติบโตขึ้น 7% และมีการแข่งขันอย่างสูงของบริ ษท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ฟูดส์
                                  ั                                                 ั
(ประเทศไทย) ได้มีการออกมันฝรั่งทอดกรอบเทสโต รสวาซาบิ เข้าตลาด ตามกระแสวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มา
ในช่วงนี้ แม้ว่ารสวาซาบิจะไม่ค่อยเป็ นที่คุนเคย แต่รสชาติที่มีเอกลักษณ์ คาดว่าจะได้รับการยอมรับได้ ทั้ง
                                            ้
โฆษณาที่ดึงดูดความสนใจให้อยากลอง และแจกของตัวอย่างให้ลองชิม จึงทาให้ยอดขายของเทสโต เติบโต
ขึ้น สามารถเพิ่มส่ วนแบ่งตลาดในส่วนของผูนาอย่างมันฝรั่งเลย์ได้ ซึ่งนอกจากผลกระทบนี้แล้ว การที่เลย์
                                                 ้
ขึ้นราคาก็เป็ นส่วนให้ยอดขายของเลย์ลดลง เพราะไม่มคู่แข่งรายใดลดตาม อีกทั้งร้านค้าย่อยยังช่วยผลักดัน
                                                          ี
เทสโตแทนเลย์อีกด้วย บริ ษทฟรี โต-เลย์ ประเทศไทยจากัด จึงตอบโต้ค่แข่งด้วยการออกเลย์รสโนริ สาหร่ าย
                              ั                                       ู
ซึ่งได้มีการทาวิจย พบว่า คนไทยชอบสาหร่ ายเพราะด้วยรสชาติและคุณค่าทางอาหาร และเพิ่มน้ าหนักของ
                   ั
เลย์ทุกรสชาติดวย รวมทั้งส่งเสริ มการตลาดด้วยการส่งชิ้นส่วนชิงรางวัล ทาให้ตลาดมันฝรั่งทอดกรอบ
                 ้
แข่งขันกัน รุ นแรงยิงขึ้น บริ ษทฟรี โต-เลย์ ยังได้รุกตลาดขนมขบเคี้ยวชนิดขึ้นรู ป โดยแนะนา “ตะวัน” ขนม
                     ่          ั
ขบเคี้ยวที่มรสชาติแบบไทย ซึ่งคาดหวังว่าจะสามารถเข้าเป็ นผูนาร่ วมในตลาดนี้ได้ เพราะตลาดส่วนนี้ เป็ น
              ี                                                ้
ตลาดใหญ่และไม่มียหอใดยีหอหนึ่งสามารถครองส่วนแบ่งตลาดสูงไว้ได้ โดยมีผนาร่ วมอยู่ 5 ราย และตลาด
                       ี่ ้ ่ ้                                                  ู้
ส่วนนี้มกนิ ยมใช้กลยุทธ์ที่ใช้ของแถมล่อใจผูบริ โภคที่เป็ นเด็กและนอกจากตลาดขนมขบเคี้ยวชนิดขึ้นรู ป
          ั                                    ้
และมันฝรั่งทอดกรอบแล้ว ตลาดปลาแผ่นรสเผ็ด ก็เป็ นตลาดที่น่าสนใจ บริ ษท ธีร์ – โฮลดิ้ง จากัด เจ้าของ
                                                                            ั
ปลาเส้นพิชโช สามารถทายอดขายจากตลาดส่วนนี้ได้อย่างมาก จากจุดขายตรงที่ความเผ็ด และส่งเสริ มการ
ขายอย่างต่อเนื่อง และตลาดถัวลิสงอบกรอบที่ถกขนมขบเคี้ยวประเภทอื่นแบ่งตลาดอย่างบริ ษทโรงงานแม่
                                    ่               ู                                      ั
รวย จากัด เจ้าของโก๋ แก่ จึงต้องปรับกลยุทธ์ใหม่ มีการวิจยการตลาด หากลุ่มเป้ าหมายที่แท้จริ งของสินค้า
                                                            ั
คาดว่าจะช่วยให้ยอดขายดีข้ ึน เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริ โภค
                                                      ้
1. เนื่องจากวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่กาลังเข้ามาช่วงนี้ ทาให้คนไทยรับเอามาเกิดกระแสความคลังไคล้  ่
นิยมอาหารญี่ปุ่น ดารา นักร้องญี่ปุ่น ทาให้ผผลิตทาการผลิตสินค้าที่ตอบสนองความต้องการในช่วงนี้ เป็ น
                                               ู้
อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อของผูบริ โภค และสามารถทาให้แผ่กระจายจากตัว
                                                                 ้
เมืองไปยังต่างจังหวัดอีกด้วย อย่างที่เทสโต ออกรสวาซาบิ ซึ่งเป็ นรสชาติของคนญี่ปุ่น แม้ว่าไม่คุนเคยกับ
                                                                                                 ้
คนไทย ซึ่งกับกลุ่มวัยรุ่ นในต่างจังหวัดด้วยแล้ว แต่เมื่อได้ลองชิม ประกอบกับการส่งเสริ มการขายด้วยการ
โฆษณา ทาให้เป็ นที่นิยมในกรุ งเทพฯ และกระจายไปยังต่างจังหวัด
          2. อิทธิพลจากลุ่มอ้างอิงอื่น ๆ เช่น นักแสดง ดารา นักร้อง ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผูบริ โภค จาก
                                                                                              ้
การที่บริ ษทฟรี โตลย์ ได้เลือกดาราชื่อดังมาเป็ นพรี เซ็นเตอร์ เช่น คัทรี ยา แมคอินทอช ที่ถกมองว่า มีความ
            ั                                                                             ู
สวยงามสง่า สนุกสนาน มองโลกในแง่ดี ห่วงใยคนรอบข้าง ทาให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อตัวผลิตภัณฑ์
ผูบริ โภคอาจเกิดความรู้สึกที่อยากซื้อเลย์มารับประทาน
  ้
          3. เพราะว่าผูบริ โภคแต่ละคนมีความชอบที่แตกต่างกัน รสชาติของขนมขบเคี้ยวที่รับประทานก็
                         ้
ชอบไม่เหมือนกัน การนาเสนอผลิตภัณฑ์ ควรที่จะมีการศึกษาวิจยถึงกลุ่มเป้ าหมายของบริ ษท ว่าจับที่กลุ่ม
                                                                   ั                        ั
ใด และกลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้มีความชื่นชอบอย่างใด เพื่อให้สามารถทาการตลาดได้ตรงกลุ่มเป้ าหมาย ช่วยเพิ่ม
ยอดขายให้กบบริ ษทได้
              ั     ั
พฤติกรรมการซือของตลาดชั้นสู ง
                    ้
         สินค้าที่ชนชั้นเหล่านี้แสวงหาเพื่อตอบเสนองความต้องการของตนเอง คือ สินค้าที่สามารถเสริ ม
ฐานะ ทางสังคม และได้รับการยอมรับจางสังคม โดยจะไม่ให้ความสาคัญกับปัจจัยด้านราคา เช่น กระเป๋ า
Hermes หนังจระเข้ ราคาตั้งแค่ 2 แสน ถึง 5 ล้านบาท , รถยนต์ Roll-Royce phantom ราคาประมาณ 12 ล้าน
เป็ นต้น

       พฤติกรรมการใช้ และบริโภค
         การนาชั้นทางสังคมมาใช้ในการตลาดนั้นเกิดขึ้นจากเชื่อของนักการตลาดที่ว่าผูบริ โภคแต่ละคนมี
                                                                                 ้
ความปรารถนาที่จะนาตนเองสู่ชนชั้นสังคมที่สูงขึ้นจึงเลียนแบบพฤติกรรมและการบริ โภคของบุคคลที่อยู่
ในชั้นสังคมเหนือตนขึ้นไป
         เช่น การใช้บตรเครดิตไม่จากัด วงเงิน,กระเป๋ าแบรนร์เนม ราคาแพง,รถยนต์หลูหรา
                     ั

       พฤติกรรมการรับสื่ อ
       การรับท่อจาแนกประเภทระดับสูง ตามกระแสแฟชัน รับข่าวสารต่างๆ เช่น นิตยสาร Hi-Class ,
                                                        ่
หนังสือพิมพ์ “ธุรกิจ” ดูข่าวจากต่างประเทศ การเดินห้างสรรพสินค้า เช่น Paragon และ เข้าสมาคมชนชั้นสูง

       พฤติกรรมการตอบสนองต่อกิจกรรมการตลาด
       มีการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ สินค้าตามกระแสแฟชัน
                                                       ่
ตัวอย่ างบริษัท ที่ทาการตลาดกับกลุ่ม Higher Market
           บริ ษท จาหน่ายสุรา Johnnie walker เป็ นสุราคุณภาพสูง ซึ่งมีสินค้านแรกนั้น จะทาการบดพวก
                ั
เมล็ดธัญชาติพวกนี้ก่อนครับ เพื่อให้กลไกทางเคมี และจุลนทรี ยช่วยกันดึงน้ าตาลมอลโตสออกมาให้เยอะ
                                                            ิ    ์
ที่สุด ขั้นตอนนี้เรี ยกว่าการเตรี ยม Malted Barley จากนั้นเขาก็จะเอาเจ้าตัวนี้ทาการ Masนแรกนั้น จะทาการ
บดพวกเมล็ดธัญชาติพวกนี้ก่อนครับ เพื่อให้กลไกทางเคมี และจุลินทรี ยช่วยกันดึงน้ าตาลมอลโตสออกมา
                                                                          ์
ให้เยอะที่สุด ขั้นตอนนี้เรี ยกว่าการเตรี ยม Malted Barley จากนั้นเขาก็จะเอาเจ้าตัวนี้ทาการ เช่น
           -Blue Labal
           -Gold Labal

        ตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ (STP)

                                             ความนิยม สูง




    รู ปลักษณ์ ปานกลาง                                                              รู ปลักษณ์ ดี




                                          ความนิยม ปานกลาง




คาถามเพืออภิปรายในชั้นเรียน
        ่
        1.จงยกตัวอย่างสินค้าที่ตอบสนองกลุ่มชนชั้น Higher market ?
        2.กลุ่มบุคคลของชนชั้นระดับสูง คือใคร ?
        3.พฤติกรรมการรับสื่อของชนชั้นสูง คืออะไร ?
ผู้จดทา
    ั
1.นายสุจินดา         กุลตังวัฒนา     54010911193
2.นายศราวุฒิ         ปิ ตะฝ่ าย      54010911139
3.นายฐิศิวฒน์
          ั          ด่านประเสริ ฐ   54010911172
4.นางสาวเกษรานี      จรทะผา          54010911006
5.นางสาวเบญจมาภรณ์   มาหาร           54010914701

More Related Content

Similar to กลุ่ม6 higher market

เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อsupatra39
 
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมpattaranunonaron
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1suthaising
 

Similar to กลุ่ม6 higher market (20)

เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Merchandizing Management
Merchandizing ManagementMerchandizing Management
Merchandizing Management
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
โฆษณา
โฆษณาโฆษณา
โฆษณา
 
Customer loyalty
Customer loyaltyCustomer loyalty
Customer loyalty
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรมความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมมิติเชิงพฤติกรรม
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
TH Developing communication target
TH Developing communication targetTH Developing communication target
TH Developing communication target
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1
 

กลุ่ม6 higher market

  • 1. Higher Market ลักษณะและพฤติกรรมทั่วไปของ Higher Market เป็ นชนชั้นสูงที่สุด สินค้าที่ชนชั้นเหล่านี้แสวงหาเพื่อตอบเสนองความต้องการของตนเอง คือ สินค้าที่สามารถเสริ มฐานะ ทางสังคม และได้รับการยอมรับจางสังคม โดยจะไม่ให้ความสาคัญกับปัจจัย ด้านราคา เช่น กระเป๋ า Hermes หนังจระเข้ ราคาตั้งแค่ 2 แสน ถึง 5 ล้านบาท , รถยนต์ Roll-Royce phantom ราคาประมาณ 12 ล้าน เป็ นต้น ชั้นที่ 1 Upper-Upper class ประกอบด้วยครอบครัวที่มีชื่อเสียงเก่าแก่ผเู้ กิดมา “บนกองเงินกองทอง” เป็ นกลุ่มที่เล็กที่สุดในชนชั้นทางสังคม ซึ่งสมาชิกในชนชั้นส่วนใหญ่จะประกอบด้วย ราชวงศ์ และตระกูลผู้ ดีกว่า ชั้นที่ 2 Lower-Upper class เป็ นชนชั้น “คนรวยหน้าใหม่” เพิ่งจะมีทรัพย์สมบัติและยังไม่เป็ นสิ่งที่ ยอมรับของคนชั้นที่ 1 บุคคลเหล่านี้เป็ นผูยงใหญ่ในวงการบริ หาร จัดว่าอยูในระดับ “มหาเศรษฐี” ้ ิ่ ่ ทัศนคติ ทัศนคติต่าง ๆ ต่างก็ก่อตัวขึ้นมาในขณะที่มนุษย์ตองเกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ และบุคคล ต่าง ๆ อยู่ ้ ตลอดเวลาในชีวิตประจาวัน ด้วยเหตุน้ ีจึงความรู้สึก ความเชื่อ และแบบของการปฏิบติตอบที่แสดงออกจะมี ั ลักษณะเกิดขึ้นมาซ้ า ๆ ซาก ๆ เสมอ จนในที่สุดจะถูกเก็บไว้เป็ นความทรงจาและในทางกลับกับ ปัจจัยพื้นฐานที่สมพันธ์กนเหล่านี้กจะกลายมาเป็ นแนวโน้มที่เป็ นไปทางใดทางหนึ่งที่จะถูกนามาใช้ประเมิน ั ั ็ เป็ นลักษณะของการชอบ หรื อไม่ชอบสิ่งของหรื อตัวบุคคล ต่อจากนั้นผลจากการจัดระเบียบทางจิตใจจน กลายเป็ นทัศนคติน้ ี ซึ่งจะช่วยให้การกระทาของเขามีความสม่าเสมอ คงที่เป็ นแบบใดแบบหนึ่ง และสามารถ คาดการณ์ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ตัวบุคคลจะมีการวางแผนที่จดไว้ เพื่อสาหรับการคิดและการประพฤติ ั ต่าง ๆ และจะกลายเป็ นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลดังกล่าวไม่ตองเผชิญกับปัญหายุงยากในทุกครั้งที่ตองเผชิญกับ ้ ่ ้ ปรากฏการณ์ที่แปลกใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ทศนคติได้ก่อตัวขึ้นแล้ว ั ด้วยตาแหน่งที่ต้งของทัศนคติและค่านิยม แสดงให้เห็นว่า ทัศนคติที่มีอยูน้ ีจะมีผลอย่างมากต่อ ั ่ กระบวนการเปรี ยบเทียบ ในฐานะที่จะเป็ นเครื่ องกลันกรองสิ่งต่าง ๆ ที่รับเข้ามา ตัวอย่างเช่น การที่บุคคลใด ่ บุคคลหนึ่งมีทศนคติท่ีดีต่อร้านค้าที่ขายเสื้อผ้าร้านใดร้านหนึ่ง เช่น อาจชอบร้าน ดวงใจบีช หรื อฟลายนาว ั ดังนี้ ด้วยการมีทศนคติดงกล่าวนี้เอง อาจมีทางเป็ นไปได้ที่เขาอาจไม่มีความต้องการที่จะไปเสาะหาซื้อ ั ั เสื้อผ้าจากร้านอื่น ๆ อีก และจะซื้อจากร้านที่ตนชอบเท่านั้น แนวความคิดเกี่ยวกับทัศนคติสมพันธ์กบการ ั ั ดาเนินการของตลาด ดังนี้คือ
  • 2. 1. ขั้นเริ่มต้นของการดาเนินการตลาด นักวิชาการหลายคนเชื่อว่า องค์ประกอบด้านความรู้ ความเข้าใจในทัศนคติของผูที่คาดว่าจะเป็ นผูบริ โภคจะเกี่ยวข้องกับขั้นตอนแรกเริ่ มของการดาเนินการของ ้ ้ ตลาด ในขั้นตอนนี้ นักการตลาดต้องเสนอพลังทางการตลาดต่างๆ (Marketing forces) ในรู ปของส่วน ประสมทางการตลาด (Marketing mix) ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิงการเตรี ยมโฆษณาเพื่อที่จะทาการ ่ เปลี่ยนบุคคลเหล่านั้นจากความไม่รู้ตวเป็ นรู้ตว และเข้าใจตามลาดับ ในบางกรณี ข้นตอนนี้นกการตลาดจะ ั ั ั ั ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลข่าวสารแก่ผบริ โภคที่กาลังทาการเสาะแสวงหาข่าวสารของผลิตภัณฑ์ ตรายีหอของคู่ ู้ ่ ้ แข่งขันอยูดวย ่ ้ 2. ขั้นระหว่างการดาเนินการตลาด ขั้นตอนนี้เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบเกี่ยวกับความชอบ พอกับผลิตภัณฑ์ตราใดตราหนึ่ง โดยเฉพาะขั้นตอนนี้นกการตลาด ต้องพยายามให้ผบริ โภคมีภาพพจน์และ ั ู้ ภาพลักษณ์ที่ดีเกี่ยวกับตราสินค้าของกิจการ ที่ดีเพื่อพัฒนาให้เกิดความภักดีต่อตราให้ได้ 3. ขั้นสุ ดท้ ายของการดาเนินการตลาด ผูบริ โภคในขั้นตอนนี้อยูใกล้กบการตัดสินใจซื้อ ้ ่ ั มากแล้วนักการตลาดจึงควรโน้มน้าวชักจูงให้ผบริ โภคเกิด ความโน้มเอียงที่จะก่อพฤติกรรม การซื้อและการ ู้ ตัดสินใจซื้อ
  • 3. ทัศนคติเกิดจากการที่ผบริ โภคสามารถนึกเห็นภาพพจน์ได้ ู้ ทัศนคติเกิดจากการที่ผบริ โภคคุนเคย ู้ ้ ที่มา นิตยสาร Brandage ปี ที่ 4 ฉบับที่ 6 มิถุนายน 2546 หน้า 43
  • 4. จากคาจากัดความของทัศนคติ ซึ่งมีองค์ประกอบทางด้านความรู้สึก (Affective) เป็ นเครื่ องวัดโดย การให้ความหมายแก่ทางเลือกต่าง ๆ ที่ผบริ โภคสามารถนึกเห็นภาพพจน์ได้ พร้อมๆ กันนี้เขาก็ใช้ ู้ องค์ประกอบทางด้านความรู้ ความเข้าใจ เช่นกัน สาหรับองค์ประกอบทางด้านพฤติกรรมที่รวมอยูในคา ่ นิยามของทัศนคติ เนื่องจากเป็ นความตั้งใจทางด้านพฤติกรรม (Behavioral intentions) ซึ่งอาจยังไม่มี บทบาทใดเลยจนกว่า ผูบริ โภคถึงจุดที่กาลังจะตระหนักถึงปัญหาที่จะต้องตัดสินใจและเริ่ มมีพฤติกรรมการ ้ แก้ปัญหา โดยแท้ที่จริ งแล้วทัศนคติสมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความตั้งใจที่จะก่อพฤติกรรม ั การเปลี่ยนแปลงทัศนคติจะเกิดขึ้นได้จากภาวะการณ์หลายอย่าง ได้แก่ ความขัดแย้ง ความแตกต่าง กัน ความไม่แน่นอน ของสิ่งหนึ่งกับสิ่งที่เจ้าของเชื่อหรื อความเชื่อที่มีอยูเ่ ดิม วิธีการใหญ่ ๆ 2 วิธีในการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติน้ น ได้แก่ การใช้วิธีการที่อาศัยอิทธิพลของกลุ่ม เป็ นวิธีการที่ทาให้บุคคลตระหนักว่า ั การปฏิบติหรื อพฤติกรรมของตนเองไม่เหมือนกับของกลุม ั ่ จึงพยายามที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้ เหมือนกับของกลุ่ม ส่วนวิธีการที่ใช้การติดต่อสื่อความหมายอย่างเป็ นทางการนั้น จะเป็ นวิธีการที่ช่วยให้ เกิดความแตกต่างระหว่างสิ่งที่บุคคลกาลังเป็ นอยูกบสิ่งที่เขาควรจะเป็ นหรื อควรจะปฏิบติ สิ่งที่เขาควรจะ ่ ั ั ได้รับสิ่งตอบแทนหรื อสิ่งที่เขาควรจะหลีกเลี่ยงการลงโทษหรื อควรจะเป็ นผูที่สามารถคิดอย่างมีเหตุผล ้ วิธีการอันนี้จะช่วยให้บุคคลเปลี่ยนแปลงทัศนคติอนสืบเนื่องมาจากความต้องการภายในของบุคคลนั้นจริ งๆ ั เกร็ดการตลาด “บทเรียนสาหรับ SME : แดรี่ควีนไทยต้องสร้ าง Brand ใหม่อกครั้ง” ี แดรี่ ควีนเป็ นร้านอาหารเล็ก ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีตระกูลปรี ชาหาญเป็ น เจ้าของ และดูแลมาตลอด 30 ปี มี 3 สาขา คือ สาขาเกษตศาสตร์ สาขาสะพานพระนังเกล้า และสาขาบางนา ่ (ริ มถนนบางนา - ตราด) การลงทุนของกลุ่มนี้เป็ นแบบอนุรักษ์นิยม ไม่มุ่งขยายสาขา แต่จะบริ หารแต่ละ สาขาให้มีความมันคง และควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานที่ต้งไว้ ่ ั หากแต่ชื่อ “แดวีควีน” นั้นไปซ้ ากับ ร้านขายไอศกรี มของต่างประเทศ ที่เข้ามาในเมืองไทย เมื่อกว่า ่ 10 ปี ผ่านมา ปัญหาเรื่ องชื่อหรื อ Brand ที่ซ้ ากันในทางธุรกิจนั้นถือเป็ นเรื่ องใหญ่ เพราะมีกฎเกณฑ์หามใช้ซ้ า ้ กัน “แดรี่ ควีนของธัชพล” เปิ ดมานานกว่า แต่ไม่มการจดเครื่ องหมายการค้าชื่อ แดรี่ ควีน ขณะที่ “แด ี รี่ ควีน”จากต่างประเทศเมื่อเข้ามาเปิ ดกิจการก็ได้จดเครื่ องหมายการค้าชื่อร้าน ตามกฎหมายคุมครอง ้ ทรัพย์สินทางปัญญาจะให้สิทธิแก่ผที่จดทะเบียนทรัพย์สินนั้นไว้ก่อน ู้ ดังนั้นสิทธิครอบครองชื่อหรื อ เครื่ องหมายการค้านี้จึงตกเป็ นของแดรี่ ควีนสัญชาติอเมริ กา ผูนาชื่อไปจดทะเบียนก่อนตามกฎหมาย ้ เนื่องจากการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า ชื่อสินค้า รวมไปถึงสิทธิบตรในกระบวนการผลิต ๆ ั นั้น กฎหมายจะคุมครองเฉพาะในประเทศเท่านั้น กรณีของแดรี่ ควีนสัญชาติไทย แม้จะมีอายุการ ้ ประกอบการยาวนานกว่าแดรี่ ควีนสัญชาติอเมริ กา ทว่าตามกฎหมายของไทยที่นบอายุของเครื่ องหมาย ั การค้าเมื่อมีผนาชื่อนั้นมาจดทะเบียนแล้วเท่านั้น ู้
  • 5. ดังนั้น “แดรี่ ควีนสัญชาติไทย” จึงแก้ปัญหาด้วยการสร้าง Brand ใหม่ โดยมีแนวคิดรวบยอดดังนี้ 1. เป็ นร้านอาหารที่เน้นทุกกลุ่มเป้ าหมาย ครอบครัว คนสูงอายุ แต่จะเพิ่มกลุ่มลูกค้าวัยรุ่ นเข้าไป อีก 2. ร้านอาหารที่ราคาไม่แพง ทั้งเครื่ องดื่ม และอาหาร 3. ร้านอาหารที่มีการฝึ กอบรมพนักงานในร้านอย่างดี 4. ร้านอาหารทุกสาขาต้องมีมาตรฐานเดียวกันเท่านั้น โดยชื่อใหม่ มี ตัว “D” ซึ่งคือตัวแทนของแดรี่ ควีนที่ทุกคนรู้จก โดยสาขาต้นแบบที่เขาเลือกทาอยูริม ั ่ แม่น้ าเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี ซึ่งสาขานี้เรี ยกว่า “D สะพานกรุ งเทพฯ และให้นิยามของสาขานี้ว่า “โรงสีอาหาร” เนื่องจากพื้นที่เดิมเคยเป็ นโรงสีขาวของตระกูลหวังหลี และเป็ นโรงสีขาวที่ทนสมัยที่สุดด้วย นอกจากนั้น ้ ่ ้ ั ร้านนี้ยงจัดอยูในกลุ่มโพลต์ โมเดิร์น โดยเจ้าของตั้งใจทาเพื่อขยายกลุ่มลูกค้า ด้วยการใช้สีสนของโต๊ะ ั ่ ั อาหาร การตกแต่ง และองค์ประกอบอื่น ๆ ให้ดูแปลกตา เพื่อใช้เป็ นจุดดึงดูดลูกค้าในช่วงของการสร้าง Brand ใหม่อีกครั้ง เกร็ดการตลาด นวัตกรรมสร้ างตลาด ปัจจัยสาคัญของการทาตลาดเครื่ องดื่มเพื่อสุขภาพให้ประสบความสาเร็ จนั้น ต้องอาศัยการสร้าง ความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดขึ้นกับผูบริ โภคให้ได้ ในขณะเดียวกันก็จะต้องตอบสนองความต้องการให้มาก ้ ที่สุด บริ ษท ยูนิเพรสซิเดนท์ (ประเทศไทย) จากัด กาลังผลักดันให้แบรนด์ยนิฟ สามารถก้าวไปสู่ ั ู เป้ าหมายการเติบโต 60% ในปี 2546 สิ่งที่ทาให้ยนิฟมันใจว่า จะสามารถเติบโตได้สูงตามเป้ าหมาย เนื่องจาก ู ่ การทาตลาดของยูนิฟที่ผานมา มีตาแหน่งทางการตลาดชัดเจนว่า เป็ นสินค้าเพื่อสุขภาพ และมีไลน์สินค้า ่ ค่อนข้างหลากหลาย ตั้งแต่น้ าผักผลไม้ 100% และ 40% น้ าผลไม้นานาชนิด ไปจนถึงน้ าชาเขียว และกาแฟ ความหลากหลายนี้เกิดจากการที่ยนิฟให้ความสาคัญกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมอยูตลอดเวลา การสร้าง ู ่ รสชาติแปลกใหม่ในสินค้าให้ผบริ โภครับรู้อยูเ่ สมอเพื่อสร้างความต่างให้โดดเด่นในตลาดนับเป็ นสิ่งจาเป็ น ู้ อย่างยิงกับสินค้าอาหารและเครื่ องดื่ม ่ สินค้าประเภทอาหาร ต้องได้รับความเชื่อมันจากผูบริ โภคเป็ นอันดับแรก จากนั้นต้องพยายามทาให้ ่ ้ ผูบริ โภคอยูใกล้ชิดคุนเคยและเหนือสิ่งใด คือ จะต้องเข้าใจพฤติกรรมผูบริ โภคอย่างถ่องแท้ว่าต้องการอะไร ้ ่ ้ ้ เพราะพฤติกรรมของผูบริ โภคเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ้
  • 6. การสร้างความสาเร็ จให้กบยูนิฟก็คือ ต้องมีขอมูลที่เป็ นความต้องการที่แท้จริ งของผูบริ โภคเพื่อที่จะ ั ้ ้ สามารถตอบสนองความต้องการของผูบริ โภคได้ตรงความต้องการจริ ง ๆ เพราะปัจจุบน ผูบริ โภคมีความรู้ ้ ั ้ ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ที่ตองได้มาตรฐานที่สาคัญมีขอมูลในการเลือกซื้อค่อนข้างมาก ดังนั้น ยูนิฟจึงให้ ้ ้ ความสาคัญกับการวิจยการตลาด โดยแบ่งเป็ นการวิจยก่อนออกสินค้าและหลังออกสินค้าแล้ว คือ ก่อนออก ั ั สินค้านั้นจะมีการวิจยเพื่อจะดูว่าขณะนี้ผบริ โภคต้องการอะไร ขาดอะไร ไม่พอใจสินค้าอะไร เพื่อจะดูว่า ั ู้ ตรงไหน คือ สิ่งที่น่าจะลงทุน และหลังจากสินค้าออกสู่ตลาด ก็มการทา Sensory Test ซึ่งเป็ นการทดสอบผล ี เกี่ยวกับความรู้สึกต่อ ผลิตภัณฑ์ เกร็ดการตลาด ขนมขบเคียว : รสชาติที่กาลังเปลียนไป ้ ่ ตลาดขนมขบเคี้ยวมีอตราเติบโตขึ้น 7% และมีการแข่งขันอย่างสูงของบริ ษท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ฟูดส์ ั ั (ประเทศไทย) ได้มีการออกมันฝรั่งทอดกรอบเทสโต รสวาซาบิ เข้าตลาด ตามกระแสวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มา ในช่วงนี้ แม้ว่ารสวาซาบิจะไม่ค่อยเป็ นที่คุนเคย แต่รสชาติที่มีเอกลักษณ์ คาดว่าจะได้รับการยอมรับได้ ทั้ง ้ โฆษณาที่ดึงดูดความสนใจให้อยากลอง และแจกของตัวอย่างให้ลองชิม จึงทาให้ยอดขายของเทสโต เติบโต ขึ้น สามารถเพิ่มส่ วนแบ่งตลาดในส่วนของผูนาอย่างมันฝรั่งเลย์ได้ ซึ่งนอกจากผลกระทบนี้แล้ว การที่เลย์ ้ ขึ้นราคาก็เป็ นส่วนให้ยอดขายของเลย์ลดลง เพราะไม่มคู่แข่งรายใดลดตาม อีกทั้งร้านค้าย่อยยังช่วยผลักดัน ี เทสโตแทนเลย์อีกด้วย บริ ษทฟรี โต-เลย์ ประเทศไทยจากัด จึงตอบโต้ค่แข่งด้วยการออกเลย์รสโนริ สาหร่ าย ั ู ซึ่งได้มีการทาวิจย พบว่า คนไทยชอบสาหร่ ายเพราะด้วยรสชาติและคุณค่าทางอาหาร และเพิ่มน้ าหนักของ ั เลย์ทุกรสชาติดวย รวมทั้งส่งเสริ มการตลาดด้วยการส่งชิ้นส่วนชิงรางวัล ทาให้ตลาดมันฝรั่งทอดกรอบ ้ แข่งขันกัน รุ นแรงยิงขึ้น บริ ษทฟรี โต-เลย์ ยังได้รุกตลาดขนมขบเคี้ยวชนิดขึ้นรู ป โดยแนะนา “ตะวัน” ขนม ่ ั ขบเคี้ยวที่มรสชาติแบบไทย ซึ่งคาดหวังว่าจะสามารถเข้าเป็ นผูนาร่ วมในตลาดนี้ได้ เพราะตลาดส่วนนี้ เป็ น ี ้ ตลาดใหญ่และไม่มียหอใดยีหอหนึ่งสามารถครองส่วนแบ่งตลาดสูงไว้ได้ โดยมีผนาร่ วมอยู่ 5 ราย และตลาด ี่ ้ ่ ้ ู้ ส่วนนี้มกนิ ยมใช้กลยุทธ์ที่ใช้ของแถมล่อใจผูบริ โภคที่เป็ นเด็กและนอกจากตลาดขนมขบเคี้ยวชนิดขึ้นรู ป ั ้ และมันฝรั่งทอดกรอบแล้ว ตลาดปลาแผ่นรสเผ็ด ก็เป็ นตลาดที่น่าสนใจ บริ ษท ธีร์ – โฮลดิ้ง จากัด เจ้าของ ั ปลาเส้นพิชโช สามารถทายอดขายจากตลาดส่วนนี้ได้อย่างมาก จากจุดขายตรงที่ความเผ็ด และส่งเสริ มการ ขายอย่างต่อเนื่อง และตลาดถัวลิสงอบกรอบที่ถกขนมขบเคี้ยวประเภทอื่นแบ่งตลาดอย่างบริ ษทโรงงานแม่ ่ ู ั รวย จากัด เจ้าของโก๋ แก่ จึงต้องปรับกลยุทธ์ใหม่ มีการวิจยการตลาด หากลุ่มเป้ าหมายที่แท้จริ งของสินค้า ั คาดว่าจะช่วยให้ยอดขายดีข้ ึน เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริ โภค ้
  • 7. 1. เนื่องจากวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่กาลังเข้ามาช่วงนี้ ทาให้คนไทยรับเอามาเกิดกระแสความคลังไคล้ ่ นิยมอาหารญี่ปุ่น ดารา นักร้องญี่ปุ่น ทาให้ผผลิตทาการผลิตสินค้าที่ตอบสนองความต้องการในช่วงนี้ เป็ น ู้ อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อของผูบริ โภค และสามารถทาให้แผ่กระจายจากตัว ้ เมืองไปยังต่างจังหวัดอีกด้วย อย่างที่เทสโต ออกรสวาซาบิ ซึ่งเป็ นรสชาติของคนญี่ปุ่น แม้ว่าไม่คุนเคยกับ ้ คนไทย ซึ่งกับกลุ่มวัยรุ่ นในต่างจังหวัดด้วยแล้ว แต่เมื่อได้ลองชิม ประกอบกับการส่งเสริ มการขายด้วยการ โฆษณา ทาให้เป็ นที่นิยมในกรุ งเทพฯ และกระจายไปยังต่างจังหวัด 2. อิทธิพลจากลุ่มอ้างอิงอื่น ๆ เช่น นักแสดง ดารา นักร้อง ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผูบริ โภค จาก ้ การที่บริ ษทฟรี โตลย์ ได้เลือกดาราชื่อดังมาเป็ นพรี เซ็นเตอร์ เช่น คัทรี ยา แมคอินทอช ที่ถกมองว่า มีความ ั ู สวยงามสง่า สนุกสนาน มองโลกในแง่ดี ห่วงใยคนรอบข้าง ทาให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อตัวผลิตภัณฑ์ ผูบริ โภคอาจเกิดความรู้สึกที่อยากซื้อเลย์มารับประทาน ้ 3. เพราะว่าผูบริ โภคแต่ละคนมีความชอบที่แตกต่างกัน รสชาติของขนมขบเคี้ยวที่รับประทานก็ ้ ชอบไม่เหมือนกัน การนาเสนอผลิตภัณฑ์ ควรที่จะมีการศึกษาวิจยถึงกลุ่มเป้ าหมายของบริ ษท ว่าจับที่กลุ่ม ั ั ใด และกลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้มีความชื่นชอบอย่างใด เพื่อให้สามารถทาการตลาดได้ตรงกลุ่มเป้ าหมาย ช่วยเพิ่ม ยอดขายให้กบบริ ษทได้ ั ั
  • 8. พฤติกรรมการซือของตลาดชั้นสู ง ้ สินค้าที่ชนชั้นเหล่านี้แสวงหาเพื่อตอบเสนองความต้องการของตนเอง คือ สินค้าที่สามารถเสริ ม ฐานะ ทางสังคม และได้รับการยอมรับจางสังคม โดยจะไม่ให้ความสาคัญกับปัจจัยด้านราคา เช่น กระเป๋ า Hermes หนังจระเข้ ราคาตั้งแค่ 2 แสน ถึง 5 ล้านบาท , รถยนต์ Roll-Royce phantom ราคาประมาณ 12 ล้าน เป็ นต้น พฤติกรรมการใช้ และบริโภค การนาชั้นทางสังคมมาใช้ในการตลาดนั้นเกิดขึ้นจากเชื่อของนักการตลาดที่ว่าผูบริ โภคแต่ละคนมี ้ ความปรารถนาที่จะนาตนเองสู่ชนชั้นสังคมที่สูงขึ้นจึงเลียนแบบพฤติกรรมและการบริ โภคของบุคคลที่อยู่ ในชั้นสังคมเหนือตนขึ้นไป เช่น การใช้บตรเครดิตไม่จากัด วงเงิน,กระเป๋ าแบรนร์เนม ราคาแพง,รถยนต์หลูหรา ั พฤติกรรมการรับสื่ อ การรับท่อจาแนกประเภทระดับสูง ตามกระแสแฟชัน รับข่าวสารต่างๆ เช่น นิตยสาร Hi-Class , ่ หนังสือพิมพ์ “ธุรกิจ” ดูข่าวจากต่างประเทศ การเดินห้างสรรพสินค้า เช่น Paragon และ เข้าสมาคมชนชั้นสูง พฤติกรรมการตอบสนองต่อกิจกรรมการตลาด มีการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ สินค้าตามกระแสแฟชัน ่
  • 9. ตัวอย่ างบริษัท ที่ทาการตลาดกับกลุ่ม Higher Market บริ ษท จาหน่ายสุรา Johnnie walker เป็ นสุราคุณภาพสูง ซึ่งมีสินค้านแรกนั้น จะทาการบดพวก ั เมล็ดธัญชาติพวกนี้ก่อนครับ เพื่อให้กลไกทางเคมี และจุลนทรี ยช่วยกันดึงน้ าตาลมอลโตสออกมาให้เยอะ ิ ์ ที่สุด ขั้นตอนนี้เรี ยกว่าการเตรี ยม Malted Barley จากนั้นเขาก็จะเอาเจ้าตัวนี้ทาการ Masนแรกนั้น จะทาการ บดพวกเมล็ดธัญชาติพวกนี้ก่อนครับ เพื่อให้กลไกทางเคมี และจุลินทรี ยช่วยกันดึงน้ าตาลมอลโตสออกมา ์ ให้เยอะที่สุด ขั้นตอนนี้เรี ยกว่าการเตรี ยม Malted Barley จากนั้นเขาก็จะเอาเจ้าตัวนี้ทาการ เช่น -Blue Labal -Gold Labal ตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ (STP) ความนิยม สูง รู ปลักษณ์ ปานกลาง รู ปลักษณ์ ดี ความนิยม ปานกลาง คาถามเพืออภิปรายในชั้นเรียน ่ 1.จงยกตัวอย่างสินค้าที่ตอบสนองกลุ่มชนชั้น Higher market ? 2.กลุ่มบุคคลของชนชั้นระดับสูง คือใคร ? 3.พฤติกรรมการรับสื่อของชนชั้นสูง คืออะไร ?
  • 10. ผู้จดทา ั 1.นายสุจินดา กุลตังวัฒนา 54010911193 2.นายศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย 54010911139 3.นายฐิศิวฒน์ ั ด่านประเสริ ฐ 54010911172 4.นางสาวเกษรานี จรทะผา 54010911006 5.นางสาวเบญจมาภรณ์ มาหาร 54010914701