SlideShare a Scribd company logo
1 of 125
บทเรียนสำำเร็จรูป
เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ำย
วิชำภำษำไทย ท๓๒๑๐๑
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕
โดย... นำงนิตยำ ทองดียิ่ง
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
โรงเรียนรัษฎำนุประดิษฐ์อนุสรณ์
อำำเภอวังวิเศษ จ.ตรัง
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ
ภำษำไทย ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕ เพื่อ
ให้กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนน่ำสนใจและ
เกิดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของผู้เรียนให้ดีขึ้น
ลิลิตตะเลงพ่ำยเป็นวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยำ
ศัพท์บำงคำำยำกแก่กำรเข้ำใจ จึงจัดทำำเอกสำร
ประกอบกำรเรียนโดยมีคำำแปลอย่ำงย่อๆ ของแต่ละ
ตอน และมีคำำศัพท์ประกอบเพื่อให้นักเรียนศึกษำและ
อ่ำนเข้ำใจยิ่งขึ้น จะทำำให้นักเรียนเกิดควำมประทับ
ใจในควำมงำมของวรรณคดีไทย อันควรแก่กำร
อนุรักษ์ ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมและเห็นควำมเก่งกล้ำ
สำมำรถของกษัตริย์ไทย
ผู้สอนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ เอกสำรสื่อกำรสอน
วิชำภำษำไทย รหัส ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่
๕ จะเป็นประโยชน์ต่อกำรเรียนกำรสอนอย่ำงยิ่ง
(นำงนิตยำ ทองดียิ่ง)
คำำ
ชี้แจง
๑. ทำำแบบทดสอบก่อนเรียน
๒. อ่ำนเนื้อเรื่องแต่ละตอนให้
เข้ำใจ และทำำกิจกรรมกำรเรียน
รู้ทุกตอนตำมลำำดับ
๓. กำรตอบคำำถำมและทำำ
กิจกรรมกำรเรียนรู้ ให้ทำำใน
กระดำษอื่นซึ่งมิใช่ในเอกสำรนี้
๔. ควรตอบคำำถำมและทำำแบบ
ฝึกหัดให้เสร็จสิ้นก่อนที่จะเปิดดู
เฉลย เพรำะถ้ำเปิดดูคำำตอบ
นักเรียนจะไม่ประสบผลสำำเร็จ
๕. เมื่อศึกษำบทเรียนนี้จบแล้ว
ให้นักเรียนทำำแบบทดสอบหลัง
ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง
๑. สำมำรถศึกษำบอกประวัติของสมเด็จ
พระมหำสมณเจ้ำ
กรมพระปรมำนุชิตชิโนรส
๒. สำมำรถวิเครำะห์ควำมหมำยคำำศัพท์
และเล่ำเรื่องรำวที่อ่ำนได้
๓. สำมำรถอธิบำยจุดมุ่งหมำยของเรื่อง
และเข้ำใจควำมหมำยของถ้อยคำำ
สำำนวนที่ใช้ในงำนประพันธ์ได้
๔. สำมำรถวิเครำะห์เห็นคุณค่ำในด้ำน
ต่ำงๆ และนำำข้อคิดจำกเรื่อง
นำำไปใช้ในชีวิตประจำำวันได้
๕. สำมำรถอธิบำยลักษณะคำำประพันธ์
ประเภทลิลิตได้
๖. สำมำรถวิเครำะห์เรื่องแล้วซำบซึ้งใน
ลิลิตตะเลงพ่ำย
๑. บอกประวัติของสมเด็จ
พระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุ
ชิตชิโนรสได้
๒. บอกควำมหมำยของคำำ
ศัพท์และเล่ำเรื่องรำวที่อ่ำนได้
๓. อธิบำยจุดมุ่งหมำยของ
เรื่องและเข้ำใจควำมหมำยของ
ถ้อยคำำสำำนวนที่ใช้ในงำน
ประพันธ์ได้
๔. อธิบำยเห็นคุณค่ำในด้ำน
ต่ำงๆ และนำำข้อคิดจำกเรื่องนำำ
ไปใช้ในชีวิตประจำำวันได้
๕. อธิบำยลักษณะคำำ
ประพันธ์ประเภทลิลิตได้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
ข. “ลิลิตตะเลงพ่ำย” ได้เค้ำเรื่องมำจำกพระรำช
พงศำวดำร
ค. “ลิลิตพระลอ” เป็นต้นแบบของกำรประพันธ์
“ลิลิตตะเลงพ่ำย”
ง. “ลิลิต” เป็นคำำประพันธ์ที่ประกอบด้วยร่ำยและ
โคลงสลับกัน
๒. “สงครำมยุทธหัตถี” ตรงกับรัชสมัยของกษัตริย์
พม่ำพระองค์ใด
ก. พระเจ้ำนันทบุเรง ข. พระเจ้ำบุเรง
นอง
ค. พระเจ้ำเม็งกะยินโย ง. พระเจ้ำตะเบง
ชะเวตี้
๓.พระมหำอุปรำชำไม่อยำกยกทัพไปรบกับสมเด็จ
พระนเรศวรฯ เพรำะเหตุผลในข้อใด
ก. องค์บิดำชรำแล้ว ควรฤำแคล้วไกล
ห่ำง
ทดสอบก่อน
เรียนก่อนนะ
ครับพี่น้อง
ข. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วเครำะห์จะได้ลดน้อยลง
ค. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วจะได้ป้องกันเครำะห์ร้ำย
ง. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วจะเป็นกำรสะเดำะเครำะห์
๕. ลักษณะที่เด่นที่สุดของสมเด็จพระนเรศวรฯ ที่
ปรำกฏใน ลิลิตตะเลงพ่ำย คือข้อใด
ก. ทรงกอปรด้วยขัตติยมำนะ ข. ทรงรักชำติยิ่ง
กว่ำพระชนม์ชีพ
ค. ทรงยึดมั่นในพระพุทธศำสนำ ง. ทรงเป็นกษัตริย์
นักรบที่สำมำรถ
๖. ข้อใดคือวัตถุประสงค์สำำคัญที่สมเด็จพระมหำ
สมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์
เรื่องลิลิตตะเลงพ่ำย
ก. เพื่อจำรึกในแผ่นศิลำรอบระเบียงพระอุโบสถวัด
พระเชตุพนฯ
ข เพื่องำนฉลองตึกที่สร้ำงใหม่คือ “ตึกสมเด็จ” วัด
พระเชตุพนฯ
ก. สถำนที่กระทำำยุทธหัตถี คือ ตำำบลตระพังตรุ
ข. “จงพ่ออย่ำยินยล แต่ตื้น” ข้อควำมนี้เป็นกำร
พระรำชทำนพร
ค. ผลพลอยได้จำกกำรทำำยุทธหัตถีในครั้งนั้น สิ่งที่
เด่นชัดที่สุด คือ พม่ำไม่มำรุกรำนไทยอีกเป็นเวลำนำน
ง. “...จนจันทรลับเลื่อน เคลื่อนเข้ำตติยำม เจ้ำจอม
สยำมไสยำสน์
เหนือบรมอำสน์ ก่อนแก้ว...” “ตติยยำม” หมำยถึง
เวลำสองยำมถึงตี ๓
๘. สมเด็จพระวันรัตใช้วิธีกำรอย่ำงไรในกำรทูลขอ
พระรำชทำนอภัยโทษแก่แม่ทัพนำยกองต่อสมเด็จ
พระนเรศวรฯ
ก. อ้ำงเหตุผลว่ำเทวดำบันดำลให้เป็นไปเช่นนั้น
ข. ใช้วิธีอุปมำอ้ำงพระกฤษฎำภินิหำรดุจพระพุทธเจ้ำ
ค. อ้ำงพระพุทธพจน์ที่กล่ำวว่ำ “เวรย่อมระงับด้วยกำร
ไม่จองเวร”
สิ่งก่อสร้ำงอันสวยงำม
ค. เพื่อเป็นกำรระลึกถึงควำมดีของผู้ตำย
ง. เพื่อเป็นกำรเฉลิมพระเกียรติในวีรกรรม
๑๐. “กลใดไป่ช่วยแผ้ว นภำ
ดลฤำ
ไสสรว่ำงธุมำ มืดม้วย
มลักเล็งเหล่ำพำธำ ทวยเศิก
สมรแฮ
เห็นตระหนักเนตรด้วย ดั่งนี้แหนงฉงำย”
๑๑. “พระห่วงแต่ศึกเสื้ยน อัสดง
เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้ำ
คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ
อำจประกันกรุงถ้ำ ทัพข้อยคืน
ถึง”
คำำประพันธ์ข้ำงต้นนี้แสดงให้เห็นถึงข้อใด
ก. ควำมห่วงหน้ำพะวงหลัง ข. ควำม
พ่ำงพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้ำง
ฤำรำมเริ่มรณฤทธิ์ รบรำพณ์
แลฤำ
ทุกเทศทุกทิศอ้ำง อื่นไท้ไป่
เทียม”
ข้อควำมที่ขีดเส้นใต้ในคำำประพันธ์ข้ำงต้นหมำย
ถึงเหตุกำรณ์ในข้อใด
ก. พระรำมรบกับทศกัณฐ์ ข. เทวดำบนสวรรค์
รบกับยักษ์
ค. พระอินทร์ทำำศึกกับท้ำวเวปจิตำสูร ง. พระนเรศวร
ทำำศึกกับพระมหำอุปรำชำ
๑๓. “หงสำวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิ
ดำกำร” จำกคำำประพันธ์นี้ กรุงหงสำวดีรู้เหตุอะไร
เป็นสำำคัญ
ก. สมเด็จพระมหินทรำธิรำชเสด็จสวรรคต
ข. สมเด็จพระมหำจักรพรรดิเสด็จสวรรคต
๑๔. “นฤบดีโถมถีบสู้ ศึกธำร
ฟอนฟำดสุงสุมำร มอดม้วย
สำยสินธุ์ซึ่งนองพนำนต์ หำย
เหือด แห้งแฮ
พระเร่งปรีดำด้วย เผด็จ
เสี้ยนเศิกกษัย”
คำำประพันธ์บทนี้กล่ำวถึงเรื่องใด มีควำม
หมำยอย่ำงไร
ก. นิมิตบอกเหตุ ควำมมีชัยต่อศัตรู
ข. กำรปรำบจระเข้ ควำมพ่ำยแพ้ของข้ำศึก
ค. นำ้ำป่ำหลำกท่วมทัพข้ำศึก กำรไม่ต้องเสีย
กำำลังรบ
ง. กำรต่อสู้อย่ำงดุเดือดของสมเด็จพระนเรศวรฯ :
พระมหำอุปรำชำขำดคอช้ำง
๑๕. “ว่ำนครรำมินท์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยรำช
เยียววิวำทชิงฉัตร
เพื่อกษัตริย์สองสู้...” “นครรำมินทร์” คือ
เมืองในข้อใด
ก. เมืองอู่ทอง ข. เมือง
กำญจนบุรี
ค. เมืองกรุงหงสำวดี ง. กรุง
ศรีอยุธยำ
๑๖. จำกคำำประพันธ์ในข้อ ๑๕ “กษัตริย์
สอง” หมำยถึงบุคคลในข้อใด
ก. พระเจ้ำบุเรงนองกับพระมหำอุปรำชำ
ข. พระเจ้ำนันทบุเรงกับพระเจ้ำตะเบงชะเวตี้
ค. พระมหำอุปรำชำกับสมเด็จพระนเรศวรฯ
ง. สมเด็จพระนเรศวรฯ กับสมเด็จพระเอกำทศ
๑๗. “อ้ำจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอำรส แก่เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวง
นำ
ถนัดดั่งพำหำเหี้ยน หั่นกลิ้งไกล
องค์
ณรงค์นเรศวร์ด้ำว ดัสกร
ใครจักอำจออกรอน รบสู้
เสียดำยแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วย
แฮ
เหตุบ่มีมือผู้ อื่นต้ำนทำนเข็ญ”
ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของพระมหำอุปรำชำ
ที่ปรำกฏอยู่ในบทรำำพันที่ยกมำข้ำงต้นนี้
ก. ขี้ขลำด
ข. เคำรพรักพระรำชบิดำ
ค. รักแผ่นดินเกิด
๑๘. คำำประพันธ์ต่อไปนี้แสดงควำมรู้สึกอย่ำงไรใน
เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ำย
“สงครำมครำนี้หนัก ใจเจ็บ ใจนำ
เรียมเร่งแหนงหนำวเหน็บ อกโอ้
ลูกตำยฤใครเก็บ ผีฝำก พระเอย
ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผำ”
ก. ควำมคับแค้นใจ ข. ควำมเศร้ำโศก
ค. ควำมหวำดหวั่น ง.
ควำมเปล่ำเปลี่ยว
ให้ใช้คำำประพันธ์ต่อนี้ตอบคำำถำมข้อ ๑๙ - ๒๐
“พอวำยวรวำกย์อ้ำง โอษฐ์พระ
ดำลมหำวำตะ ตื่นฟ้ำ
ทรหึงทรหวลพะ- พำนพัด หำวแฮ
หอบธุมำงค์จำงเจ้ำ จรัสด้ำว
แดนสมร”
๑๙. คำำที่ขีดเส้นใต้ข้อใดเป็นกวีโวหำรแบบ
ภำพพจน์
ก. ตื่นฟ้ำ ข. หอบธุมำงค์
ค. วำยวรวำกย์ ง.
ทรหึงทรหวล
๒๐. โคลงบทนี้ปรำกฏลักษณะตำมข้อใดมำกที่สุด
ก. ใช้คำำโทโทษ ข. ใช้คำำอัพภำส
ค. ใช้คำำเกินบังคับ ง. ใช้คำำตำยแทน
คำำเอกหลำยที่
กรอบที่ ๑
ควำมรู้และที่มำ
ของเรื่อง
คำำว่ำ “ตะเลง” หมำยถึง มอญ
“พ่ำย” หมำยถึง แพ้ “ตะเลงพ่ำย”
จึงแปลว่ำ มอญแพ้ ทั้งนี้เพรำะใน
สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช มอญ
ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ำ และพม่ำได้
ย้ำยรำชธำนีมำอยู่ที่เมืองหงสำวดีเพื่อ
ควบคุมดูแลพวกมอญได้สะดวกกำร
สงครำมระหว่ำงไทยกับพม่ำในสมัย
พระนเรศวรมหำรำชดังปรำกฏใน
วรรณคดีเรื่องนี้ ไทยมีชัยชนะ แม้ว่ำ
พม่ำได้เกณฑ์พวกมอญมำในกองทัพ
เป็นจำำนวนมำก คำำว่ำ “ตะเลงพ่ำย”
จึงหมำยถึงพม่ำแพ้นั่นเอง
เป็นพระรำชพงศำวดำรอยุธยำที่นำำมำชำำระ
และเรียบเรียงให้ได้เนื้อหำที่ครบถ้วนสมบูรณ์
ในสมัยพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำ
โลกมหำรำช และเป็นฉบับที่ถือเป็นหลักกัน
มำ) ดังปรำกฏในร่ำยตอนต้นเรื่องว่ำ
“จักดำำเนินในเบื้อง เรื่องรำชพงศำวดำร
บรรหำรเหตุแผ่นภู ชูพระยศเจ้ำ
หล้ำ......................”
ลิลิตตะเลงพ่ำยแต่งขึ้น โดยมีจุด
ประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ดังควำมในร่ำย
ต้นเรื่องว่ำ
“...เฉลิมพระเกียรติผ่ำนเผ้ำ เจ้ำจักรพรรดิ
แผ่นสยำม สมญำนำมนฤเบศ นเรศวร
นรินทร์...” และในโคลงสี่สุภำพท้ำยเรื่องว่ำ
ได้บอกนำมไว้ชัดเจนในโคลงกระทู้ตอนท้ำย
เรื่อง ดังนี้
กรมหมื่นนุชิตเชื้อ กวี
วร
ชิโนรส มิ่งมหิศร เสก
ให้
ศรีสุคต พจนสุนทร เถลิง
ลักษณ์ นี้นำ
ขัตติยวงศ์ ผจงโอษฐ์ไว้
สืบหล้ำอย่ำศูนย์
นอกจำกนี้มีผู้ช่วยแต่ง คือ พระองค์เจ้ำ
กปิษฐำขัตติยกุมำร เป็นพระรำชโอรสใน
พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัยและเจ้ำ
จอมมำรดำอัมพำ ดังระบุในเรื่องว่ำ
ไพบูลย์โดยบทเบื้อง โบรำณ รีดนำ
ประสูติแต่เจ้ำจอมมำรดำจุ้ย เมื่อวันเสำร์ที่ ๑๑
ธันวำคม พ.ศ. ๒๓๓๓ พระนำมเดิมคือ พระเจ้ำ
ลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำวำสุกรี
เมื่อมีพระชนมำยุได้ ๑๒ พรรษำ ได้
บรรพชำเป็นสำมเณร ณ วัดพระ
ศรีรัตนศำสดำรำม แล้วเสด็จไปประทับ ณ วัน
พระเชตุพนวิมลมังคลำรำม ทรงศึกษำภำษำ
ไทย ภำษำขอม ภำษำบำลี วิชำโบรำณคดี
ตลอดจนวิชำลงเลขยันต์ต่ำงๆ จำกสำำนัก
สมเด็จพระวันรัต (พนรัตน) วัดพระเชตุพนฯ นั้น
ต่อมำใน พ.ศ. ๒๓๕๔ พระองค์ผนวชเป็น
พระภิกษุ ฉำยำว่ำ “สุวัณณรังสี” และประทับ ณ
วัดพระเชตุพนฯ สืบมำจนตลอดพระชนมำยุ
พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ทรง
พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ตั้งพระเจ้ำน้องยำเธอ
เป็นแหล่งวิทยำกำรสำำหรับประชำชน วัด
พระเชตุพนฯ จึงนับว่ำเป็น “มหำวิทยำลัยแห่ง
แรกของเมืองไทย” กำรจำรึกวิชำกำรดังกล่ำว
กรมหมื่นนุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ตำำรำต่ำงๆ ไว้
หลำยเรื่อง เช่น ตำำรำฉันท์วรรณพฤติและมำตรำ
พฤติ โคลงภำพฤำษีดัดตน โคลงจำรึกศำลำรำย
โคลงจำรึกพระมหำเจดีย์ โคลงภำพคนต่ำง
ภำษำ เป็นต้น
เมื่อพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ขึ้นครองรำชย์ใน พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงสถำปนำกรม
หมื่นนุชิตชิโนรสขึ้นเป็น กรมสมเด็จพระปรมำนุ
ชิตชิโนรส” ตำำแหน่งสกลมหำสังฆปริณำยก
สมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ องค์ที่ ๗ แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ พระองค์สิ้นพระชนม์ในสมัย
รัชกำลที่ ๔ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๖ สิริพระชนมำยุได้
สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิต
ชิโนรส ทรงมีควำมรู้แตกฉำนทั้งทำงคดีโลกและคดี
ธรรมทรงได้รับพระเกียรติคุณยกย่องว่ำเป็น
“รัตนกวี” แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีพระปรีชำ
สำมำรถอันเชี่ยวชำญยิ่งในกำรทรงนิพนธ์คำำ
ประพันธ์ประเภทต่ำงๆ งำนพระนิพนธ์จึงมีเป็น
จำำนวนมำก ทั้งโคลง ฉันท์ กำพย์ ร่ำย กลอน
และร้อยแก้ว ทุกเรื่องล้วนมีคุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์
และมีเนื้อหำงดงำม เป็นมรดกอันลำ้ำค่ำที่อนุชนควร
รักษำ พระนิพนธ์ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลำย ได้แก่
สรรพสิทธิ์คำำฉันท์ กฤษณำสอนน้องคำำฉันท์ สมุทร
โฆษคำำฉันท์ตอนปลำย ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดก
(หลำยกัณฑ์) ปฐมสมโพธิกถำ และลิลิตตะเลงพ่ำย
สุภำพ โคลงสำมสุภำพ และโคลงสี่สุภำพ)
แต่งปนกันโดยร้อยโคลงส่งสัมผัสระหว่ำงบท
โดยตลอด ดังนี้
โคลง ๔ ส่งสัมผัสระหว่ำงบทกับโคลง
สำม
เบื้องบรมขัตติย์ท่องท้อง
แถวธำร
พระจักไล่ลุยลำญ
เศิกไสร้
ริปูบ่อรอรำญ ฤทธิ์
รำช เลยพ่อ
พ่อจักชำญชเยศได้ ดั่งท้ำว
ใฝ่ฝัน
ครั้นบดินทร์ดำลได้ สดับ
สัมผัสระหว่ำงบท (คำำรับสัมผัสระหว่ำงบทจะใช้คำำที่ ๑
หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้)
คำำประพันธ์แต่ละชนิดมีคณะและ
สัมผัสบังคับ ดังนี้
แผนผังของโคลงสองสุภำพ
ตัวอย่ำง
เจ็บจำบัลบ่มเศร้ำ ไป่กี่ปำงจักเต้ำ
แขกน้องคืนถนอม แม่นำ
ตรอมกระอุอกชำ้ำ ปวดปิ้มฝีหัวขวำ้ำ
บ่งได้เยียไฉน นี้นำ
คำำรับสัมผัสในวรรคที่ ๒ จะใช้คำำที่ ๑ หรือ ๒
หรือ ๓ ก็ได้
แผนผังของโคลงสำมสุภำพ
ตัวอย่ำง
พวกพลทัพรำมัญ เห็นไทยผัน
หนีหน้ำ
ไปบ่หยุดยั้งช้ำ ตื่นต้อน
แตกฉำน น่ำนนำ
ไป่แจ้งกำรแห่งเล่ห์ เท่ห์กลไทย
ใช่น้อย
แผนผังของ
โคลงสี่สุภำพ
วอย่ำง
อ้ำองค์จักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอำรส แก่เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงน
ถนัดดั่งพำหำเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์
แผนผังของร่ำย
สุภำพ
จบด้วยโคลงสุภำพ (ตรงช่วงที่ขีดเส้นใต้
คือ โคลงสองสุภำพ)
สัมผัสไปยังคำำที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓
(คำำใดคำำหนึ่ง) ในวรรคถัดไป ต่อเนื่องกันไป
เช่นนี้ทุกวรรค
ถ้ำคำำส่งสัมผัสมีรูปวรรณยุกต์ใด คำำรับสัมผัส
ควรใช้รูปวรรณยุกต์นั้นด้วย
(ให้สังเกตจำกตัวอย่ำงที่ยกมำ) เวลำจบบท ต้อง
จบด้วยโคลงสองสุภำพ
(ตำมช่วงที่ขีดเส้นใต้ให้เห็น)
ตัวอย่ำง
พระอำวรณ์หวั่นเทวษ ถึงอัคเรศแรมเวียง
พลำงเมิลเมียงไม้เขำ โดยลำำเนำแดนเถื่อน
เคลื่อนแสนยำโจษจน ลุตำำบลสังคล่ำ ป่ำระหง
ดงดอน พิศศีขรรำยเรียง เพียงสุดสำยเมฆเมิล
เนื่องเนิ่นเนินไศล สูงไสวว่ำยฟ้ำ ชอำ่ำอ้ำหำว
หน ...ฯลฯ พฤกษำเสียดสีกิ่ง เสียงเสนำะยิ่ง
จะไปตีเมืองเขมรซึ่งมักเอำใจออกห่ำงเสมอ
ทำงฝ่ำยพม่ำ พระเจ้ำหงสำวดีทรงปรำรภว่ำจะมำตีกรุง
ศรีอยุธยำ เพรำะเห็นว่ำเพิ่งผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน พระมหำ
อุปรำชพระรำชโอรสจึงจำำต้องยกทัพมำตีไทยโดยเดินทัพมำตั้ง
ค่ำยที่ตำำบลตะพังตรุ
สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชทรงทรำบข่ำวศึก ขณะเตรียม
ทัพไปรบเขมร จึงทรงเคลื่อนทัพไปตั้งรับพม่ำที่หนองสำหร่ำย ทัพ
หน้ำของไทยปะทะทัพหงสำวดี สมเด็จพระนเรศวรทรงเคลื่อนทัพ
หลวงและได้เข้ำชนช้ำงกับพระมหำอุปรำชำ ทรงได้ชัยชนะ ทัพ
หงสำวดีแตกพ่ำย เมื่อเสร็จศึกทรงปูนบำำเหน็จทหำร และปรึกษำ
โทษแม่ทัพนำยกองที่ตำมเสด็จไม่ทัน ปล่อยพระองค์และพระ
อนุชำตกอยู่ท่ำมกลำงวงล้อมของพม่ำ สมเด็จพระวันรัตวัดป่ำแก้ว
ทูลขอพระรำชทำนอภัยโทษแก่แม่ทัพนำยกองเหล่ำนั้น พระองค์
พระรำชทำนให้ แต่ให้แม่ทัพนำยกองทั้งหลำยแก้ตัวโดยยกทัพ
ไปตีเมืองทวำย มะริด และตะนำวศรี ต่อมำเมืองเชียงใหม่ส่งทูต
มำขอเป็นเมืองขึ้น ตอนท้ำยเรื่องเป็นเนื้อควำมยอพระเกียรติ
สมเด็จพระนเรศวรที่ทรงดำำรงพระองค์อยู่ในทศพิธรำชธรรม ๑๐
ข้อ รำชสดุดี ๕ ข้อ และจักรพรรดิวัตร ๑๒ ข้อ ตอนจบบอก
นำมผู้นิพนธ์
ดูเฉลยหน้ำต่อไป
นะครับ
กิจกรรมกำร
เรียนรู้ที่ ๑
และ......................................................................................................
.............................................................
๓.ผู้แต่ง “ลิลิตตะเลงพ่ำย” ได้บรรพชำ และอุปสมบทที่
วัด ........................................................................
๔.ตำำแหน่ง “พระมหำสมณเจ้ำ” ของผู้แต่ง พระมหำกษัตริย์ผู้ทรง
พระรำชทำน
คือ........................................................................................................
........................................................
๕. เหตุใดผู้แต่งจึงได้รับยกย่องเป็น “รัตนกวี” แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์.........................................................................................
.........................................................................
๖. ตะเลงพ่ำย หมำย
ถึง........................................................................................................
...........................
๗. เรื่อง “ลิลิตตะเลงพ่ำย” มีผู้ช่วยแต่ง พระนำม
ว่ำ.......................................................................................
๘. ลิลิตสุภำพ ประกอบด้วยคำำประพันธ์
ประเภท............................................................................................
๙.ร่ำยสุภำพเป็นร่ำยที่บังคับ วรรคละ .............คำำ และจบด้วยคำำประพันธ์
องค์ที่ ๗
a.พระเจ้ำลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำวำสุกรี
b.พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก และเจ้ำจอมมำรดำอุ้ย
c.บรรพชำ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลำรำม และอุปสมบถ ณ วัด
พระศรีรัตนศำสดำรำม
d.พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
e.พระองค์ทรงมีพระปรีชำสำมำรถในกำรทรงนิพนธ์คำำประพันธ์
ประเภทต่ำง ๆ และมีงำนนิพนธ์จำำนวนมำก
f.พม่ำแพ้
g.พระองค์เจ้ำกปิษฐำขัตติยกุมำร
h.ร่ำยสุภำพ และโคลงสุภำพ (โคลงสองสุภำพ , โคลงสำม
สุภำพ , โคลงสี่สุภำพ)
i.วรรคละ ๕ คำำ จบด้วยโคลงสองสุภำพ
j. แผนผังร่ำยสุภำพ
k.แผนผังโคลงสองสุภำพ
สัมผัสระหว่ำงบท (คำำรับสัมผัสระหว่ำงบทจะใช้คำำที่ ๑
กรอบที่ ๒
เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี
เนื้อเรื่องย่อ
ตอนที่หนึ่ง เริ่มด้วยบทกวี
บทประฌำมพจน์ เริ่มด้วยร่ำยยอพระเกียรติพระเจ้ำแผ่นดินว่ำ
ด้วยพระเดชำนุภำพทรงสำมำรถปรำบศัตรูให้พ่ำยแพ้ไป เมื่อเสด็จ
ขึ้นครองรำชย์บ้ำนเมืองจึงสงบร่มเย็น ผู้คนในแผ่นดินล้วนกล่ำว
สรรเสริญพระเกียรติคุณ
ตอนที่สอง
สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชเสด็จขึ้นครองรำชย์หลังจำกพระรำช
บิดำ (คือสมเด็จพระมหำธรรมรำชำ) เสด็จสวรรคต พระเอกำทศรถผู้
เป็นพระอนุชำได้เป็นพระมำอุปรำช ต่อมำสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช
ทรงปรำรภกับหมู่อำำมำตย์จะยกทัพไปตีเขมรซึ่งกระทำำทุจริตมิชอบอยู่
เสมอด้วยกำรยกทัพมำตีเมืองชำยแดน เมื่อทำงอยุธยำส่งกองทัพไป
ปรำบก็ยอมอ่อนน้อมสวำมิภักดิ์ แต่เมื่อมีโอกำสก็คิดแข็งเมืองเมื่อนั้น
พระองค์จึงทรงปรำรภจะยกกองทัพไปตีเขมร และจับเจ้ำเขมรมำตัด
ศีรษะ เอำโลหิตล้ำงพระบำทให้จงได้ เพื่อให้เขมรศิโรรำบแต่โดยดี ดัง
คำำประพันธ์
“...ครั้งนี้ตูสองตน ผ่ำนสกลแผ่นหล้ำ ควรไปร้ำรอนเข็ญ เห็น
มือไทยที่แกล้ว แผ้วภพให้เป็นเผื่อน เกลื่อนภพให้เป็นพง คงแต่นำ้ำกับ
ฟ้ำ คงแต่หญ้ำกับดิน ยังอรินทร์รู้ฤทธิ์ อย่ำคืนคิดเหิ่มหำญ ผลำญจง
เสร็จ เด็ดเกล้ำ เจ้ำกัมพุชทุจริต เอำโลหิตล้ำงบำท แล้วธสังมำตย์
เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี
เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี พระเจ้ำนันท
บุเรง กษัตริย์พม่ำทรงทรำบข่ำวว่ำพระมหำธรรม
รำชำสวรรคต จึงทรงคำดว่ำกรุงศรีอยธยำอำจมี
กำรชิงบัลลังก์กันระหว่ำงพระนเรศวรกับพระเอกำทศ
รถ จึงรับสั่งให้พระมหำอุปรำชำผู้เป็นโอรสยกทัพมำ
รุกรำนไทย แต่พระมหำอุปรำชำได้กรำบทูลพระรำช
บิดำว่ำ โหรทำำนำยว่ำพระองค์กำำลังมีเครำะห์
พระเจ้ำนันทบุเรงจึงตรัสประชดว่ำ ถ้ำเกรงจะมี
เครำะห์ก็ให้นำำเสื้อผ้ำสตรีมำสวมใส่เพื่อเป็นกำรสร่ำง
เครำะห์ พระมหำอุปรำชำเกรงพระรำชอำญำและ
ทรงอับอำย จึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยำ โดยเกณฑ์
พลจำกเชียงใหม่และเมืองขึ้นต่ำง ๆ มำช่วย จำก
นั้นพระองค์ก็เสด็จเข้ำห้องเพื่อไปลำพระสนมด้วย
ควำมอำลัย
ธรรมราชนรินทร์ เจ้าปถพินทร์ผ่านทวีป ดับชนมชีพพิราลัย เอารสไท
นฤเบศ นเรศวรเสวยศวรรยา แจ้งกิจจาตระหนัก จึ่งพระปิ่นปักธาษตรี
บุรีรัตนหงสา ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตยากร ว่านครรามินทร์ ผลัด
แผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เพื่อกษัตริย์สองสู้ บร้างรู้เหตุผล
ควรยาตรพลไปเยือน เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที โจม
จู่ยี่ยำ่าภพ เสนีนบนึกชอบ ระบอบเบื้องบรรหาร ธก็เอื้อนสารเสาวพจน์
แต่เอารสยศเยศ องค์อิศเรศอุปราช ให้ยกยาตราทัพ กับนครเชียงใหม่
เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปราจิน บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อย
ผู้ข้าบาทบงสุ์ โหรควรคงทำานาย ทายพระเคราะห์ถึงฆาต ฟังสารราช
เอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญ
หักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้า
คร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์
สร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณ
มาตย์มวล นวลพระพักตร์ผ่องเผือด เลือดสลดหมดคลำ้า ชำ้ากมลหมอง
มัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไท้ลีลาศ ธก็
ประกาศเกณฑ์พล บอกยุบลบ่มิหึง ถึงเชียงใหม่ตระบัด เร่งแจงจัด
จตุรงค์ ลงมาสู่หงสา แล้วธให้หาเมืองออก บอกทุกแดนทุกด้าว บอกทุก
ท้าวทุกเทศ ทั่วทุกเขตทุกขอบ รอบสีมามณฑล ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง
เหตุการณ์ทางกรุงหง
สาวดี
โคลง ๒
พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง
หนุ่มหน้าพระสนม
ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ยม
เฝ้า
อยู่ถ้าทูลสนอง
กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรส
แคล้ว
คลาดเคล้าคลาสมร
จำาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่า
ละห้อย
ห่อนช้าคืนสม แม่แล
๑. “หงสาวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิ
ดาการ” ข้อความนี้สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิหย่อน
ข. เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา
ค. มหาธรรมราชานรินทร์ เจ้าปถพินทุร์ผ่านทวีป
ดับชนม์ชีพพิราลัย
ง. เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที
โจมจู่ยียำ่าภพ
๒. “ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตรยากร ว่านคร
รามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช” “นครรามินทร์”
หมายถึงข้อใด
ก. เมืองมอญ ข. เมืองพม่า
ค. เมืองไทย ง.
เมืองเขมร
๓. เมืองใดมาช่วยพม่ารบกับไทย
ก. ถ้าสนามรบเรียบดี การโจมตีก็สะดวก
ข. แม้เหตุการณ์ไม่เรียบร้อย เป็นโอกาสที่จะโจมตี
ค. หากว่าสนามรบไม่ราบเรียบ ก็อย่าเข้าโจมตีเลย
ง. แม้นมีเหตุการณ์เรียบร้อย ก็ยกทัพกลับโดยเร็ว
๕.“เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปรา
จิน”ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
ก. จังหวัดปราจีนบุรี ข. เมืองเขมร ค. เมือง
เชียงใหม่ ง. เมืองไทย
๖. “บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อยผู้ข้าบาทบงสุ์” คำาที่
ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
ก. คำาพูดที่ไพเราะ ข. กล่าวโต้ตอบ
ค. ถ้อยคำาพูด ง. ถนัด
๗. คำาพูดในข้อใดทำาให้ผู้ฟัง “แสนอัประมาณ
มาตย์มวล”
ก. เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ
ข. เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่าง
เคราะห์
เท้า
ข. โชคดีสี่ประการ คือ แม่ทัพดี อาหารสมบูรณ์
ทหารกล้า วันเดือนดี
ค. พรสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุข พละ
ง. อาวุธดี ได้แก่ ดาบ ของ้าว หน้าไม้ ปืน
ไฟ
๙. “คั่งคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ”
คำาว่า เพศ ในที่นี้แปลว่าอะไร
ก. ภาษาพูด ข. อาวุธชนิด
หนึ่ง
ค. สัตว์พาหนะ ง. รูปร่างหน้าตา
๑๐. ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์ แสดงภาพพจน์
ก. พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว ดั่ง
เบื้องบรรหาร
ข. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู ดูเฉลยหน้าต่อไป
นะครับ
ดูเฉลยหน้าต่อไป
นะครับ
ลองตรวจคำาตอบ
เลยครับ ได้
คะแนนเท่าไหร่กับ
บ้างครับ
คำาตอบ
a. ค
b. ค
c. ค
d. ข
e. ง
f. ข
g. ข
h. ก
i. ง
๑๐. ก
กรอบที่ ๓
พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาทพระเจ้านันทบุเรง ประทานโอวาท ๘ ประการ
แก่พระมหาอุปราชา ดังนี้
๑. อย่าเป็นคนหูเบา
๒. อย่าทำาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจ
ผู้อื่น
๓. รู้จักเอาใจทหารให้ฮึกเหิมอยู่เสมอ
๔. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่
๕. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูป
แบบ
๖. รู้หลักพิชัยสงคราม การตั้งค่าย
๗. รู้จักให้บำาเหน็จความดีความชอบแก่
แม่ทัพนายกองที่เก่งกล้า
โคลง ๒
พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จ
ศึกด้าว
ดั่งเบื้องบรรหาร
โคลง ๓
ภูบาลอื้นอำานวย อวย
พระพรเลิศล้น
จงอยุธย์อย่าพ้น แห่ง
เงื้อมมือเทอญ พ่อนา
โคลง ๔
จงเจริญชเยศด้วย เดชะ
อย่าลองคะนองตน ตามชอบ
ทำานา
การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อเลี้ยว
หลอกหลอน
จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง
โบราณ
เป็นประโยชน์ยุทธการ กล่าวไว้
เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่
นา
อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้ว
ขลาดเขลา
หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน
เจนจิตวิทยาการ กาจแกล้ว
รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย
ควรนา
อาจจักรอนรณแผ้ว แผก
แพ้พังหนี
หนึ่งรู้บำาเหน็จให้ ขุนพล
จงจำาคำาพ่อไซร้ สั่งสอน
จงประสิทธิ์สมพร พ่อให้
จงเรืองพระฤทธิ์รอน อริราช
จงพ่อลุกลาภได้ เผด็จด้าวแดนสยาม
พระมหาอุปราชารำาพันถึงนาง
กวีใช้ลีลาการแต่งแบบนิราศแต่งบทรำาพันถึง
นาง โดยนำาธรรมชาติที่พระมหาอุปราชาได้
พบเห็นเชื่อมโยงกับอารมณ์ความรู้สึกของพระองค์
ที่มีต่อพระสนม ใช้ความเปรียบโดยนำาชื่อดอกไม้
ต้นไม้ เป็นสื่อพรรณนาความรักและความอาลัยต่อ
นางอันเป็นที่รักได้อย่างไพเราะ และสะเทือน
อารมณ์เป็นอย่างยิ่ง
มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวล
สงวน
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร
ฤา
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกำานามไม้ แม่นแม้นทรวง
เรียม
สายหยุดหยุดกลิ่นฟ้ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบคำ่าเช้า หยุดได้
๒. อย่าทำาอะไรตามใจตนเอง
................................................................................................................
๓. ให้เอาใจทหาร
...................................................................................................................
๔. อย่าไว้ใจคนขลาด
................................................................................................................
๕. รอบรู้กระบวนการจัดทัพ
................................................................................................................
๖. รู้หลักตำาราพิชัยสงคราม
................................................................................................................
๗. ให้รางวัลทหารที่มีความสามารถ
................................................................................................................
๘. จงพากเพียร อย่าเกียจคร้าน
................................................................................................................
๙. “สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา” คำาประพันธ์นี้ใช้ศิลปะใน
คำาตอบ
๑. จงพ่ออย่ายินยล แต่ตื้น
๒. อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทำานา
๓. เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา
๔. อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้ว ขลาด
เขลา
๕. หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน
๖. รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา
๗. หนึ่งรู้บำาเหน็จให้ ขุนพล
๘. อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ
๙. การใช้คำาซำ้า
๑๐. การใช้คำาซำ้า
กรอบที่ ๔
ลางร้ายของพระมหาอุปราช
ตอนที่สี่ สมเด็จพระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมือง
เขมร
ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยู่ที่
ท้องพระโรง ทรงไต่ถามทุกข์สุขของมวลพสกนิกร
ขุนนางทั้งหลาย ต่างถวายความเห็นแด่สมเด็จพระ
นเรศวร พระองค์ทรงตัดสินคดีความให้ลุล่วงไป
ตามแบบอย่างยุติธรรม เสร็จแล้วทรงปรึกษา
ขุนนาง เพื่อเตรียมทัพไปปราบเขมรว่าควรยกไป
เมื่อไรดี โดยให้เกณฑ์กำาลังพลมาจากทางใต้
พระองค์ทรงห่วงแต่ศึกมอญพม่า เกรงว่าจะยกมาตี
กรุงศรีอยุธยา จึงมอบหมายให้ พระยาจักรี เป็นผู้
ดูแลกรุงศรีอยุธยาในระหว่างที่ทำาศึกกับเขมร ให้
ตั้งใจรักษาเมืองไว้ พระองค์จะรีบกลับมาปกป้อง
แผ่นดินสยามโดยไว   พระองค์ทรงปลอบ
พระองค์ว่า พม่าเพิ่งแพ้ไทยกลับไปเมื่อต้นปี คงไม่
จากอำานาจเวรกรรม) พัดฉัตรบนหลังช้างทรงหัก
พระมหาอุปราชาทรงหวั่นพระทัย จึงทรงให้โหรมา
ทำานายเหตุการณ์ดังกล่าว โหรทั้งหลายต่างตระหนัก
ว่าเป็นเหตุร้ายแรง ถ้าทูลความจริงเกรงจะได้รับ
โทษ จึงทูลว่าเหตุการณ์นี้เกิดในยามเช้าไม่ดี แต่เกิด
ในยามเย็นนั้นดี
พระฝืนทุกข์เทวษกลำ้า แกล่ครวญ
ขับคชทบจรจวน จักเพล้
บรรลุพนมทวน เถื่อนที่ นั้น
นา
เหตุอนาถหนักเอ้ อาจให้ชน
เห็น
เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หน
เฮย
ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม
หวนหอบหักฉัตรา คช
ต้อง
กระหม่าหระเหม่นทรวง สั่นซีด
พักตร์นา
หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหร
ทาย
ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย
ศาสตร์แฮ
เห็นตระหนักแน่ใน เหตุ
ห้าว
จักทูลบ่ทูลไท เกรงโทษ
ท่านนา
เสนอแต่ดีกลบร้าว
เกลื่อนร้ายกลายดี
เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว ฉุกเข็น
เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอก
ไท้
*********************
คำาสั่ง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
a. พระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึง “พนมทวน”
เวลาใด
b. อำาเภอพนมทวน อยู่ในจังหวัดใด
๓. ให้ยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่กล่าวถึงเหตุร้าย
ของพระมหาอุปราชา
๔. ลมเวรัมภา หมายถึง
๕. “ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ”
จากบทประพันธ์นี้หมายถึงใคร
๖. “พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง
แดเฮย
ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง” จากบท
ประพันธ์นี้มีโวหารใด
๗. บทประพันธ์ใด ที่กล่าวถึงคำาทำานายของโหร
๘. เหตุใดโหรจึงไม่ทูลความจริงเกี่ยวกับคำา
คำาตอบ
๑. ใกล้คำ่า
๒. กาญจนบุรี
๓. เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย
ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม
หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ
แลธุลีกลัดกลุ้ม เกลื่อนเพี้ยงจักรผัน
๔. ลมที่เกิดจากอำานาจเวรกรรม
๕. โหร
๖. อุปมาโวหาร
๗. เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว ฉุกเข็น
เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอกไท้
อย่าขุ่นอย่าลำาเค็ญ ใจเจ็บ พระเอย
พระจักลุลาภได้ เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ
๘. เกรงจะได้รับโทษ
กรอบที่ ๕
พระมหาอุปราชา
รำาพึงถึงพระบิดา
พระมหาอุปราชาทรงรำาพึงถึงพระบิดาว่า
หากต้องทรงเสียโอรส คือพระมหาอุปราชาแก่
ข้าศึก พระเจ้านันทบุเรงคงจะทรงเสียพระทัย
และทรงเป็นทุกข์ยิ่ง แผ่นดินมอญก็จะไม่มีผู้
มาปกป้อง ด้วยพระเจ้านันทบุเรงก็ทรง
ชราภาพแล้ว เกรงว่าจะแพ้ข้าศึก หากพระมหา
อุปราชาสิ้นพระชนม์ในสงครามครั้งนี้ทรงเป็น
ห่วงว่าจะไม่มีใครมาเก็บพระศพ พระเจ้านันท
บุเรงก็จะไม่มีคู่คิดในการทำาศึกสงคราม
พระคุณของพระเจ้านันทบุเรงนั้นมากเกรงว่าจะ
ไม่ได้ตอบแทน
จืดสร้อย
คำานึงนฤบดินทร์ บิตุเรศ
พระแฮ
พระเร่งลานละห้อย
เทวษไห้โหยหา
อ้าจอมจักรพรรดิผู้
เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอารส
แก่เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์
ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน
หั่นกลิ้งไกลองค์
ณรงค์นเรศวร์ด้าว
ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู้
เกรงบพิตรจักแพ้ เพลี่ยง
พลำ้าศึกสยาม
สงครามครานี้หนัก ใจ
เจ็บ ใจนา
เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อก
โอ้
ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก
พระเอย
ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้
ใครเผา
พระเนานัคเรศอ้า เอองค์
ฤาบ่มีใครคง คู่ร้อน
จักริจักเริ่มรงค์ ฤาลุ
แล้วแฮ
พระจักขุ่นจักข้อน จักแค้น
คับทรวง
พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เดียว
๑. “อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน” จากบท
ประพันธ์นี้ คำาว่า “เอารส” หมายถึงใคร
ก. พระนเรศวร ข. พระเอกาทศรส
ค. พระมหาอุปราชา ง.
พระเจ้านันทบุเรง
๒. “ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู้
เสียดายแผ่นดินมอญพลันมอด ม้วยแฮ
เหตุบ่มีมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ” บทประพันธ์
นี้ให้ข้อคิดเห็นอย่างไร
ก. ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมผันแปร ข. พม่าไร้คนมี
ฝีมือ
ค. พม่าคิดแต่จะรบกับไทย ง. ไม่มีใครคิดอยาก
ทำาสงครามอีก
๓. “ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย
ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา” จากบท
๔. “พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้
พระเกิดพระก่อชนม์ ชุบชีพ มานา
เกรงบ่ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง”
จากบทประพันธ์นี้ชี้ให้เห็นเด่นชัดเรื่องใด
ก. ความกตัญญู ข. เกิดจินตภาพ ค.ใช้คำาได้ดีสละ
สลวย ง. เกิดอารมณ์หวั่นไหว
๕. ข้อใดเป็นโวหารแบบอธิพจน์
ก. พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนได้
ข. อ้าจอมจักพรรดิ์ผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน
ค. ชาวสยามคร้ามเศิกสิ้น ทั้งผอง
นายและไพร่ไป่ปอง รบเร้า
ง. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
คำาตอบ
๑. ค
๒. ค
๓. ข
๔. ก
๕. ก
กรอบที่ ๖
พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
          สมเด็จพระนเรศวรตรัสว่า เราจะไปตีเมืองกัมพูชา แต่
มอญชิงส่งทัพเข้ามารบเสียก่อน ทำาให้เราไม่ได้ไปรบกับเขมร
ทรงสั่งให้ไปรบกับมอญแทน อันเป็นมหรสพอันยิ่งใหญ่ ว่า
แล้ว ทรงประกาศให้เมืองกาญจนบุรี เกณฑ์กำาลังพล ๕๐๐ ไป
สอดแนมซุ่มดูกำาลังของข้าศึก ที่เดินทางผ่านลำานำ้ากระเพิน
โดยตัดสะพานให้ขาดเป็นท่อน ทำาลายเชือกสะพานให้
ขาดลอยเป็นทุ่น ก่อไปทำาลายเสียอย่าให้มอญจับได้
          ทันใดนั้นทูตจากเมืองต่างๆ ก็ส่งรายงานศึกมา
ให้พระองค์ทราบ เป็นการสนับสนุนข่าวนั้นว่าเป็นจริง พระ
นเรศวรทรงยินดีที่จะได้ปราบศัตรูบ้านเมือง ทรงปรึกษากับ
เหล่าเสนาอำามาตย์ว่า การศึกครั้งนี้ ควรจะสู้นอกเมือง หรือตั้ง
รับในเมือง เหล่าขุนนางทั้งหลายก็กราบทูลว่า พระองค์ควร
เสด็จไปทำาศึกนอกเมืองจะดีกว่า ซึ่งก็ตรงกับพระทัยของ
สมเด็จพระนเรศวร     แล้วมีพระบรมราชโองการ เรียก
เกณฑ์พลจากหัวเมือง ตรี จัตวา กับหัวเมืองทางใต้ ให้พระยา
ศรีไสยณรงค์ เป็นทัพหน้า มีพระราชฤทธานนท์ เป็นปลัดทัพ
มีกำาลังพล ๕ หมื่น ทรงสั่งอีกว่าให้รีบรบโดยเร็ว หากต้านทาน
ไม่ไหว พระองค์จะเสด็จมาช่วยภายหลัง   แม่ทัพทั้งสอง
สมเด็จพระนเรศวรเสด็จจากกรุงศรีอยุธยาไป
ขึ้นบกที่อำาเภอปากโมก (ป่าโมก) จังหวัดอ่างทอง
เมื่อพระองค์บรรทมก็เกิดพระสุบินเทพสังหรณ์ว่า มี
นำ้าท่วมมาจากทิศตะวันตก พระองค์ทรงลุยนำ้า พบ
จระเข้ใหญ่จะกัดพระองค์ จึงทรงต่อสู้กับจระเข้ด้วย
พระแสงดาบ จระเข้ถูกพระนเรศวรฆ่า นำ้าที่ท่วมก็
กลับแห้งเหือดไป เมื่อพระองค์สร่างบรรทมจึงทรง
ให้โหรทำานายพระสุบิน โหรทำานายว่าเป็นพระสุบิน
ที่เทวดาดลบันดาลให้ทรงทราบ นำ้าที่ไหลเชี่ยวคือ
กองทัพพม่า ส่วนจระเข้นั้นหมายถึงพระมหาอุป
ราชา สมเด็จพระนเรศวรจะทรงกระทำายุทธหัตถีกับ
พระมหาอุปราชาและทรงมีชัยชนะ เมื่อสมเด็จพระ
นเรศวรทรงสดับคำาพยากรณ์ของโหรก็ทรงยินดี
จากนั้นทรงเครื่องต้นเสด็จพร้อมพระอนุชาไปยัง
กองทัพที่เตรียมไว้ เกิดศุภนิมิต สมเด็จพระนเรศวร
ทอดพระเนตรพระบรมสารีริกธาตุ มีแสงสว่าง
งดงามขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยงลอยมาจากทิศใต้
เทวัญแสดงเหตุให้
สังหรณ์ เห็นแฮ
เห็นกระแสสาคร หลั่ง
ล้น
ไหลลบวนาดอน แดน
ตก ทิศนา
พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่
นำ้านองสาย
พระกรายกรย่างเยื้อง จรลี
ลุยมหาวารี เรี่ยวกว้าง
พอพานพะกุมภีล์ หนึ่ง
ใหญ่ ไสร้นา
โถมปะทะเจ้าช้าง
จักเคี้ยวขบองค์
โคลง ๒
ครั้งบดินทร์ดาลได้ สดับพยากรณ์ไท้
ธิราชแผ้วพูนเกษม
เปรมปรีดิ์ปราโมทย์แท้ เพราะพระโหรหากแก้
กล่าวต้องตามฝัน
พระพลันทรงเครื่องต้น งามประเสริฐเลิศล้น
แหล่งหล้าควรชม ชื่นนา
สมเด็จอนุชาน้องแก้ว ทรงสุภาภรณ์แพร้ว
เพริศพร้อมเพราตา ยิ่งแฮ
ร่าย
สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ
ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู
ดูมหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน องค์
อดิศวรสองกษัตริย์ คอยนฤขัตรพิชัย บัดเดี๋ยว
ไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาส
โศภิต ช่วงชวลิตพ่างผล ส้มเกลี้ยงกลกุก่อง
ฟ่องฟ้าฝ่ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคำารบ
สามครา เป็นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียน
อัมพร ผ่านไปอุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว
ท่านตั้งสดุดี อยู่นา
ฯลฯ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๖
คำาสั่ง จงเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ
เดียว
๑. “เทวัญแสดงเหตุให้ สังหรณ์ เห็นแฮ
เห็นกระแสสาคร หลั่งล้น
ไหลลบวนาดอน แดนตก ทิศนา
พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่นำ้านองสาย”
จากบทประพันธ์นี้แสดงให้เห็นว่าพระนเรศวรฝัน
แบบใด
ก. บุพนิมิต ข. จิตนิวรณ์
ค. เทพสังหรณ์ ง. ธาตุโขภะ
๒. “ไหลลบวนาดอนแดนตก ทิศนา” จากบท
ประพันธ์นี้“แดนตก”หมายถึงข้อใด
ก.พม่า ข. มอญ
ค. เขมร ง. ไทย
องค์”
จากบทประพันธ์นี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. กุมภีล์ คือ พระมหาอุปราชา ข. เจ้าช้าง
คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ
ค. วารี คือ กองทัพพม่า ง. เจ้าช้าง คือ พระ
นเรศวร
๔. คำาคู่ใดมีความหมายต่างกัน
ก. กุมภีล์ - สุงสุมาร ข. สายสินธุ์ -
กระแสสาคร
ค. ดิลกเจ้าจอมถวัลย์ - ไทเทเวศร์ ง. ทฤษฎี -
ยล
๕. ข้อใดไม่ใช่ศุภนิมิต ที่สมเด็จพระนเรศวรทอด
พระเนตร
ก. สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ
ข. บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ
ไขโอภาสโศภิต
คำาตอบ
๑. ค
๒. ก
๓. ข
๔. ค
๕. ก
กรอบที่ ๗
เคลื่อนพลตาม
เกล็ดนาค
ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
สมเด็จพระนเรศวร ให้โหรหาฤกษ์ยามดีเพื่อ
เคลื่อนพลไปรบ หลวงญาณโยคโลกทีป ถวายคำา
พยากรณ์ทูลว่า พระองค์ได้จตุรงคโชค อาจปราบ
ประเทศต่างๆให้แพ้สงครามได้ เชิญเสด็จเคลื่อนทัพ
ในยามเช้า วันอาทิตย์ขึ้น ๑๑ คำ่า ยำ่ารุ่ง ๘ นาฬิกา
๓๐ นาที ในเดือนยี่ นับเป็นฤกษ์สิริมงคล ทรงสดับ
แล้ว ให้ตรวจทัพเตรียมเคลื่อนพลทางนำ้า มุ่งสู่ตำาบล
ปากโมก จังหวัดอ่างทอง
สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ
สรงนำ้าอบหอม แต่งพระองค์ด้วยภูษาทรงอันสวยงาม
นับแต่ผ้ารัดบั้นพระองค์ มีชายไหวชายแครงสนับ
เพลา ทับทรวง สะอิ้ง ล้วนสวยงาม สวมข้อพระกร
ด้วยกำาไลอ่อน พระธำามรงค์ที่สวมนิ้วพระหัตถ์ทั้ง ๘
ประดับเพชรพลอยแพรวพราวเป็นสีรุ้ง ทรงมงกุฎ
พลผ่านโขลนทวาร พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาให้มีชัย
และเคลื่อนทัพจนถึงตำาบลปากโมก ทรงปรึกษาเหล่า
ขุนนางเรื่องการศึก จนล่วงเข้ายามสามก็เสด็จเข้าที่
บรรทมครั้นถึงเวลา ๔ นาฬิกา พระองค์ทรงสุบิน เป็น
ศุภนิมิต ว่า ทรงทอดพระเนตรเห็นนำ้าไหลบ่าท่วมป่าสูง
มาทางทิศตะวันตก เป็นแนวยาวสุดสายพระเนตร ขณะ
พระองค์ลุยกระแสนำ้าอันเชี่ยวกรากนั้น มีจระเข้ใหญ่ตัว
หนึ่งมาโถมปะทะ และจะกัดพระองค์ พระองค์ใช้
แสงดาบที่ถือในพระหัตถ์ต่อสู้กับจระเข้ พระองค์ฟันเข้า
ถูกจระเข้ตาย ทันใดนั้นสายนำ้าที่ท่วมป่าอยู่ก็เหือดแห้ง
เมื่อตื่นบรรทม สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทำานาย
พระสุบินนิมิตทันที เหล่าโหรพยากรณ์ว่า พระสุบินครั้ง
นี้ เกิดเพราะเทวดาสังหรณ์ให้ทราบเป็นนัยว่า
     นำ้าซึ่งไหลท่วมป่าทางทิศตะวันตกนั้นคือกองทัพ
พม่า
     ส่วนจระเข้นั้นคือพระมหาอุปราชา การสงคราม
          เมื่อพระองค์สดับฟังคำาพยากรณ์ ก็มีความ
ผ่องแผ้วเป็นสุขใจ และเสด็จมายังเกยช้างที่ประทับ
ณ พลับพลาในค่ายหลวง ในระหว่างที่คอยพิชัย
ฤกษ์อยู่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นพระบรม
สารีริกธาตุ ส่องแสงเรืองรอง มีขนาดเท่าผลส้ม
เกลี้ยง ลอยมาในท้องฟ้าทางทิศใต้ ลอยวนรอบ
กองทัพเป็นทักษิณาวรรต ๓ รอบ แล้วลอยเวียน
ฉวัดเฉวียนกลางฟ้า ผ่านไปทางทิศเหนือ
          สมเด็จพระพี่น้อง ทรงกราบนมัสการ
ด้วยความปลาบปลื้มปิติยินดียิ่ง ทรงพระช้างชื่อ
ไชยานุภาพ ส่วนพระเอกาทศรถทรงช้าง พลาย
ปราบไตรจักร โดยเสด็จนำาหน้าขบวนสมเด็จพระ
นเรศวร
ฝ่ายนายกองลาดตระเวน ซึ่งพระมหาอุปราชา
ใช้ให้ขี่ม้าตรวจดูทัพไทย มีสมิงอะคร้าน สมิงเป่อ
สมิงซายม่วน พร้อมทหารม้า ๕๐๐ และกราบทูลพระ
มหาอุปราชาว่า กองทัพไทยตั้งค่ายอยู่ที่หนอง
สาหร่าย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกา
ทศรถเป็นผู้ยกทัพมาเอง มีรี้พลประมาณ ๑๗-๑๘
หมื่น พระมหาอุปราชาจึงตัดสินใจใช้วิธีจู่โจม หัก
เอาชัยชนะเสียแต่แรก เพื่อเบาแรง แล้วล้อมกรุง
ศรีอยุธยา แล้วชิงราชสมบัติในภายหลัง จึงรับสั่งให้
เตรียมพลให้เสร็จตั้งแต่ ๓ นาฬิกา(ตีสาม) พอ ๕
นาฬิกา(ตีห้า) ก็ยกทัพกะให้ไปสว่างกลางทาง รุ่ง
เช้าจะได้เข้ามีทันที พระองค์ขึ้นประทับพลับพลาที่มี
เกยสำาหรับขึ้นช้าง เพื่อประทับช้างพระที่นั่งชื่อ
พลายพันธกอ
ฝ่ายไทย พระยาศรีไสยณรงค์ กับพระราช
ฤทธานนท์ ได้รับพระราชโองการจากสมเด็จพระ
นเรศวร จึงยกพลเข้าโจมตีทัพพม่าตั้งแต่กลางดึก
มีกำาลังพลทั้งหมด ๕ หมื่น โดยจัดทัพดังนี้
        ทัพหน้า มีพระสุพรรณเป็นแม่ทัพ
เจ้าเมืองธนบุรีเป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองนนทบุรีเป็นปีก
ขวา
       ทัพหลวง พระยาศรีไสยณรงค์เป็น
แม่ทัพ ขี่ช้างชื่อพลายสุรงคเดชะ เจ้าเมืองสรรค์บุรี
เป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองสิงห์บุรีเป็นปีกขวา
        ทัพหลัง พระราชฤทธานนท์เป็นแม่ทัพ
ขี่ช้างชื่อชนะจำาบัง เจ้าเมืองชัยนาทเป็นปีกซ้าย
พระยาวิเศษชัยชาญเป็นปีกขวา
สามทัพจัดเก้ากอง มีเหล่าทหารสมัครรบ
เป็นกองหนุน เดินทัพจนถึงโคกเผาข้าว ในเวลา
เช้า ๗ นาฬิกา ได้ปะทะกับทัพพม่า ทั้งสองผ่าย
ต่างต่อสู้กันอย่างกล้าหาญ พร่าผลาญชีวิตตากกัน
เกลื่อนกราด บ้างแขนขาด บ้างขาขาด หัวขาด
กำาลังพม่ามีมากกว่าจึงโอบล้อม กระหนาบไทยทั้ง
ด้านหน้าด้านหลัง ฝ่ายไทยมีอยู่น้อย ไม่สามารถ
ต้านทานไว้ได้ จึงรบไปถอยไป เสียงอาวุธที่ปะทะ
กันดังสั่นกึกก้อง เหมือนเสียงฟ้าผ่า ผืนแผ่นดิน
ทลาย เสียงดังสั่นโลกจนไม่รู้ว่าฝ่ายใดแพ้ฝ่ายใด
ชนะ สองฝ่ายต่างเก่งกล้ามาก เหมือนราชสีห์สู้กับ
ราชสีห์
อกต่อติด จักประชิดเมืองถึง จึงสมิงอะคร้านขุนกอง
รองสมิงเป่อปลัดทัพ กับสมิงซายม่วน ทั้งสามด่วน
เดินพล พวกพหลหมู่ม้า ห้าร้อยมามองความ ยล
สยามยาตราทัพ อยู่ท่ารับรายค่าย ขอบหนองสหร่าย
เรียบพยูห์ ดูกองหน้ากองหลวง แลทั้งปวงทราบเสร็จ
เร็วระเห็จไปทูล แด่นเรศรอุปราช ครั้นพระบาทได้
สดับ ธ ก็ทราบสรรพโดยควร ว่านเรศวรกษัตรา กับ
เอกาทศรุถ ยกมาแย่งรงค์ แล้วพระองค์ตรัสถาม สาม
สมิงนายกอง ถ้าจักประมาณพลไกร สักเท่าใดดู
ตระหนัก ตรัสซำ้าซักเขาสนอง ว่าพลผองทั้งเสร็จ
ประมาณสิบเจ็ดสิบแปดหมื่น ดูดาษดื่นท่งกว้าง ครั้น
เจ้าช้างทรงสดับ ธก็ตรัสแก่ขุนทัพขุนกอง ว่าซึ่งสอง
กษัตริย์กล้า ออกมาถ้ารอรับ เป็นพยุหทัพใหญ่ยง คง
เขาน้อยกว่าเรา มากกว่าเขาหลายส่วน จำาเราด่วน
จู่โจม โหมหักเอาแต่แรก ตีให้แยกย่นย่อย ค่อย
เบาแรงเบามือ เร็วเร่งฮือเข้าห้อม ล้อมกรุงเทพทวา
โคลง ๔
เสนีรับถ้อยท่าน ทุกตน
ต่างเร่งตรวจเตรียมพล ทุกผู้
พลหาญหื่นหนรณ เริงร่าน อยู่แฮ
คอยจักขับเคี่ยวสู้ เข่นเสี้ยน
ศึกสยาม
ครั้นยามสิบเอ็ดแล้ว เวลา ลุเอย
องค์อัครอุปราชา หน่อไท้
โสรจสรงรสธารา รวยรื่น ฉมนา
เฉลิมวิเลปน์ลูบไล้ เฟื่องฟุ้ง
เสาวคนธ์
ภูเบนทร์บ่ายบาทขึ้น เกยหอ
ขี่คชชื่อพัทธกอ กาจกล้า
บ่เข็ดบ่ขามขอ เขาเงือด เงื้อแฮ
มันตกติดหลังหน้า เสือกเสื้องส่าย
สมเด็จพระนเรศวรโปรดให้พราหมณ์ทำาพิธี
เบิกโขลนทวาร เซ่นสรวงเทวดา แลพิธีพลีกรรม
แก่ผีสาง ทรงส่งพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ให้หลวง
มหาวิชัยทำาพิธีตัดไม้ข่มนาม ขณะนั้นทรงได้ยิน
เสียงปืนดังมาแต่ไกล จึงโปรดให้หมื่นทิพย์เสนา
ควบม้าอย่างรวดเร็วเพื่อไปสืบข่าว หมื่นทิพย์
เสนาควบม้าไปเห็นกองทัพไทยถอยมาตามท้อง
นาไม่เป็นขบวน จึงจับเอาหมื่นคนหนึ่งกลับมาเฝ้า
พระนเรศวร
           พระองค์ตรัสถามว่า เหตุใดจึง
แพ้ เขาจึงเล่าว่า รี้พลทั้งหมดเดิมทัพมาถึงโคก
เผาข้าวเวลา ๑ นาฬิกา ได้ปะทะกับกองทัพมอญ
ซึ่งมีกำาลังมากกว่า ไม่สามารถต้านทานไว้ได้ เมื่อ
สมเด็จพระนเรศวรทราบ จึงปรึกษากับเหล่าแม่ทัพ
นายกองว่า จะทำาอย่างไรให้ชนะข้าศึก เหล่า
แม่ทัพกราบทูลให้พระองค์จัดทัพไปหน่วงข้าศึก
ไว้ แล้วให้พระองค์ไปตั้งมั่นที่กรุงศรีอยุธยา ให้
แตกซำ้ากลับมาเป็นครั้งที่สอง จึงรับสั่งให้ถอยร่นลง
มา โดยไม่หยุดยั้งเพื่อลวงข้าศึก พม่าจะได้ประมาท
ไล่ติดตามมาไม่เป็นขบวน แล้วค่อยยกกำาลังส่วน
ใหญ่ออกไปตี เห็นจะได้ชัยชนะโดยง่าย เหล่า
แม่ทัพนายกองเห็นชอบด้วย สมเด็จพระนเรศวร
รับสั่งให้หมื่นทิพย์เสนา กับหมื่นราชามาตย์ไปแจ้ง
ข่าวให้ทัพหน้าทราบ
ร่าย
ธก็ตรัสตอบมนตรี ตรองคดีดูแผก ฝ่ายเราแตก
ย่นยับ จักส่งทัพไปทาน พอพลอยฉานสองซำ้า คำ้าบอ
ยู่บหยุด ชอบถอยทรุดอย่ารั้ง ให้ศึกพลั้งเสียเชิง
โดยละเลิงใจอาจ ยาตรตามติดผิดขบวน ควรเรายก
ออกโรม โหมหักหาญราญรงค์ คงชำานะเศิกไสร้ ได้
ด้วยง่ายด้วยงาม เขายินความยลชอบ นอบประณต
แด่ไท้ ธให้หมื่นทิพเสนา กับหมื่นราชามาตย์ เหินหัย
บนานต่างตนผ้าย ไปบ่รอรั้งท้าย
ถี่เท้าผาดผัง มานา
ผันหลังแล่นแผ่ผ้าน บมีผู้อยู่ต้าน
ต่อสู้สักตน หนึ่งนา
โคลง ๓
พวกพลทัพรามัญ เห็นไทยผันหนี
หน้า
ไปบ่หยุดยั้งช้า ตื่นต้อนแตกฉาน น่าน
นา
ไป่แจ้งการแห่งเล่ห์ เท่ห์กลไทยใช่น้อย
ต่างเร่งติดเร่งต้อย เร่งเต้าตีนตาม มา
นา
แลหลังหลามเหลือนับ บเป็นทัพเป็นขบวนแท้
ถวิลว่าพ่ายจริงแล้ ไล่ลำ้าระสำ่าระสาย
และพระเอกาทศรถฝ่าเข้าไปในกองทัพข้าศึก 
สมเด็จพระนเรศวรทรงเคลื่อนทัพตามเกร็ดนาค
ตามตำาราพิชัยสงคราม ในไม่ช้าก็ปะทะกับข้าศึก
ช้างพระที่นั่งทั้งสองเชือก ได้ยินเสียงฆ้อง กลอง
และปืนก็เริ่มคึกคะนองด้วยกำาลังตกมัน ส่งเสียงด้วย
กิริยาร่าเริง ควาญไม่สามารถคัดท้ายไว้ได้ จึงวิ่งฝ่า
เข้าไปในหมู่ข้าศึก แซงทั้งปีกซ้าย ปีกขวา กองหน้า
แม่ทัพนายกลองและไพร่พลไม่สามารถตามเสด็จได้
จะมีก็แต่กลางช้างกับควาญช้าง ๔ คนเท่านั้นที่ตาม
เสด็จได้
           เมื่อวิ่งเข้าใกล้กองหน้า สมเด็จพระพี่
น้องทอดพระเนตรเห็นข้าศึกมีจำานวนมากมาย
เหมือนคลื่นในมหาสมุทร กำาลังไล่ตามทหารไทยมา
จึงไสยช้างพระที่นั่งทั้งคู่ด้วยแรงที่เกิดจากการ
ตกมัน ทั้งถีบทั้งเตะตะลุมบอนทหารพม่ามอญตาย
เกลื่อนกลาด บางส่วนก็ยิงปืนเข้าใส่ บ้างก็ยิงธนูเข้า
ผดุงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืน และทะนุบำารุง
ก่อเกื้อพระศาสนา เหตุใดจึงไม่ช่วยทำาให้ท้องฟ้าใส
สว่างปราศจากหมอกควัน จะได้มองเห็นข้าศึกใน
สนามรบให้ชัดกับตาด้วยเถิด พอตรัสจบ ก็เกิดลม
ครั่นครื้นขึ้นในท้องฟ้า พัดปั่นป่วน หมอกควันที่มืดก็
หายไป สว่างไสวจนเห็นสนามรบ
          สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็น
ข้าศึกขี่ช้างมีฉัตรกั้นทั้ง ๑๖ เชือก แต่ไม่ทันเห็น
พระมหาอุปราชา จึงเร่งขับช้างพระที่นั่งตามหาพระ
มหาอุปราชา
          ณ เบื้องขวาของพระองค์ ทรงเห็น
พญาช้างเชือกหนึ่งกั้นฉัตร มีพลทหารสี่เหล่าเรียง
รายอยู่คับคั่ง อยู่ใต้ต้นข่อย ทรงมีพระราชดำาริว่าน่า
จะเป็นขุนศึกของพม่า เพราะแวดล้อมด้วยรี้พล
ทหาร และเครื่องอุปโภคพรั่งพร้อมไปหมด
          พระนเรศวร และพระเอกาทศรถ ขับ
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย

More Related Content

What's hot

นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 

What's hot (20)

นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 

Similar to Pptลิลิตตะเลงพ่าย

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfเอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfssusere542d7
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัยkutoyseta
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒Manas Panjai
 
กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1Kalasin University
 

Similar to Pptลิลิตตะเลงพ่าย (20)

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfเอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
 
ชุดที่ 2
ชุดที่ 2ชุดที่ 2
ชุดที่ 2
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
History
HistoryHistory
History
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1กวีพเนจร เล่มที่ 1
กวีพเนจร เล่มที่ 1
 
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น303 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง (18)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
 

Pptลิลิตตะเลงพ่าย

  • 1. บทเรียนสำำเร็จรูป เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ำย วิชำภำษำไทย ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕ โดย... นำงนิตยำ ทองดียิ่ง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย โรงเรียนรัษฎำนุประดิษฐ์อนุสรณ์ อำำเภอวังวิเศษ จ.ตรัง สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ
  • 2. ภำษำไทย ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕ เพื่อ ให้กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนน่ำสนใจและ เกิดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของผู้เรียนให้ดีขึ้น ลิลิตตะเลงพ่ำยเป็นวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยำ ศัพท์บำงคำำยำกแก่กำรเข้ำใจ จึงจัดทำำเอกสำร ประกอบกำรเรียนโดยมีคำำแปลอย่ำงย่อๆ ของแต่ละ ตอน และมีคำำศัพท์ประกอบเพื่อให้นักเรียนศึกษำและ อ่ำนเข้ำใจยิ่งขึ้น จะทำำให้นักเรียนเกิดควำมประทับ ใจในควำมงำมของวรรณคดีไทย อันควรแก่กำร อนุรักษ์ ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมและเห็นควำมเก่งกล้ำ สำมำรถของกษัตริย์ไทย ผู้สอนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ เอกสำรสื่อกำรสอน วิชำภำษำไทย รหัส ท๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕ จะเป็นประโยชน์ต่อกำรเรียนกำรสอนอย่ำงยิ่ง (นำงนิตยำ ทองดียิ่ง)
  • 3. คำำ ชี้แจง ๑. ทำำแบบทดสอบก่อนเรียน ๒. อ่ำนเนื้อเรื่องแต่ละตอนให้ เข้ำใจ และทำำกิจกรรมกำรเรียน รู้ทุกตอนตำมลำำดับ ๓. กำรตอบคำำถำมและทำำ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ให้ทำำใน กระดำษอื่นซึ่งมิใช่ในเอกสำรนี้ ๔. ควรตอบคำำถำมและทำำแบบ ฝึกหัดให้เสร็จสิ้นก่อนที่จะเปิดดู เฉลย เพรำะถ้ำเปิดดูคำำตอบ นักเรียนจะไม่ประสบผลสำำเร็จ ๕. เมื่อศึกษำบทเรียนนี้จบแล้ว ให้นักเรียนทำำแบบทดสอบหลัง
  • 4. ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง ๑. สำมำรถศึกษำบอกประวัติของสมเด็จ พระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรส ๒. สำมำรถวิเครำะห์ควำมหมำยคำำศัพท์ และเล่ำเรื่องรำวที่อ่ำนได้ ๓. สำมำรถอธิบำยจุดมุ่งหมำยของเรื่อง และเข้ำใจควำมหมำยของถ้อยคำำ สำำนวนที่ใช้ในงำนประพันธ์ได้ ๔. สำมำรถวิเครำะห์เห็นคุณค่ำในด้ำน ต่ำงๆ และนำำข้อคิดจำกเรื่อง นำำไปใช้ในชีวิตประจำำวันได้ ๕. สำมำรถอธิบำยลักษณะคำำประพันธ์ ประเภทลิลิตได้ ๖. สำมำรถวิเครำะห์เรื่องแล้วซำบซึ้งใน ลิลิตตะเลงพ่ำย
  • 5. ๑. บอกประวัติของสมเด็จ พระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุ ชิตชิโนรสได้ ๒. บอกควำมหมำยของคำำ ศัพท์และเล่ำเรื่องรำวที่อ่ำนได้ ๓. อธิบำยจุดมุ่งหมำยของ เรื่องและเข้ำใจควำมหมำยของ ถ้อยคำำสำำนวนที่ใช้ในงำน ประพันธ์ได้ ๔. อธิบำยเห็นคุณค่ำในด้ำน ต่ำงๆ และนำำข้อคิดจำกเรื่องนำำ ไปใช้ในชีวิตประจำำวันได้ ๕. อธิบำยลักษณะคำำ ประพันธ์ประเภทลิลิตได้ จุดประสงค์กำรเรียนรู้
  • 6. ข. “ลิลิตตะเลงพ่ำย” ได้เค้ำเรื่องมำจำกพระรำช พงศำวดำร ค. “ลิลิตพระลอ” เป็นต้นแบบของกำรประพันธ์ “ลิลิตตะเลงพ่ำย” ง. “ลิลิต” เป็นคำำประพันธ์ที่ประกอบด้วยร่ำยและ โคลงสลับกัน ๒. “สงครำมยุทธหัตถี” ตรงกับรัชสมัยของกษัตริย์ พม่ำพระองค์ใด ก. พระเจ้ำนันทบุเรง ข. พระเจ้ำบุเรง นอง ค. พระเจ้ำเม็งกะยินโย ง. พระเจ้ำตะเบง ชะเวตี้ ๓.พระมหำอุปรำชำไม่อยำกยกทัพไปรบกับสมเด็จ พระนเรศวรฯ เพรำะเหตุผลในข้อใด ก. องค์บิดำชรำแล้ว ควรฤำแคล้วไกล ห่ำง ทดสอบก่อน เรียนก่อนนะ ครับพี่น้อง
  • 7. ข. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วเครำะห์จะได้ลดน้อยลง ค. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วจะได้ป้องกันเครำะห์ร้ำย ง. จงนำำเสื้อผ้ำสตรีมำใส่แล้วจะเป็นกำรสะเดำะเครำะห์ ๕. ลักษณะที่เด่นที่สุดของสมเด็จพระนเรศวรฯ ที่ ปรำกฏใน ลิลิตตะเลงพ่ำย คือข้อใด ก. ทรงกอปรด้วยขัตติยมำนะ ข. ทรงรักชำติยิ่ง กว่ำพระชนม์ชีพ ค. ทรงยึดมั่นในพระพุทธศำสนำ ง. ทรงเป็นกษัตริย์ นักรบที่สำมำรถ ๖. ข้อใดคือวัตถุประสงค์สำำคัญที่สมเด็จพระมหำ สมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ เรื่องลิลิตตะเลงพ่ำย ก. เพื่อจำรึกในแผ่นศิลำรอบระเบียงพระอุโบสถวัด พระเชตุพนฯ ข เพื่องำนฉลองตึกที่สร้ำงใหม่คือ “ตึกสมเด็จ” วัด พระเชตุพนฯ
  • 8. ก. สถำนที่กระทำำยุทธหัตถี คือ ตำำบลตระพังตรุ ข. “จงพ่ออย่ำยินยล แต่ตื้น” ข้อควำมนี้เป็นกำร พระรำชทำนพร ค. ผลพลอยได้จำกกำรทำำยุทธหัตถีในครั้งนั้น สิ่งที่ เด่นชัดที่สุด คือ พม่ำไม่มำรุกรำนไทยอีกเป็นเวลำนำน ง. “...จนจันทรลับเลื่อน เคลื่อนเข้ำตติยำม เจ้ำจอม สยำมไสยำสน์ เหนือบรมอำสน์ ก่อนแก้ว...” “ตติยยำม” หมำยถึง เวลำสองยำมถึงตี ๓ ๘. สมเด็จพระวันรัตใช้วิธีกำรอย่ำงไรในกำรทูลขอ พระรำชทำนอภัยโทษแก่แม่ทัพนำยกองต่อสมเด็จ พระนเรศวรฯ ก. อ้ำงเหตุผลว่ำเทวดำบันดำลให้เป็นไปเช่นนั้น ข. ใช้วิธีอุปมำอ้ำงพระกฤษฎำภินิหำรดุจพระพุทธเจ้ำ ค. อ้ำงพระพุทธพจน์ที่กล่ำวว่ำ “เวรย่อมระงับด้วยกำร ไม่จองเวร”
  • 9. สิ่งก่อสร้ำงอันสวยงำม ค. เพื่อเป็นกำรระลึกถึงควำมดีของผู้ตำย ง. เพื่อเป็นกำรเฉลิมพระเกียรติในวีรกรรม ๑๐. “กลใดไป่ช่วยแผ้ว นภำ ดลฤำ ไสสรว่ำงธุมำ มืดม้วย มลักเล็งเหล่ำพำธำ ทวยเศิก สมรแฮ เห็นตระหนักเนตรด้วย ดั่งนี้แหนงฉงำย” ๑๑. “พระห่วงแต่ศึกเสื้ยน อัสดง เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้ำ คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ อำจประกันกรุงถ้ำ ทัพข้อยคืน ถึง” คำำประพันธ์ข้ำงต้นนี้แสดงให้เห็นถึงข้อใด ก. ควำมห่วงหน้ำพะวงหลัง ข. ควำม
  • 10. พ่ำงพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้ำง ฤำรำมเริ่มรณฤทธิ์ รบรำพณ์ แลฤำ ทุกเทศทุกทิศอ้ำง อื่นไท้ไป่ เทียม” ข้อควำมที่ขีดเส้นใต้ในคำำประพันธ์ข้ำงต้นหมำย ถึงเหตุกำรณ์ในข้อใด ก. พระรำมรบกับทศกัณฐ์ ข. เทวดำบนสวรรค์ รบกับยักษ์ ค. พระอินทร์ทำำศึกกับท้ำวเวปจิตำสูร ง. พระนเรศวร ทำำศึกกับพระมหำอุปรำชำ ๑๓. “หงสำวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิ ดำกำร” จำกคำำประพันธ์นี้ กรุงหงสำวดีรู้เหตุอะไร เป็นสำำคัญ ก. สมเด็จพระมหินทรำธิรำชเสด็จสวรรคต ข. สมเด็จพระมหำจักรพรรดิเสด็จสวรรคต
  • 11. ๑๔. “นฤบดีโถมถีบสู้ ศึกธำร ฟอนฟำดสุงสุมำร มอดม้วย สำยสินธุ์ซึ่งนองพนำนต์ หำย เหือด แห้งแฮ พระเร่งปรีดำด้วย เผด็จ เสี้ยนเศิกกษัย” คำำประพันธ์บทนี้กล่ำวถึงเรื่องใด มีควำม หมำยอย่ำงไร ก. นิมิตบอกเหตุ ควำมมีชัยต่อศัตรู ข. กำรปรำบจระเข้ ควำมพ่ำยแพ้ของข้ำศึก ค. นำ้ำป่ำหลำกท่วมทัพข้ำศึก กำรไม่ต้องเสีย กำำลังรบ ง. กำรต่อสู้อย่ำงดุเดือดของสมเด็จพระนเรศวรฯ : พระมหำอุปรำชำขำดคอช้ำง
  • 12. ๑๕. “ว่ำนครรำมินท์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยรำช เยียววิวำทชิงฉัตร เพื่อกษัตริย์สองสู้...” “นครรำมินทร์” คือ เมืองในข้อใด ก. เมืองอู่ทอง ข. เมือง กำญจนบุรี ค. เมืองกรุงหงสำวดี ง. กรุง ศรีอยุธยำ ๑๖. จำกคำำประพันธ์ในข้อ ๑๕ “กษัตริย์ สอง” หมำยถึงบุคคลในข้อใด ก. พระเจ้ำบุเรงนองกับพระมหำอุปรำชำ ข. พระเจ้ำนันทบุเรงกับพระเจ้ำตะเบงชะเวตี้ ค. พระมหำอุปรำชำกับสมเด็จพระนเรศวรฯ ง. สมเด็จพระนเรศวรฯ กับสมเด็จพระเอกำทศ
  • 13. ๑๗. “อ้ำจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอำรส แก่เสี้ยน จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวง นำ ถนัดดั่งพำหำเหี้ยน หั่นกลิ้งไกล องค์ ณรงค์นเรศวร์ด้ำว ดัสกร ใครจักอำจออกรอน รบสู้ เสียดำยแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วย แฮ เหตุบ่มีมือผู้ อื่นต้ำนทำนเข็ญ” ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของพระมหำอุปรำชำ ที่ปรำกฏอยู่ในบทรำำพันที่ยกมำข้ำงต้นนี้ ก. ขี้ขลำด ข. เคำรพรักพระรำชบิดำ ค. รักแผ่นดินเกิด
  • 14. ๑๘. คำำประพันธ์ต่อไปนี้แสดงควำมรู้สึกอย่ำงไรใน เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ำย “สงครำมครำนี้หนัก ใจเจ็บ ใจนำ เรียมเร่งแหนงหนำวเหน็บ อกโอ้ ลูกตำยฤใครเก็บ ผีฝำก พระเอย ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผำ” ก. ควำมคับแค้นใจ ข. ควำมเศร้ำโศก ค. ควำมหวำดหวั่น ง. ควำมเปล่ำเปลี่ยว
  • 15. ให้ใช้คำำประพันธ์ต่อนี้ตอบคำำถำมข้อ ๑๙ - ๒๐ “พอวำยวรวำกย์อ้ำง โอษฐ์พระ ดำลมหำวำตะ ตื่นฟ้ำ ทรหึงทรหวลพะ- พำนพัด หำวแฮ หอบธุมำงค์จำงเจ้ำ จรัสด้ำว แดนสมร” ๑๙. คำำที่ขีดเส้นใต้ข้อใดเป็นกวีโวหำรแบบ ภำพพจน์ ก. ตื่นฟ้ำ ข. หอบธุมำงค์ ค. วำยวรวำกย์ ง. ทรหึงทรหวล ๒๐. โคลงบทนี้ปรำกฏลักษณะตำมข้อใดมำกที่สุด ก. ใช้คำำโทโทษ ข. ใช้คำำอัพภำส ค. ใช้คำำเกินบังคับ ง. ใช้คำำตำยแทน คำำเอกหลำยที่
  • 16. กรอบที่ ๑ ควำมรู้และที่มำ ของเรื่อง คำำว่ำ “ตะเลง” หมำยถึง มอญ “พ่ำย” หมำยถึง แพ้ “ตะเลงพ่ำย” จึงแปลว่ำ มอญแพ้ ทั้งนี้เพรำะใน สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช มอญ ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ำ และพม่ำได้ ย้ำยรำชธำนีมำอยู่ที่เมืองหงสำวดีเพื่อ ควบคุมดูแลพวกมอญได้สะดวกกำร สงครำมระหว่ำงไทยกับพม่ำในสมัย พระนเรศวรมหำรำชดังปรำกฏใน วรรณคดีเรื่องนี้ ไทยมีชัยชนะ แม้ว่ำ พม่ำได้เกณฑ์พวกมอญมำในกองทัพ เป็นจำำนวนมำก คำำว่ำ “ตะเลงพ่ำย” จึงหมำยถึงพม่ำแพ้นั่นเอง
  • 17. เป็นพระรำชพงศำวดำรอยุธยำที่นำำมำชำำระ และเรียบเรียงให้ได้เนื้อหำที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ในสมัยพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำ โลกมหำรำช และเป็นฉบับที่ถือเป็นหลักกัน มำ) ดังปรำกฏในร่ำยตอนต้นเรื่องว่ำ “จักดำำเนินในเบื้อง เรื่องรำชพงศำวดำร บรรหำรเหตุแผ่นภู ชูพระยศเจ้ำ หล้ำ......................” ลิลิตตะเลงพ่ำยแต่งขึ้น โดยมีจุด ประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ดังควำมในร่ำย ต้นเรื่องว่ำ “...เฉลิมพระเกียรติผ่ำนเผ้ำ เจ้ำจักรพรรดิ แผ่นสยำม สมญำนำมนฤเบศ นเรศวร นรินทร์...” และในโคลงสี่สุภำพท้ำยเรื่องว่ำ
  • 18. ได้บอกนำมไว้ชัดเจนในโคลงกระทู้ตอนท้ำย เรื่อง ดังนี้ กรมหมื่นนุชิตเชื้อ กวี วร ชิโนรส มิ่งมหิศร เสก ให้ ศรีสุคต พจนสุนทร เถลิง ลักษณ์ นี้นำ ขัตติยวงศ์ ผจงโอษฐ์ไว้ สืบหล้ำอย่ำศูนย์ นอกจำกนี้มีผู้ช่วยแต่ง คือ พระองค์เจ้ำ กปิษฐำขัตติยกุมำร เป็นพระรำชโอรสใน พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัยและเจ้ำ จอมมำรดำอัมพำ ดังระบุในเรื่องว่ำ ไพบูลย์โดยบทเบื้อง โบรำณ รีดนำ
  • 19. ประสูติแต่เจ้ำจอมมำรดำจุ้ย เมื่อวันเสำร์ที่ ๑๑ ธันวำคม พ.ศ. ๒๓๓๓ พระนำมเดิมคือ พระเจ้ำ ลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำวำสุกรี เมื่อมีพระชนมำยุได้ ๑๒ พรรษำ ได้ บรรพชำเป็นสำมเณร ณ วัดพระ ศรีรัตนศำสดำรำม แล้วเสด็จไปประทับ ณ วัน พระเชตุพนวิมลมังคลำรำม ทรงศึกษำภำษำ ไทย ภำษำขอม ภำษำบำลี วิชำโบรำณคดี ตลอดจนวิชำลงเลขยันต์ต่ำงๆ จำกสำำนัก สมเด็จพระวันรัต (พนรัตน) วัดพระเชตุพนฯ นั้น ต่อมำใน พ.ศ. ๒๓๕๔ พระองค์ผนวชเป็น พระภิกษุ ฉำยำว่ำ “สุวัณณรังสี” และประทับ ณ วัดพระเชตุพนฯ สืบมำจนตลอดพระชนมำยุ พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ทรง พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ตั้งพระเจ้ำน้องยำเธอ
  • 20. เป็นแหล่งวิทยำกำรสำำหรับประชำชน วัด พระเชตุพนฯ จึงนับว่ำเป็น “มหำวิทยำลัยแห่ง แรกของเมืองไทย” กำรจำรึกวิชำกำรดังกล่ำว กรมหมื่นนุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ตำำรำต่ำงๆ ไว้ หลำยเรื่อง เช่น ตำำรำฉันท์วรรณพฤติและมำตรำ พฤติ โคลงภำพฤำษีดัดตน โคลงจำรึกศำลำรำย โคลงจำรึกพระมหำเจดีย์ โคลงภำพคนต่ำง ภำษำ เป็นต้น เมื่อพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ขึ้นครองรำชย์ใน พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงสถำปนำกรม หมื่นนุชิตชิโนรสขึ้นเป็น กรมสมเด็จพระปรมำนุ ชิตชิโนรส” ตำำแหน่งสกลมหำสังฆปริณำยก สมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ องค์ที่ ๗ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ พระองค์สิ้นพระชนม์ในสมัย รัชกำลที่ ๔ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๖ สิริพระชนมำยุได้
  • 21. สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิต ชิโนรส ทรงมีควำมรู้แตกฉำนทั้งทำงคดีโลกและคดี ธรรมทรงได้รับพระเกียรติคุณยกย่องว่ำเป็น “รัตนกวี” แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีพระปรีชำ สำมำรถอันเชี่ยวชำญยิ่งในกำรทรงนิพนธ์คำำ ประพันธ์ประเภทต่ำงๆ งำนพระนิพนธ์จึงมีเป็น จำำนวนมำก ทั้งโคลง ฉันท์ กำพย์ ร่ำย กลอน และร้อยแก้ว ทุกเรื่องล้วนมีคุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์ และมีเนื้อหำงดงำม เป็นมรดกอันลำ้ำค่ำที่อนุชนควร รักษำ พระนิพนธ์ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลำย ได้แก่ สรรพสิทธิ์คำำฉันท์ กฤษณำสอนน้องคำำฉันท์ สมุทร โฆษคำำฉันท์ตอนปลำย ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดก (หลำยกัณฑ์) ปฐมสมโพธิกถำ และลิลิตตะเลงพ่ำย
  • 22. สุภำพ โคลงสำมสุภำพ และโคลงสี่สุภำพ) แต่งปนกันโดยร้อยโคลงส่งสัมผัสระหว่ำงบท โดยตลอด ดังนี้ โคลง ๔ ส่งสัมผัสระหว่ำงบทกับโคลง สำม เบื้องบรมขัตติย์ท่องท้อง แถวธำร พระจักไล่ลุยลำญ เศิกไสร้ ริปูบ่อรอรำญ ฤทธิ์ รำช เลยพ่อ พ่อจักชำญชเยศได้ ดั่งท้ำว ใฝ่ฝัน ครั้นบดินทร์ดำลได้ สดับ
  • 23. สัมผัสระหว่ำงบท (คำำรับสัมผัสระหว่ำงบทจะใช้คำำที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้) คำำประพันธ์แต่ละชนิดมีคณะและ สัมผัสบังคับ ดังนี้ แผนผังของโคลงสองสุภำพ ตัวอย่ำง เจ็บจำบัลบ่มเศร้ำ ไป่กี่ปำงจักเต้ำ แขกน้องคืนถนอม แม่นำ ตรอมกระอุอกชำ้ำ ปวดปิ้มฝีหัวขวำ้ำ บ่งได้เยียไฉน นี้นำ
  • 24. คำำรับสัมผัสในวรรคที่ ๒ จะใช้คำำที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้ แผนผังของโคลงสำมสุภำพ ตัวอย่ำง พวกพลทัพรำมัญ เห็นไทยผัน หนีหน้ำ ไปบ่หยุดยั้งช้ำ ตื่นต้อน แตกฉำน น่ำนนำ ไป่แจ้งกำรแห่งเล่ห์ เท่ห์กลไทย ใช่น้อย
  • 27. สัมผัสไปยังคำำที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ (คำำใดคำำหนึ่ง) ในวรรคถัดไป ต่อเนื่องกันไป เช่นนี้ทุกวรรค ถ้ำคำำส่งสัมผัสมีรูปวรรณยุกต์ใด คำำรับสัมผัส ควรใช้รูปวรรณยุกต์นั้นด้วย (ให้สังเกตจำกตัวอย่ำงที่ยกมำ) เวลำจบบท ต้อง จบด้วยโคลงสองสุภำพ (ตำมช่วงที่ขีดเส้นใต้ให้เห็น) ตัวอย่ำง พระอำวรณ์หวั่นเทวษ ถึงอัคเรศแรมเวียง พลำงเมิลเมียงไม้เขำ โดยลำำเนำแดนเถื่อน เคลื่อนแสนยำโจษจน ลุตำำบลสังคล่ำ ป่ำระหง ดงดอน พิศศีขรรำยเรียง เพียงสุดสำยเมฆเมิล เนื่องเนิ่นเนินไศล สูงไสวว่ำยฟ้ำ ชอำ่ำอ้ำหำว หน ...ฯลฯ พฤกษำเสียดสีกิ่ง เสียงเสนำะยิ่ง
  • 28. จะไปตีเมืองเขมรซึ่งมักเอำใจออกห่ำงเสมอ ทำงฝ่ำยพม่ำ พระเจ้ำหงสำวดีทรงปรำรภว่ำจะมำตีกรุง ศรีอยุธยำ เพรำะเห็นว่ำเพิ่งผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน พระมหำ อุปรำชพระรำชโอรสจึงจำำต้องยกทัพมำตีไทยโดยเดินทัพมำตั้ง ค่ำยที่ตำำบลตะพังตรุ สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชทรงทรำบข่ำวศึก ขณะเตรียม ทัพไปรบเขมร จึงทรงเคลื่อนทัพไปตั้งรับพม่ำที่หนองสำหร่ำย ทัพ หน้ำของไทยปะทะทัพหงสำวดี สมเด็จพระนเรศวรทรงเคลื่อนทัพ หลวงและได้เข้ำชนช้ำงกับพระมหำอุปรำชำ ทรงได้ชัยชนะ ทัพ หงสำวดีแตกพ่ำย เมื่อเสร็จศึกทรงปูนบำำเหน็จทหำร และปรึกษำ โทษแม่ทัพนำยกองที่ตำมเสด็จไม่ทัน ปล่อยพระองค์และพระ อนุชำตกอยู่ท่ำมกลำงวงล้อมของพม่ำ สมเด็จพระวันรัตวัดป่ำแก้ว ทูลขอพระรำชทำนอภัยโทษแก่แม่ทัพนำยกองเหล่ำนั้น พระองค์ พระรำชทำนให้ แต่ให้แม่ทัพนำยกองทั้งหลำยแก้ตัวโดยยกทัพ ไปตีเมืองทวำย มะริด และตะนำวศรี ต่อมำเมืองเชียงใหม่ส่งทูต มำขอเป็นเมืองขึ้น ตอนท้ำยเรื่องเป็นเนื้อควำมยอพระเกียรติ สมเด็จพระนเรศวรที่ทรงดำำรงพระองค์อยู่ในทศพิธรำชธรรม ๑๐ ข้อ รำชสดุดี ๕ ข้อ และจักรพรรดิวัตร ๑๒ ข้อ ตอนจบบอก นำมผู้นิพนธ์
  • 29. ดูเฉลยหน้ำต่อไป นะครับ กิจกรรมกำร เรียนรู้ที่ ๑ และ...................................................................................................... ............................................................. ๓.ผู้แต่ง “ลิลิตตะเลงพ่ำย” ได้บรรพชำ และอุปสมบทที่ วัด ........................................................................ ๔.ตำำแหน่ง “พระมหำสมณเจ้ำ” ของผู้แต่ง พระมหำกษัตริย์ผู้ทรง พระรำชทำน คือ........................................................................................................ ........................................................ ๕. เหตุใดผู้แต่งจึงได้รับยกย่องเป็น “รัตนกวี” แห่งกรุง รัตนโกสินทร์......................................................................................... ......................................................................... ๖. ตะเลงพ่ำย หมำย ถึง........................................................................................................ ........................... ๗. เรื่อง “ลิลิตตะเลงพ่ำย” มีผู้ช่วยแต่ง พระนำม ว่ำ....................................................................................... ๘. ลิลิตสุภำพ ประกอบด้วยคำำประพันธ์ ประเภท............................................................................................ ๙.ร่ำยสุภำพเป็นร่ำยที่บังคับ วรรคละ .............คำำ และจบด้วยคำำประพันธ์
  • 30. องค์ที่ ๗ a.พระเจ้ำลูกยำเธอ พระองค์เจ้ำวำสุกรี b.พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลก และเจ้ำจอมมำรดำอุ้ย c.บรรพชำ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลำรำม และอุปสมบถ ณ วัด พระศรีรัตนศำสดำรำม d.พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว e.พระองค์ทรงมีพระปรีชำสำมำรถในกำรทรงนิพนธ์คำำประพันธ์ ประเภทต่ำง ๆ และมีงำนนิพนธ์จำำนวนมำก f.พม่ำแพ้ g.พระองค์เจ้ำกปิษฐำขัตติยกุมำร h.ร่ำยสุภำพ และโคลงสุภำพ (โคลงสองสุภำพ , โคลงสำม สุภำพ , โคลงสี่สุภำพ) i.วรรคละ ๕ คำำ จบด้วยโคลงสองสุภำพ j. แผนผังร่ำยสุภำพ k.แผนผังโคลงสองสุภำพ สัมผัสระหว่ำงบท (คำำรับสัมผัสระหว่ำงบทจะใช้คำำที่ ๑
  • 31. กรอบที่ ๒ เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี เนื้อเรื่องย่อ ตอนที่หนึ่ง เริ่มด้วยบทกวี บทประฌำมพจน์ เริ่มด้วยร่ำยยอพระเกียรติพระเจ้ำแผ่นดินว่ำ ด้วยพระเดชำนุภำพทรงสำมำรถปรำบศัตรูให้พ่ำยแพ้ไป เมื่อเสด็จ ขึ้นครองรำชย์บ้ำนเมืองจึงสงบร่มเย็น ผู้คนในแผ่นดินล้วนกล่ำว สรรเสริญพระเกียรติคุณ ตอนที่สอง สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชเสด็จขึ้นครองรำชย์หลังจำกพระรำช บิดำ (คือสมเด็จพระมหำธรรมรำชำ) เสด็จสวรรคต พระเอกำทศรถผู้ เป็นพระอนุชำได้เป็นพระมำอุปรำช ต่อมำสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ทรงปรำรภกับหมู่อำำมำตย์จะยกทัพไปตีเขมรซึ่งกระทำำทุจริตมิชอบอยู่ เสมอด้วยกำรยกทัพมำตีเมืองชำยแดน เมื่อทำงอยุธยำส่งกองทัพไป ปรำบก็ยอมอ่อนน้อมสวำมิภักดิ์ แต่เมื่อมีโอกำสก็คิดแข็งเมืองเมื่อนั้น พระองค์จึงทรงปรำรภจะยกกองทัพไปตีเขมร และจับเจ้ำเขมรมำตัด ศีรษะ เอำโลหิตล้ำงพระบำทให้จงได้ เพื่อให้เขมรศิโรรำบแต่โดยดี ดัง คำำประพันธ์ “...ครั้งนี้ตูสองตน ผ่ำนสกลแผ่นหล้ำ ควรไปร้ำรอนเข็ญ เห็น มือไทยที่แกล้ว แผ้วภพให้เป็นเผื่อน เกลื่อนภพให้เป็นพง คงแต่นำ้ำกับ ฟ้ำ คงแต่หญ้ำกับดิน ยังอรินทร์รู้ฤทธิ์ อย่ำคืนคิดเหิ่มหำญ ผลำญจง เสร็จ เด็ดเกล้ำ เจ้ำกัมพุชทุจริต เอำโลหิตล้ำงบำท แล้วธสังมำตย์
  • 32. เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี เหตุกำรณ์ทำงกรุงหงสำวดี พระเจ้ำนันท บุเรง กษัตริย์พม่ำทรงทรำบข่ำวว่ำพระมหำธรรม รำชำสวรรคต จึงทรงคำดว่ำกรุงศรีอยธยำอำจมี กำรชิงบัลลังก์กันระหว่ำงพระนเรศวรกับพระเอกำทศ รถ จึงรับสั่งให้พระมหำอุปรำชำผู้เป็นโอรสยกทัพมำ รุกรำนไทย แต่พระมหำอุปรำชำได้กรำบทูลพระรำช บิดำว่ำ โหรทำำนำยว่ำพระองค์กำำลังมีเครำะห์ พระเจ้ำนันทบุเรงจึงตรัสประชดว่ำ ถ้ำเกรงจะมี เครำะห์ก็ให้นำำเสื้อผ้ำสตรีมำสวมใส่เพื่อเป็นกำรสร่ำง เครำะห์ พระมหำอุปรำชำเกรงพระรำชอำญำและ ทรงอับอำย จึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยำ โดยเกณฑ์ พลจำกเชียงใหม่และเมืองขึ้นต่ำง ๆ มำช่วย จำก นั้นพระองค์ก็เสด็จเข้ำห้องเพื่อไปลำพระสนมด้วย ควำมอำลัย
  • 33. ธรรมราชนรินทร์ เจ้าปถพินทร์ผ่านทวีป ดับชนมชีพพิราลัย เอารสไท นฤเบศ นเรศวรเสวยศวรรยา แจ้งกิจจาตระหนัก จึ่งพระปิ่นปักธาษตรี บุรีรัตนหงสา ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตยากร ว่านครรามินทร์ ผลัด แผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เพื่อกษัตริย์สองสู้ บร้างรู้เหตุผล ควรยาตรพลไปเยือน เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที โจม จู่ยี่ยำ่าภพ เสนีนบนึกชอบ ระบอบเบื้องบรรหาร ธก็เอื้อนสารเสาวพจน์ แต่เอารสยศเยศ องค์อิศเรศอุปราช ให้ยกยาตราทัพ กับนครเชียงใหม่ เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปราจิน บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อย ผู้ข้าบาทบงสุ์ โหรควรคงทำานาย ทายพระเคราะห์ถึงฆาต ฟังสารราช เอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญ หักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้า คร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์ สร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณ มาตย์มวล นวลพระพักตร์ผ่องเผือด เลือดสลดหมดคลำ้า ชำ้ากมลหมอง มัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไท้ลีลาศ ธก็ ประกาศเกณฑ์พล บอกยุบลบ่มิหึง ถึงเชียงใหม่ตระบัด เร่งแจงจัด จตุรงค์ ลงมาสู่หงสา แล้วธให้หาเมืองออก บอกทุกแดนทุกด้าว บอกทุก ท้าวทุกเทศ ทั่วทุกเขตทุกขอบ รอบสีมามณฑล ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง เหตุการณ์ทางกรุงหง สาวดี
  • 34. โคลง ๒ พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง หนุ่มหน้าพระสนม ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ยม เฝ้า อยู่ถ้าทูลสนอง กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรส แคล้ว คลาดเคล้าคลาสมร จำาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่า ละห้อย ห่อนช้าคืนสม แม่แล
  • 35. ๑. “หงสาวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิ ดาการ” ข้อความนี้สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด ก. หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสู้ศึกบมิหย่อน ข. เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา ค. มหาธรรมราชานรินทร์ เจ้าปถพินทุร์ผ่านทวีป ดับชนม์ชีพพิราลัย ง. เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที โจมจู่ยียำ่าภพ ๒. “ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตรยากร ว่านคร รามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช” “นครรามินทร์” หมายถึงข้อใด ก. เมืองมอญ ข. เมืองพม่า ค. เมืองไทย ง. เมืองเขมร ๓. เมืองใดมาช่วยพม่ารบกับไทย
  • 36. ก. ถ้าสนามรบเรียบดี การโจมตีก็สะดวก ข. แม้เหตุการณ์ไม่เรียบร้อย เป็นโอกาสที่จะโจมตี ค. หากว่าสนามรบไม่ราบเรียบ ก็อย่าเข้าโจมตีเลย ง. แม้นมีเหตุการณ์เรียบร้อย ก็ยกทัพกลับโดยเร็ว ๕.“เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปรา จิน”ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด ก. จังหวัดปราจีนบุรี ข. เมืองเขมร ค. เมือง เชียงใหม่ ง. เมืองไทย ๖. “บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อยผู้ข้าบาทบงสุ์” คำาที่ ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด ก. คำาพูดที่ไพเราะ ข. กล่าวโต้ตอบ ค. ถ้อยคำาพูด ง. ถนัด ๗. คำาพูดในข้อใดทำาให้ผู้ฟัง “แสนอัประมาณ มาตย์มวล” ก. เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ ข. เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่าง เคราะห์
  • 37. เท้า ข. โชคดีสี่ประการ คือ แม่ทัพดี อาหารสมบูรณ์ ทหารกล้า วันเดือนดี ค. พรสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุข พละ ง. อาวุธดี ได้แก่ ดาบ ของ้าว หน้าไม้ ปืน ไฟ ๙. “คั่งคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ” คำาว่า เพศ ในที่นี้แปลว่าอะไร ก. ภาษาพูด ข. อาวุธชนิด หนึ่ง ค. สัตว์พาหนะ ง. รูปร่างหน้าตา ๑๐. ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์ แสดงภาพพจน์ ก. พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว ดั่ง เบื้องบรรหาร ข. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู ดูเฉลยหน้าต่อไป นะครับ ดูเฉลยหน้าต่อไป นะครับ
  • 39. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาทพระเจ้านันทบุเรง ประทานโอวาท ๘ ประการ แก่พระมหาอุปราชา ดังนี้ ๑. อย่าเป็นคนหูเบา ๒. อย่าทำาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจ ผู้อื่น ๓. รู้จักเอาใจทหารให้ฮึกเหิมอยู่เสมอ ๔. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่ ๕. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูป แบบ ๖. รู้หลักพิชัยสงคราม การตั้งค่าย ๗. รู้จักให้บำาเหน็จความดีความชอบแก่ แม่ทัพนายกองที่เก่งกล้า
  • 40. โคลง ๒ พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จ ศึกด้าว ดั่งเบื้องบรรหาร โคลง ๓ ภูบาลอื้นอำานวย อวย พระพรเลิศล้น จงอยุธย์อย่าพ้น แห่ง เงื้อมมือเทอญ พ่อนา โคลง ๔ จงเจริญชเยศด้วย เดชะ
  • 41. อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทำานา การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อเลี้ยว หลอกหลอน จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง โบราณ เป็นประโยชน์ยุทธการ กล่าวไว้ เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่ นา อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้ว ขลาดเขลา หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน เจนจิตวิทยาการ กาจแกล้ว รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา อาจจักรอนรณแผ้ว แผก แพ้พังหนี หนึ่งรู้บำาเหน็จให้ ขุนพล
  • 42. จงจำาคำาพ่อไซร้ สั่งสอน จงประสิทธิ์สมพร พ่อให้ จงเรืองพระฤทธิ์รอน อริราช จงพ่อลุกลาภได้ เผด็จด้าวแดนสยาม พระมหาอุปราชารำาพันถึงนาง กวีใช้ลีลาการแต่งแบบนิราศแต่งบทรำาพันถึง นาง โดยนำาธรรมชาติที่พระมหาอุปราชาได้ พบเห็นเชื่อมโยงกับอารมณ์ความรู้สึกของพระองค์ ที่มีต่อพระสนม ใช้ความเปรียบโดยนำาชื่อดอกไม้ ต้นไม้ เป็นสื่อพรรณนาความรักและความอาลัยต่อ นางอันเป็นที่รักได้อย่างไพเราะ และสะเทือน อารมณ์เป็นอย่างยิ่ง
  • 43. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวล สงวน สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร ฤา เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้ สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา นึกระกำานามไม้ แม่นแม้นทรวง เรียม สายหยุดหยุดกลิ่นฟ้ง ยามสาย สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่ ถวิลทุกขวบคำ่าเช้า หยุดได้
  • 44. ๒. อย่าทำาอะไรตามใจตนเอง ................................................................................................................ ๓. ให้เอาใจทหาร ................................................................................................................... ๔. อย่าไว้ใจคนขลาด ................................................................................................................ ๕. รอบรู้กระบวนการจัดทัพ ................................................................................................................ ๖. รู้หลักตำาราพิชัยสงคราม ................................................................................................................ ๗. ให้รางวัลทหารที่มีความสามารถ ................................................................................................................ ๘. จงพากเพียร อย่าเกียจคร้าน ................................................................................................................ ๙. “สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา” คำาประพันธ์นี้ใช้ศิลปะใน
  • 45. คำาตอบ ๑. จงพ่ออย่ายินยล แต่ตื้น ๒. อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทำานา ๓. เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา ๔. อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้ว ขลาด เขลา ๕. หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน ๖. รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา ๗. หนึ่งรู้บำาเหน็จให้ ขุนพล ๘. อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ ๙. การใช้คำาซำ้า ๑๐. การใช้คำาซำ้า
  • 46. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช ตอนที่สี่ สมเด็จพระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมือง เขมร ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยู่ที่ ท้องพระโรง ทรงไต่ถามทุกข์สุขของมวลพสกนิกร ขุนนางทั้งหลาย ต่างถวายความเห็นแด่สมเด็จพระ นเรศวร พระองค์ทรงตัดสินคดีความให้ลุล่วงไป ตามแบบอย่างยุติธรรม เสร็จแล้วทรงปรึกษา ขุนนาง เพื่อเตรียมทัพไปปราบเขมรว่าควรยกไป เมื่อไรดี โดยให้เกณฑ์กำาลังพลมาจากทางใต้ พระองค์ทรงห่วงแต่ศึกมอญพม่า เกรงว่าจะยกมาตี กรุงศรีอยุธยา จึงมอบหมายให้ พระยาจักรี เป็นผู้ ดูแลกรุงศรีอยุธยาในระหว่างที่ทำาศึกกับเขมร ให้ ตั้งใจรักษาเมืองไว้ พระองค์จะรีบกลับมาปกป้อง แผ่นดินสยามโดยไว   พระองค์ทรงปลอบ พระองค์ว่า พม่าเพิ่งแพ้ไทยกลับไปเมื่อต้นปี คงไม่
  • 47. จากอำานาจเวรกรรม) พัดฉัตรบนหลังช้างทรงหัก พระมหาอุปราชาทรงหวั่นพระทัย จึงทรงให้โหรมา ทำานายเหตุการณ์ดังกล่าว โหรทั้งหลายต่างตระหนัก ว่าเป็นเหตุร้ายแรง ถ้าทูลความจริงเกรงจะได้รับ โทษ จึงทูลว่าเหตุการณ์นี้เกิดในยามเช้าไม่ดี แต่เกิด ในยามเย็นนั้นดี พระฝืนทุกข์เทวษกลำ้า แกล่ครวญ ขับคชทบจรจวน จักเพล้ บรรลุพนมทวน เถื่อนที่ นั้น นา เหตุอนาถหนักเอ้ อาจให้ชน เห็น เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หน เฮย ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม หวนหอบหักฉัตรา คช
  • 48. ต้อง กระหม่าหระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหร ทาย ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ เห็นตระหนักแน่ใน เหตุ ห้าว จักทูลบ่ทูลไท เกรงโทษ ท่านนา เสนอแต่ดีกลบร้าว เกลื่อนร้ายกลายดี เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว ฉุกเข็น เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอก ไท้
  • 49. ********************* คำาสั่ง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ a. พระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึง “พนมทวน” เวลาใด b. อำาเภอพนมทวน อยู่ในจังหวัดใด ๓. ให้ยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่กล่าวถึงเหตุร้าย ของพระมหาอุปราชา ๔. ลมเวรัมภา หมายถึง ๕. “ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ” จากบทประพันธ์นี้หมายถึงใคร ๖. “พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง” จากบท ประพันธ์นี้มีโวหารใด ๗. บทประพันธ์ใด ที่กล่าวถึงคำาทำานายของโหร ๘. เหตุใดโหรจึงไม่ทูลความจริงเกี่ยวกับคำา
  • 50. คำาตอบ ๑. ใกล้คำ่า ๒. กาญจนบุรี ๓. เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ แลธุลีกลัดกลุ้ม เกลื่อนเพี้ยงจักรผัน ๔. ลมที่เกิดจากอำานาจเวรกรรม ๕. โหร ๖. อุปมาโวหาร ๗. เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว ฉุกเข็น เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอกไท้ อย่าขุ่นอย่าลำาเค็ญ ใจเจ็บ พระเอย พระจักลุลาภได้ เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ ๘. เกรงจะได้รับโทษ
  • 51. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชา รำาพึงถึงพระบิดา พระมหาอุปราชาทรงรำาพึงถึงพระบิดาว่า หากต้องทรงเสียโอรส คือพระมหาอุปราชาแก่ ข้าศึก พระเจ้านันทบุเรงคงจะทรงเสียพระทัย และทรงเป็นทุกข์ยิ่ง แผ่นดินมอญก็จะไม่มีผู้ มาปกป้อง ด้วยพระเจ้านันทบุเรงก็ทรง ชราภาพแล้ว เกรงว่าจะแพ้ข้าศึก หากพระมหา อุปราชาสิ้นพระชนม์ในสงครามครั้งนี้ทรงเป็น ห่วงว่าจะไม่มีใครมาเก็บพระศพ พระเจ้านันท บุเรงก็จะไม่มีคู่คิดในการทำาศึกสงคราม พระคุณของพระเจ้านันทบุเรงนั้นมากเกรงว่าจะ ไม่ได้ตอบแทน
  • 53. เกรงบพิตรจักแพ้ เพลี่ยง พลำ้าศึกสยาม สงครามครานี้หนัก ใจ เจ็บ ใจนา เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อก โอ้ ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ ใครเผา พระเนานัคเรศอ้า เอองค์ ฤาบ่มีใครคง คู่ร้อน จักริจักเริ่มรงค์ ฤาลุ แล้วแฮ พระจักขุ่นจักข้อน จักแค้น คับทรวง พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
  • 54. เดียว ๑. “อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน” จากบท ประพันธ์นี้ คำาว่า “เอารส” หมายถึงใคร ก. พระนเรศวร ข. พระเอกาทศรส ค. พระมหาอุปราชา ง. พระเจ้านันทบุเรง ๒. “ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร ใครจักอาจออกรอน รบสู้ เสียดายแผ่นดินมอญพลันมอด ม้วยแฮ เหตุบ่มีมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ” บทประพันธ์ นี้ให้ข้อคิดเห็นอย่างไร ก. ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมผันแปร ข. พม่าไร้คนมี ฝีมือ ค. พม่าคิดแต่จะรบกับไทย ง. ไม่มีใครคิดอยาก ทำาสงครามอีก ๓. “ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา” จากบท
  • 55. ๔. “พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้ พระเกิดพระก่อชนม์ ชุบชีพ มานา เกรงบ่ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง” จากบทประพันธ์นี้ชี้ให้เห็นเด่นชัดเรื่องใด ก. ความกตัญญู ข. เกิดจินตภาพ ค.ใช้คำาได้ดีสละ สลวย ง. เกิดอารมณ์หวั่นไหว ๕. ข้อใดเป็นโวหารแบบอธิพจน์ ก. พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนได้ ข. อ้าจอมจักพรรดิ์ผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน ค. ชาวสยามคร้ามเศิกสิ้น ทั้งผอง นายและไพร่ไป่ปอง รบเร้า ง. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
  • 57. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ           สมเด็จพระนเรศวรตรัสว่า เราจะไปตีเมืองกัมพูชา แต่ มอญชิงส่งทัพเข้ามารบเสียก่อน ทำาให้เราไม่ได้ไปรบกับเขมร ทรงสั่งให้ไปรบกับมอญแทน อันเป็นมหรสพอันยิ่งใหญ่ ว่า แล้ว ทรงประกาศให้เมืองกาญจนบุรี เกณฑ์กำาลังพล ๕๐๐ ไป สอดแนมซุ่มดูกำาลังของข้าศึก ที่เดินทางผ่านลำานำ้ากระเพิน โดยตัดสะพานให้ขาดเป็นท่อน ทำาลายเชือกสะพานให้ ขาดลอยเป็นทุ่น ก่อไปทำาลายเสียอย่าให้มอญจับได้           ทันใดนั้นทูตจากเมืองต่างๆ ก็ส่งรายงานศึกมา ให้พระองค์ทราบ เป็นการสนับสนุนข่าวนั้นว่าเป็นจริง พระ นเรศวรทรงยินดีที่จะได้ปราบศัตรูบ้านเมือง ทรงปรึกษากับ เหล่าเสนาอำามาตย์ว่า การศึกครั้งนี้ ควรจะสู้นอกเมือง หรือตั้ง รับในเมือง เหล่าขุนนางทั้งหลายก็กราบทูลว่า พระองค์ควร เสด็จไปทำาศึกนอกเมืองจะดีกว่า ซึ่งก็ตรงกับพระทัยของ สมเด็จพระนเรศวร     แล้วมีพระบรมราชโองการ เรียก เกณฑ์พลจากหัวเมือง ตรี จัตวา กับหัวเมืองทางใต้ ให้พระยา ศรีไสยณรงค์ เป็นทัพหน้า มีพระราชฤทธานนท์ เป็นปลัดทัพ มีกำาลังพล ๕ หมื่น ทรงสั่งอีกว่าให้รีบรบโดยเร็ว หากต้านทาน ไม่ไหว พระองค์จะเสด็จมาช่วยภายหลัง   แม่ทัพทั้งสอง
  • 58. สมเด็จพระนเรศวรเสด็จจากกรุงศรีอยุธยาไป ขึ้นบกที่อำาเภอปากโมก (ป่าโมก) จังหวัดอ่างทอง เมื่อพระองค์บรรทมก็เกิดพระสุบินเทพสังหรณ์ว่า มี นำ้าท่วมมาจากทิศตะวันตก พระองค์ทรงลุยนำ้า พบ จระเข้ใหญ่จะกัดพระองค์ จึงทรงต่อสู้กับจระเข้ด้วย พระแสงดาบ จระเข้ถูกพระนเรศวรฆ่า นำ้าที่ท่วมก็ กลับแห้งเหือดไป เมื่อพระองค์สร่างบรรทมจึงทรง ให้โหรทำานายพระสุบิน โหรทำานายว่าเป็นพระสุบิน ที่เทวดาดลบันดาลให้ทรงทราบ นำ้าที่ไหลเชี่ยวคือ กองทัพพม่า ส่วนจระเข้นั้นหมายถึงพระมหาอุป ราชา สมเด็จพระนเรศวรจะทรงกระทำายุทธหัตถีกับ พระมหาอุปราชาและทรงมีชัยชนะ เมื่อสมเด็จพระ นเรศวรทรงสดับคำาพยากรณ์ของโหรก็ทรงยินดี จากนั้นทรงเครื่องต้นเสด็จพร้อมพระอนุชาไปยัง กองทัพที่เตรียมไว้ เกิดศุภนิมิต สมเด็จพระนเรศวร ทอดพระเนตรพระบรมสารีริกธาตุ มีแสงสว่าง งดงามขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยงลอยมาจากทิศใต้
  • 59. เทวัญแสดงเหตุให้ สังหรณ์ เห็นแฮ เห็นกระแสสาคร หลั่ง ล้น ไหลลบวนาดอน แดน ตก ทิศนา พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่ นำ้านองสาย พระกรายกรย่างเยื้อง จรลี ลุยมหาวารี เรี่ยวกว้าง พอพานพะกุมภีล์ หนึ่ง ใหญ่ ไสร้นา โถมปะทะเจ้าช้าง จักเคี้ยวขบองค์
  • 60. โคลง ๒ ครั้งบดินทร์ดาลได้ สดับพยากรณ์ไท้ ธิราชแผ้วพูนเกษม เปรมปรีดิ์ปราโมทย์แท้ เพราะพระโหรหากแก้ กล่าวต้องตามฝัน พระพลันทรงเครื่องต้น งามประเสริฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม ชื่นนา สมเด็จอนุชาน้องแก้ว ทรงสุภาภรณ์แพร้ว เพริศพร้อมเพราตา ยิ่งแฮ
  • 61. ร่าย สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดูมหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน องค์ อดิศวรสองกษัตริย์ คอยนฤขัตรพิชัย บัดเดี๋ยว ไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาส โศภิต ช่วงชวลิตพ่างผล ส้มเกลี้ยงกลกุก่อง ฟ่องฟ้าฝ่ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคำารบ สามครา เป็นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียน อัมพร ผ่านไปอุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว ท่านตั้งสดุดี อยู่นา ฯลฯ
  • 62. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๖ คำาสั่ง จงเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ เดียว ๑. “เทวัญแสดงเหตุให้ สังหรณ์ เห็นแฮ เห็นกระแสสาคร หลั่งล้น ไหลลบวนาดอน แดนตก ทิศนา พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่นำ้านองสาย” จากบทประพันธ์นี้แสดงให้เห็นว่าพระนเรศวรฝัน แบบใด ก. บุพนิมิต ข. จิตนิวรณ์ ค. เทพสังหรณ์ ง. ธาตุโขภะ ๒. “ไหลลบวนาดอนแดนตก ทิศนา” จากบท ประพันธ์นี้“แดนตก”หมายถึงข้อใด ก.พม่า ข. มอญ ค. เขมร ง. ไทย
  • 63. องค์” จากบทประพันธ์นี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. กุมภีล์ คือ พระมหาอุปราชา ข. เจ้าช้าง คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ ค. วารี คือ กองทัพพม่า ง. เจ้าช้าง คือ พระ นเรศวร ๔. คำาคู่ใดมีความหมายต่างกัน ก. กุมภีล์ - สุงสุมาร ข. สายสินธุ์ - กระแสสาคร ค. ดิลกเจ้าจอมถวัลย์ - ไทเทเวศร์ ง. ทฤษฎี - ยล ๕. ข้อใดไม่ใช่ศุภนิมิต ที่สมเด็จพระนเรศวรทอด พระเนตร ก. สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ข. บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต
  • 65. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตาม เกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ สมเด็จพระนเรศวร ให้โหรหาฤกษ์ยามดีเพื่อ เคลื่อนพลไปรบ หลวงญาณโยคโลกทีป ถวายคำา พยากรณ์ทูลว่า พระองค์ได้จตุรงคโชค อาจปราบ ประเทศต่างๆให้แพ้สงครามได้ เชิญเสด็จเคลื่อนทัพ ในยามเช้า วันอาทิตย์ขึ้น ๑๑ คำ่า ยำ่ารุ่ง ๘ นาฬิกา ๓๐ นาที ในเดือนยี่ นับเป็นฤกษ์สิริมงคล ทรงสดับ แล้ว ให้ตรวจทัพเตรียมเคลื่อนพลทางนำ้า มุ่งสู่ตำาบล ปากโมก จังหวัดอ่างทอง สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ สรงนำ้าอบหอม แต่งพระองค์ด้วยภูษาทรงอันสวยงาม นับแต่ผ้ารัดบั้นพระองค์ มีชายไหวชายแครงสนับ เพลา ทับทรวง สะอิ้ง ล้วนสวยงาม สวมข้อพระกร ด้วยกำาไลอ่อน พระธำามรงค์ที่สวมนิ้วพระหัตถ์ทั้ง ๘ ประดับเพชรพลอยแพรวพราวเป็นสีรุ้ง ทรงมงกุฎ
  • 66. พลผ่านโขลนทวาร พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาให้มีชัย และเคลื่อนทัพจนถึงตำาบลปากโมก ทรงปรึกษาเหล่า ขุนนางเรื่องการศึก จนล่วงเข้ายามสามก็เสด็จเข้าที่ บรรทมครั้นถึงเวลา ๔ นาฬิกา พระองค์ทรงสุบิน เป็น ศุภนิมิต ว่า ทรงทอดพระเนตรเห็นนำ้าไหลบ่าท่วมป่าสูง มาทางทิศตะวันตก เป็นแนวยาวสุดสายพระเนตร ขณะ พระองค์ลุยกระแสนำ้าอันเชี่ยวกรากนั้น มีจระเข้ใหญ่ตัว หนึ่งมาโถมปะทะ และจะกัดพระองค์ พระองค์ใช้ แสงดาบที่ถือในพระหัตถ์ต่อสู้กับจระเข้ พระองค์ฟันเข้า ถูกจระเข้ตาย ทันใดนั้นสายนำ้าที่ท่วมป่าอยู่ก็เหือดแห้ง เมื่อตื่นบรรทม สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทำานาย พระสุบินนิมิตทันที เหล่าโหรพยากรณ์ว่า พระสุบินครั้ง นี้ เกิดเพราะเทวดาสังหรณ์ให้ทราบเป็นนัยว่า      นำ้าซึ่งไหลท่วมป่าทางทิศตะวันตกนั้นคือกองทัพ พม่า      ส่วนจระเข้นั้นคือพระมหาอุปราชา การสงคราม
  • 67.           เมื่อพระองค์สดับฟังคำาพยากรณ์ ก็มีความ ผ่องแผ้วเป็นสุขใจ และเสด็จมายังเกยช้างที่ประทับ ณ พลับพลาในค่ายหลวง ในระหว่างที่คอยพิชัย ฤกษ์อยู่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นพระบรม สารีริกธาตุ ส่องแสงเรืองรอง มีขนาดเท่าผลส้ม เกลี้ยง ลอยมาในท้องฟ้าทางทิศใต้ ลอยวนรอบ กองทัพเป็นทักษิณาวรรต ๓ รอบ แล้วลอยเวียน ฉวัดเฉวียนกลางฟ้า ผ่านไปทางทิศเหนือ           สมเด็จพระพี่น้อง ทรงกราบนมัสการ ด้วยความปลาบปลื้มปิติยินดียิ่ง ทรงพระช้างชื่อ ไชยานุภาพ ส่วนพระเอกาทศรถทรงช้าง พลาย ปราบไตรจักร โดยเสด็จนำาหน้าขบวนสมเด็จพระ นเรศวร
  • 68. ฝ่ายนายกองลาดตระเวน ซึ่งพระมหาอุปราชา ใช้ให้ขี่ม้าตรวจดูทัพไทย มีสมิงอะคร้าน สมิงเป่อ สมิงซายม่วน พร้อมทหารม้า ๕๐๐ และกราบทูลพระ มหาอุปราชาว่า กองทัพไทยตั้งค่ายอยู่ที่หนอง สาหร่าย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกา ทศรถเป็นผู้ยกทัพมาเอง มีรี้พลประมาณ ๑๗-๑๘ หมื่น พระมหาอุปราชาจึงตัดสินใจใช้วิธีจู่โจม หัก เอาชัยชนะเสียแต่แรก เพื่อเบาแรง แล้วล้อมกรุง ศรีอยุธยา แล้วชิงราชสมบัติในภายหลัง จึงรับสั่งให้ เตรียมพลให้เสร็จตั้งแต่ ๓ นาฬิกา(ตีสาม) พอ ๕ นาฬิกา(ตีห้า) ก็ยกทัพกะให้ไปสว่างกลางทาง รุ่ง เช้าจะได้เข้ามีทันที พระองค์ขึ้นประทับพลับพลาที่มี เกยสำาหรับขึ้นช้าง เพื่อประทับช้างพระที่นั่งชื่อ พลายพันธกอ
  • 69. ฝ่ายไทย พระยาศรีไสยณรงค์ กับพระราช ฤทธานนท์ ได้รับพระราชโองการจากสมเด็จพระ นเรศวร จึงยกพลเข้าโจมตีทัพพม่าตั้งแต่กลางดึก มีกำาลังพลทั้งหมด ๕ หมื่น โดยจัดทัพดังนี้         ทัพหน้า มีพระสุพรรณเป็นแม่ทัพ เจ้าเมืองธนบุรีเป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองนนทบุรีเป็นปีก ขวา        ทัพหลวง พระยาศรีไสยณรงค์เป็น แม่ทัพ ขี่ช้างชื่อพลายสุรงคเดชะ เจ้าเมืองสรรค์บุรี เป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองสิงห์บุรีเป็นปีกขวา         ทัพหลัง พระราชฤทธานนท์เป็นแม่ทัพ ขี่ช้างชื่อชนะจำาบัง เจ้าเมืองชัยนาทเป็นปีกซ้าย พระยาวิเศษชัยชาญเป็นปีกขวา
  • 70. สามทัพจัดเก้ากอง มีเหล่าทหารสมัครรบ เป็นกองหนุน เดินทัพจนถึงโคกเผาข้าว ในเวลา เช้า ๗ นาฬิกา ได้ปะทะกับทัพพม่า ทั้งสองผ่าย ต่างต่อสู้กันอย่างกล้าหาญ พร่าผลาญชีวิตตากกัน เกลื่อนกราด บ้างแขนขาด บ้างขาขาด หัวขาด กำาลังพม่ามีมากกว่าจึงโอบล้อม กระหนาบไทยทั้ง ด้านหน้าด้านหลัง ฝ่ายไทยมีอยู่น้อย ไม่สามารถ ต้านทานไว้ได้ จึงรบไปถอยไป เสียงอาวุธที่ปะทะ กันดังสั่นกึกก้อง เหมือนเสียงฟ้าผ่า ผืนแผ่นดิน ทลาย เสียงดังสั่นโลกจนไม่รู้ว่าฝ่ายใดแพ้ฝ่ายใด ชนะ สองฝ่ายต่างเก่งกล้ามาก เหมือนราชสีห์สู้กับ ราชสีห์
  • 71. อกต่อติด จักประชิดเมืองถึง จึงสมิงอะคร้านขุนกอง รองสมิงเป่อปลัดทัพ กับสมิงซายม่วน ทั้งสามด่วน เดินพล พวกพหลหมู่ม้า ห้าร้อยมามองความ ยล สยามยาตราทัพ อยู่ท่ารับรายค่าย ขอบหนองสหร่าย เรียบพยูห์ ดูกองหน้ากองหลวง แลทั้งปวงทราบเสร็จ เร็วระเห็จไปทูล แด่นเรศรอุปราช ครั้นพระบาทได้ สดับ ธ ก็ทราบสรรพโดยควร ว่านเรศวรกษัตรา กับ เอกาทศรุถ ยกมาแย่งรงค์ แล้วพระองค์ตรัสถาม สาม สมิงนายกอง ถ้าจักประมาณพลไกร สักเท่าใดดู ตระหนัก ตรัสซำ้าซักเขาสนอง ว่าพลผองทั้งเสร็จ ประมาณสิบเจ็ดสิบแปดหมื่น ดูดาษดื่นท่งกว้าง ครั้น เจ้าช้างทรงสดับ ธก็ตรัสแก่ขุนทัพขุนกอง ว่าซึ่งสอง กษัตริย์กล้า ออกมาถ้ารอรับ เป็นพยุหทัพใหญ่ยง คง เขาน้อยกว่าเรา มากกว่าเขาหลายส่วน จำาเราด่วน จู่โจม โหมหักเอาแต่แรก ตีให้แยกย่นย่อย ค่อย เบาแรงเบามือ เร็วเร่งฮือเข้าห้อม ล้อมกรุงเทพทวา
  • 72. โคลง ๔ เสนีรับถ้อยท่าน ทุกตน ต่างเร่งตรวจเตรียมพล ทุกผู้ พลหาญหื่นหนรณ เริงร่าน อยู่แฮ คอยจักขับเคี่ยวสู้ เข่นเสี้ยน ศึกสยาม ครั้นยามสิบเอ็ดแล้ว เวลา ลุเอย องค์อัครอุปราชา หน่อไท้ โสรจสรงรสธารา รวยรื่น ฉมนา เฉลิมวิเลปน์ลูบไล้ เฟื่องฟุ้ง เสาวคนธ์ ภูเบนทร์บ่ายบาทขึ้น เกยหอ ขี่คชชื่อพัทธกอ กาจกล้า บ่เข็ดบ่ขามขอ เขาเงือด เงื้อแฮ มันตกติดหลังหน้า เสือกเสื้องส่าย
  • 73. สมเด็จพระนเรศวรโปรดให้พราหมณ์ทำาพิธี เบิกโขลนทวาร เซ่นสรวงเทวดา แลพิธีพลีกรรม แก่ผีสาง ทรงส่งพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ให้หลวง มหาวิชัยทำาพิธีตัดไม้ข่มนาม ขณะนั้นทรงได้ยิน เสียงปืนดังมาแต่ไกล จึงโปรดให้หมื่นทิพย์เสนา ควบม้าอย่างรวดเร็วเพื่อไปสืบข่าว หมื่นทิพย์ เสนาควบม้าไปเห็นกองทัพไทยถอยมาตามท้อง นาไม่เป็นขบวน จึงจับเอาหมื่นคนหนึ่งกลับมาเฝ้า พระนเรศวร            พระองค์ตรัสถามว่า เหตุใดจึง แพ้ เขาจึงเล่าว่า รี้พลทั้งหมดเดิมทัพมาถึงโคก เผาข้าวเวลา ๑ นาฬิกา ได้ปะทะกับกองทัพมอญ ซึ่งมีกำาลังมากกว่า ไม่สามารถต้านทานไว้ได้ เมื่อ สมเด็จพระนเรศวรทราบ จึงปรึกษากับเหล่าแม่ทัพ นายกองว่า จะทำาอย่างไรให้ชนะข้าศึก เหล่า แม่ทัพกราบทูลให้พระองค์จัดทัพไปหน่วงข้าศึก ไว้ แล้วให้พระองค์ไปตั้งมั่นที่กรุงศรีอยุธยา ให้
  • 74. แตกซำ้ากลับมาเป็นครั้งที่สอง จึงรับสั่งให้ถอยร่นลง มา โดยไม่หยุดยั้งเพื่อลวงข้าศึก พม่าจะได้ประมาท ไล่ติดตามมาไม่เป็นขบวน แล้วค่อยยกกำาลังส่วน ใหญ่ออกไปตี เห็นจะได้ชัยชนะโดยง่าย เหล่า แม่ทัพนายกองเห็นชอบด้วย สมเด็จพระนเรศวร รับสั่งให้หมื่นทิพย์เสนา กับหมื่นราชามาตย์ไปแจ้ง ข่าวให้ทัพหน้าทราบ ร่าย ธก็ตรัสตอบมนตรี ตรองคดีดูแผก ฝ่ายเราแตก ย่นยับ จักส่งทัพไปทาน พอพลอยฉานสองซำ้า คำ้าบอ ยู่บหยุด ชอบถอยทรุดอย่ารั้ง ให้ศึกพลั้งเสียเชิง โดยละเลิงใจอาจ ยาตรตามติดผิดขบวน ควรเรายก ออกโรม โหมหักหาญราญรงค์ คงชำานะเศิกไสร้ ได้ ด้วยง่ายด้วยงาม เขายินความยลชอบ นอบประณต แด่ไท้ ธให้หมื่นทิพเสนา กับหมื่นราชามาตย์ เหินหัย
  • 75. บนานต่างตนผ้าย ไปบ่รอรั้งท้าย ถี่เท้าผาดผัง มานา ผันหลังแล่นแผ่ผ้าน บมีผู้อยู่ต้าน ต่อสู้สักตน หนึ่งนา โคลง ๓ พวกพลทัพรามัญ เห็นไทยผันหนี หน้า ไปบ่หยุดยั้งช้า ตื่นต้อนแตกฉาน น่าน นา ไป่แจ้งการแห่งเล่ห์ เท่ห์กลไทยใช่น้อย ต่างเร่งติดเร่งต้อย เร่งเต้าตีนตาม มา นา แลหลังหลามเหลือนับ บเป็นทัพเป็นขบวนแท้ ถวิลว่าพ่ายจริงแล้ ไล่ลำ้าระสำ่าระสาย
  • 76. และพระเอกาทศรถฝ่าเข้าไปในกองทัพข้าศึก  สมเด็จพระนเรศวรทรงเคลื่อนทัพตามเกร็ดนาค ตามตำาราพิชัยสงคราม ในไม่ช้าก็ปะทะกับข้าศึก ช้างพระที่นั่งทั้งสองเชือก ได้ยินเสียงฆ้อง กลอง และปืนก็เริ่มคึกคะนองด้วยกำาลังตกมัน ส่งเสียงด้วย กิริยาร่าเริง ควาญไม่สามารถคัดท้ายไว้ได้ จึงวิ่งฝ่า เข้าไปในหมู่ข้าศึก แซงทั้งปีกซ้าย ปีกขวา กองหน้า แม่ทัพนายกลองและไพร่พลไม่สามารถตามเสด็จได้ จะมีก็แต่กลางช้างกับควาญช้าง ๔ คนเท่านั้นที่ตาม เสด็จได้            เมื่อวิ่งเข้าใกล้กองหน้า สมเด็จพระพี่ น้องทอดพระเนตรเห็นข้าศึกมีจำานวนมากมาย เหมือนคลื่นในมหาสมุทร กำาลังไล่ตามทหารไทยมา จึงไสยช้างพระที่นั่งทั้งคู่ด้วยแรงที่เกิดจากการ ตกมัน ทั้งถีบทั้งเตะตะลุมบอนทหารพม่ามอญตาย เกลื่อนกลาด บางส่วนก็ยิงปืนเข้าใส่ บ้างก็ยิงธนูเข้า
  • 77. ผดุงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืน และทะนุบำารุง ก่อเกื้อพระศาสนา เหตุใดจึงไม่ช่วยทำาให้ท้องฟ้าใส สว่างปราศจากหมอกควัน จะได้มองเห็นข้าศึกใน สนามรบให้ชัดกับตาด้วยเถิด พอตรัสจบ ก็เกิดลม ครั่นครื้นขึ้นในท้องฟ้า พัดปั่นป่วน หมอกควันที่มืดก็ หายไป สว่างไสวจนเห็นสนามรบ           สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็น ข้าศึกขี่ช้างมีฉัตรกั้นทั้ง ๑๖ เชือก แต่ไม่ทันเห็น พระมหาอุปราชา จึงเร่งขับช้างพระที่นั่งตามหาพระ มหาอุปราชา           ณ เบื้องขวาของพระองค์ ทรงเห็น พญาช้างเชือกหนึ่งกั้นฉัตร มีพลทหารสี่เหล่าเรียง รายอยู่คับคั่ง อยู่ใต้ต้นข่อย ทรงมีพระราชดำาริว่าน่า จะเป็นขุนศึกของพม่า เพราะแวดล้อมด้วยรี้พล ทหาร และเครื่องอุปโภคพรั่งพร้อมไปหมด           พระนเรศวร และพระเอกาทศรถ ขับ