SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
คณิตศาสตร์ ม.5 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
(Trigonometry function) 
รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์
2 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 
A sin = ความยาวด้านตรงข้ามมุม A = ข้าม = 
c 
a 
ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ฉาก 
cosA= ความยาวด้านประชิดมุม A = ชิด = 
c 
b 
ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ฉาก 
A tan = ความยาวด้านตรงข้ามมุม A = ข้าม = 
b 
a หรือ 
A 
A 
A 
cos 
sin 
tan  
ความยาวด้านประชิดมุม A ชิด 
a 
c 
A 
ecA  
sin 
1 
cos หรือ sin A cosecA1 
b 
c 
A 
A   
cos 
1 
sec หรือ cosA sec A 1 
a 
b 
A 
A   
tan 
1 
cot หรือ 
A 
A 
A 
tan 
cos 
cot  หรือ tanA cot A 1 
เนื่องจาก A B  B   A   90 90 จะได้ 
  A  A A 
c 
b 
sinB  sin 90  A   cos sin 90   cos   
  A  A A 
c 
a 
cosB  cos 90  A   sin cos 90   sin   
  A  A A 
a 
b 
tanB  tan 90  A   cot tan 90   cot   
A 
B 
C 
a c 
b 
(ด้านตรงข้ามมุม A) 
(ด้านประชิดมุม A) 
(ด้านตรงข้ามมุมฉาก) 
2 2 2 a b  c
3 
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา 
อัตราส่วน/มุม  30  45  60 
 sin 
2 
1 
2 
2 
2 
3 
 cos 
2 
3 
2 
2 2 
1 
 tan 
3 
1 1 3 
หลักง่ายๆ ในการจาตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา เพื่อนา ไปใช้ดังนี้ 
1. เขียนตารางดังกล่าว แต่ยังไม่มีค่าของตรีโกณมิติ 
2. แถวบนสุด   sin ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 
1,2,3 และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวส่วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่องหมาย 
รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ 
2 
3 
, 
2 
2 
, 
2 
1 
2 
3 
, 
2 
2 
, 
2 
1 
2 
3 
, 
2 
2 
, 
2 
1 
  
3. แถวที่สอง   cos ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 
3,2,1, และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวส่วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่องหมาย 
รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ 
2 
1 
, 
2 
2 
, 
2 
3 
2 
1 
, 
2 
2 
, 
2 
3 
2 
1 
, 
2 
2 
, 
2 
3 
  
4. แถวที่สาม   tan ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวา นาตัวเศษ 
ของแถวบนสุดและแถวที่สองมาเขียนเป็นเศษส่วนตามลา ดับในแต่ละช่อง จะได้ 
, 1 , 3 
3 
1 
1 
3 
, 
2 
2 
, 
3 
1 
 
ตัวอย่าง 1 ถ้า 
5 
4 
cos  และ  0   90 แล้วจงหาค่าของ   2 5tan 4sec
4 
ตัวอย่าง 2 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ 
5 
12 
cot  A แล้วจงหาค่าของ 
10cosecA12sec A 
ตัวอย่าง 3 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ 
5 
3 
cos  A แล้วจงหาค่าของ 
  A B  cos 10 
ตัวอย่าง 4 ถ้าสามเหลี่ยม ABCมีมุม B เป็นมุมฉาก มีมุม A เท่ากับ 30 องศา และมีพื้นที่เท่ากับ 
3 24 ตารางหน่วย จงหาความยาว AB
5 
ตัวอย่าง 5 ถ้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีความสูงเท่ากับ 1 หน่วย จงหา เส้นรอบรูปของ 
สามเหลี่ยมรูปนี้ 
ตัวอย่าง 6 ให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน มีพื้นที่เท่ากับ 20 ตารางหน่วย มุม BAD กาง 
 120 ถ้า AB ยาว 5 หน่วยแล้ว เส้นรอบรูปของสี่เหลี่ยมรูปนี้มีความยาวเท่าใด 
ตัวอย่าง 7 นักท่องเที่ยวคนหนึ่งยืนอยู่บนประภาคารสังเกตเห็นเรือสองลา จอดอยู่ในทะเลทางทิศ 
ตะวันออกของประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทา มุมก้ม 30 องศา และ 60 องศา กับแนวระดับ 
ประภาคารแห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้า ทะเลประมาณเท่าใด ถ้าเรือทั้งสองลา อยู่ห่างกัน 200 เมตร
6 
ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ 
การกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยใช้วงกลม 1 หน่วย (The unit circle)คือวงกลมรัศมี 
1 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด  0,0 เป็นหลักในการกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ วงกลม 1 
หน่วยนี้ มีกราฟของความสัมพันธ์  ,  1 2 2 x y R R x  y  
กาหนดจานวนจริง  โดยเริ่มวัดระยะจากจุด 0,1 ไปตามส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วยให้ 
ยาว  หน่วย ถึงจุด yx, ที่ต้องการบนวงกลม 1 หน่วย โดยมีข้อตกลงดังนี้ 
ถา้   0 จะเป็นการวัดส่วนโค้งจากจุด 1,0 ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 
ถ้า 0 จะเป็นการวัดส่วนโค้งจากจุด 0,1 ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา 
ถ้า 0   จุดปลายของส่วนโค้งคือ จุด  0,0 
จากสูตรเส้นรอบวงหรือส่วนโค้งของวงกลม 1 รอบเท่ากับ r 2 หน่วย ดังนั้นความยาวของ 
เส้นรอบวงหรือส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย 1 รอบ ยาว   2 1 2   หน่วย ถ้า 2 แสดงว่า 
วัดส่วนโค้งเกิน 1 รอบ 
ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย ที่สาคัญ 
  0, 1 
0 
0 
  0, 1 
0   
0   
 
 
  0,2 
  0 
0 
0 
2 
 
  
  
2 
3 
  
  0,2 
2 
 
   
   
2 
 
   
  0
7 
กาหนดฟังก์ชัน RRf : และ RRg: สาหรับแต่ละจานวนจริง  ใดๆ ดังนี้ 
    y g x f     , เมื่อ yx, เป็นจุดปลายส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย ที่วัดจากจุด 0,1 ยาว 
 หน่วย ถึงจุด   y x, ที่ต้องการบนวงกลม 1 หน่วย เรียก ฟังก์ชัน g และ f ว่า ฟังก์ชันไซน์ (sine) 
และฟังก์ชันโคไซน์ (cosine) ตามลา ดับ เขียน ฟังก์ชัน g ด้วย sin และฟังก์ชัน f ด้วย cos จะได้ 
y  sin , x cos 
(หลักง่ายๆ หน้า คือค่า  cos และหลัง คือค่า  sin ) 
จากวงกลม 1 หน่วย เป็นวงกลมรัศมี 1 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด  0,0 มีกราฟของ 
ความสัมพันธ์  ,  1 2 2 x y R R x  y  จะได้ 1 y 1, 1 x 1 และจาก 
y  sin , x cos ความสัมพันธ์ดังนี้ 
       2 2 2 2 2 2 2 2 x  y 1 cos  sin 1;cos   cos ,sin   sin นิยมเขียนเป็น 
cos sin 1 2 2     
1 sin 1, 1 cos 1 
ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงบางจานวน 
ตัวอย่าง 8 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 
 0 
2 
  
2 
3  2 
2 
 
  
2 
3 
  2 3 
2 
7 
 
sin 0 
 cos 1 
  0,2 
2 
 
  
   
2 
3 
  
1,0 
  1, 0 
  0, 1  
  1 , 0  
  0,2 
2 
3 
   
    
2 
 
   
  0, 1 
0,1 
  0, 1  
  1 , 0 
8 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ 
นอกจากฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ดังกล่าวแล้ว ยังมีฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สา คัญอีกหลาย 
ฟังก์ชัน โดยอาศัยค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ นิยามดังนี้ 
บทนิยาม สาหรับจานวนจริง  ใดๆ 
; cos 0 
cos 
sin 
tan    
 
 
 ; sin 0 
sin 
1 
cos    
 
ec 
; cos 0 
cos 
1 
sec    
 
 ; sin 0 
sin 
cos 
cot    
 
 
 
ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
 
 
  
 
 
tan 
1 
cos 
sin 
1 
sin 
cos 
cot    
  
  
 
 
 
  2 2 
2 2 
2 
2 
2 
2 2 1 tan sec 
cos 
1 
cos 
sin 
cos 
cos 
cos  sin 1      
  
  
 
 
 
  2 2 
2 2 
2 
2 
2 
2 2 1 cot cos 
sin 
1 
sin 
sin 
sin 
cos 
cos  sin 1      ec 
ตัวอย่าง 9 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 
 0 
2 
  
2 
3  2 
2 
7 10  15 
2 
9 
 
2 
11 
2 
15 
 
 sin 0 
 cos 1 
tan 0 
1 
0 
 
ตัวอย่าง 10 จงบอกจานวนจริง  มา 5 จานวนที่ทาให้ 
1. sin  0 
2. cos  0 
3. sin 1 
4. cos 1 
5. sin  1
9 
ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง  เมื่อ  เป็น 
3 
, 
6 
, 
4 
   
ค่าของ 
4 
, tan 
4 
,cos 
4 
sin 
   
ให้   y x P, เป็นจุดกึ่งกลางของส่วนโค้ง AB ดังรูป เนื่องจากส่วนโค้ง AB ยาว 
2 
 หน่วย 
จะได้ คอร์ด PB ยาวเท่ากับ คอร์ด PA และจะได้ PAPB ดังนั้น 
       2 2 2 2 x 0  y 1  x 1  y 0 
2  2  2 2 2 2 2 2 x  y 1  x 1  y x  y  2y 1 x  2x 1 y 
y x  
เนื่องจาก 
2 
2 
2 
1 
2 
1 
1 1 2 1 2 2 2 2 2 2 x  y   x  x   x  x  x     
ดังนั้น 
2 
2 
2 
2 
x  y  เนื่องจาก x, y เป็นจุดในควอดรันต์ที่ 1 
จะได้ จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว 
4 
 หน่วย คือ  
 
 
 
 
 
 
 
2 
2 
, 
2 
2 นั่นคือ 7071 0. 
2 
2 
4 
cos 
4 
sin    
  
และ 1 
4 
cos 
4 
sin 
4 
tan   
 
 
 ยังสามารถหาค่าเมื่อ  เป็น ,... 
4 
7 
, 
4 
5 
, 
4 
3   
ได้ 
ตัวอย่าง 11 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 
 0 
4 
 
2 
 
4 
3  
4 
5 
2 
3 
4 
7 2 
 sin 0 
cos 1 
tan 0 
1 
0 
 
  0, 1 A 
  1, 0 B 
  y x P, 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
2 
, 
2 
2 
P 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
2 
, 
2 
2 
Q 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
2 
, 
2 
2 
R 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
2 
2 
, 
2 
2 
S
10 
ในทานองเดียวกันสามารถหาค่า เมื่อ  เป็น 
3 
, 
6 
 สรุปได้ดังนี้ 
ค่าของ 
6 
, tan 
6 
,cos 
6 
sin 
   
ค่าของ 
3 
, tan 
3 
,cos 
3 
sin 
   
ตัวอย่าง 12 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 
 
6 
 
3 
 
3 
2 
6 
5 
6 
7 
3 
4 
3 
5 
6 
11 
sin 
cos 
tan 
  0, 1 A 
  1, 0 B 
  y x P, 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
P 
  
 
 
  
 
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
Q 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
R 
  
 
 
  
 
 
  
2 
1 
, 
2 
3 
S 
  0, 1 A 
  1, 0 B 
  y x P, 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
, 
2 
1 
P 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
, 
2 
1 
Q 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
, 
2 
1 
R 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
2 
3 
, 
2 
1 
S
11 
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงใดๆ 
ค่าของ sin ,cos , tan  
ค่าของ                n n n 2 tan , 2 cos , 2 sin เมื่อ   I n 
ตัวอย่าง 13 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 
1.  
 
 
 
 
3 
sin 
 
2.  
 
 
 
 
6 
cos 
 
3.  
 
 
 
 
3 
11 
tan 
 
4.  
 
 
  
 
3 
11 
cos 
 
5.  
 
 
 
 
 
3 
11 
sin 
 
  0, 1 A 
  y x P, 
  
  
  
2 
1 
6 
sin 
6 
. . sin 
tan tan 
cos cos 
sin sin 
     
 
 
 
 
 
 
   
  
   
  
  
  
  
i e 
  y x Q, 
A1,0 
  y x P, 
  
  
  
2 
2 
4 
sin 
4 
sin 3 2 
4 
sin 6 
4 
25 
. . sin 
tan 2 tan 
cos 2 cos 
sin 2 sin 
  
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 
  
  
  
  
 
 
 
 
 
 
   
   
   
i e 
n 
n 
n 
Qx,y
12 
เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 2  
 
 
 
 
 
    
 
2 
ตัวอย่าง 14 จงหาค่าของ  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
4 
3 
tan 
3 
2 
sin2   
เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 3  
 
 
 
 
 
  
2 
3 
  
ตัวอย่าง 15 จงหาค่าของ  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
6 
7 
sin 
3 
4 
cos  2  
  0, 1 A 
  y x P, 
  
  
  
2 
3 
6 
cos 
6 
cos 
6 
5 
. . cos 
tan tan 
cos cos 
sin sin 
    
 
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 
 
   
   
  
 
 
 
 
   
   
   
i e 
  y x P,  
  0, 1 A 
Px, y 
  
  
  
2 
2 
4 
sin 
4 
sin 
4 
5 
. . sin 
tan tan 
cos cos 
sin sin 
    
 
 
 
 
   
 
 
 
  
   
   
 
 
 
 
   
   
   
i e 
P x,y
13 
เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 4  
 
 
 
 
 
    
 
2 
2 
3 
ตัวอย่าง 16 จงหาค่าของ  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
3 
5 
cos 
4 
7 
tan  2  
สรุปฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ 
  
 
 
  
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
6 
 
01,0 
01,0 
  0, 1 A 
  y x P, 
  
  
  
2 
1 
6 
sin 
6 
sin 2 
6 
11 
. . sin 
tan 2 tan 
cos 2 cos 
sin 2 sin 
    
 
 
 
 
 
   
 
 
 
   
  
   
 
 
 
 
   
   
   
i e 
  y x P, 
0 1,0 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
6 
 
 
 
 
 
  
 
 
2 
2 
, 
2 
2 
4 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
, 
2 
1 
3 
 
0, 1 
2 
3 
 
 
1,0 
6 
5 
2 
1 
, 
2 
3  
  
 
 
  
 
 
 
3 
2 
2 
3 
, 
2 
1  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4 
3 
2 
2 
, 
2 
2  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
1 
, 
2 
3 
6 
11 
  
 
 
 
 
 
 
 
2 
2 
, 
2 
2 
4 
7 
  
 
 
  
 
 
 
2 
3 
, 
2 
1 
3 
5 
3 
4 
2 
3 
, 
2 
1  
  
 
 
  
 
 
  
4 
5 
2 
2 
, 
2 
2  
 
 
 
 
 
 
 
 
  
6 
7 
2 
1 
, 
2 
3  
  
 
 
  
 
 
  
  1, 0 
2 

14 
วิธีลัดอย่างง่ายในการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
เมื่อ จุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 2 , 3 และ 4 เช่น , 
6 
5 
sin 
 
3 
5 
tan , 
4 
15 
cos 
 ดาเนินการวิธีลัดดังนี้ 
1. ให้พิจารณาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของความยาวส่วนโค้ง  ในควอดรันต์ที่ 1 นามาเป็น 
คา ตอบไว้ก่อน เช่น 
3 
2 
cos 
 
พิจารณาค่าของ 
2 
1 
3 
cos  
 
ดังนั้นจะได้ 
2 
1 
3 
2 
cos  
 
2. ให้พิจารณาว่าความยาวส่วนโค้ง ทั้งหมดอยู่ในควอดรันต์ใด แล้วพิจารณาว่า มีค่าเป็น 
บวก หรือ ลบ แล้วนา บวก หรือ ลบ ไปใส่หน้าคา ตอบที่ได้ตอบไว้ในข้อ 1 เช่น จากตัวอย่างข้อ 1 จะ 
เห็นว่า 
3 
2 อยู่ในควอดรันต์ที่ 2 มีค่าของ 
3 
2 
cos 
 เป็น ลบ นั่นคือ 
2 
1 
3 
2 
cos   
 
ตัวอย่าง 17 จงหาค่าของ 
1.  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
6 
7 
tan 
4 
3 
cos 
3 
4 
sin 
6 
5 
sin 
    
2.  
 
 
 
 
 
 
 
  
 
  
  
 
 
 
4 
5 
tan 
6 
7 
sin 
6 
11 
cos 
6 
5 
sin 2  2    
 ALL 
  cos , sin 
tan 
 
 
    
 
tan, sin 
cos 
    
 
tan, cos 
sin 
1 
4 
2 
3
15 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 
การวัดขนาดของมุมมี 2 แบบ คือ การวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา และตามเข็มนาฬิกาดังรูป 
หน่วยวัดมุมเป็น เรเดียน (Radian) กา หนดดังนี้ 
มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลม 
ที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมวงนั้น ถือว่าเป็นมุมที่มีขนาด 1 เรเดียน 
เนื่องจากวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย มีเส้นรอบวง r 2 หน่วย ดังนั้นมุมที่จุดศูนย์กลางของ 
วงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่ยาว r 2 หน่วย จึงมีขนาด  
 
2 
2 
 
r 
r เรเดียน 
จะได้มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย ที่ได้จากการหมนุนรัศมีครบ 1 รอบ 
มีขนาด 2 เรเดียน เมื่อวัดเป็นองศาวัดได้ 360 องศา ดังนั้น 
360 องศา 2  เรเดียน 
180 องศา   เรเดียน 
1 องศา 
180 
 
 เรเดียน 01745 . 0  เรเดียน 
1 เรเดียน 
 
180 
 องศา 8 1 57    
หมายเหตุ ขนาดของมุมที่มีหน่วยเป็น เรเดียน มักไม่เขียนหน่วยกา กับไว้ 
ตัวอย่าง 18 จงหาค่าของ 
1.  
6 
5 
องศา 2.  
5 
11 
องศา 3.   
3 
2 
องศา 
4.   150 เรเดียน 5.   300 เรเดียน 6.    315 เรเดียน 
ทวนเข็มนาฬิกา ขนาดของมุมเป็นจานวนบวก 
A 
ตามเข็มนาฬิกา ขนาดของมุมเป็นจานวนลบ 
r 
r 
0
16 
เนื่องจากการวัดมุมของวงกลม 1 หน่วย จะเห็นได้ว่า จุดที่ด้านสิ้นสุดของมุมขนาด  
เรเดียน ตัดกับวงกลม 1 หน่วยนั้น มีเพียงจุดเดียวและเป็นจุดเดียวกันกับจุดปลายส่วนโค้งที่วัดจาก 
จุด  0,1 
ดังนั้นค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของมุมหรือในแง่ของความยาวส่วนโค้งมีค่าเท่ากัน 
เช่น 
2 
2 
4 
, cos45 cos 
2 
1 
sin30 
6 
sin   
 
 
 
 
 
    
 
 
 
 
    
การหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหน่วยเป็นองศา 
เนื่องจากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของมุมหรือในแง่ของความยาวส่วนโค้งมีค่าเท่ากัน 
ดังนั้นการหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหน่วยเป็นองศา ดา เนินการได้ดังนี้ 
1. อาจจะเปลี่ยนหน่วยเป็นเรเดียนก่อน แล้วใช้การหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของ 
ความยาวส่วนโค้ง 
2. หากไม่เปลี่ยนหน่วยของมุมองศา สามารถใช้สูตรที่ปรับจากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติใน 
แง่ของความยาวส่วนโค้งดังนี้ 
เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่ 2     90  180 
sin180   sin cos180   cos tan180   tan    
เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่3     180   270 
sin180   sin cos180   cos tan180   tan    
เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่ 4     270   360 
sin360   sin cos360   cos tan360   tan    
ค่าของ                sin n 360 ,cos n 360 , tan n 360 เมื่อ  I n 
sin 360   sin cos 360   cos tan 360   tan    n n n 
เช่น   
2 
1 
cos120 cos 180 60  cos60       
  
2 
2 
sin 225  sin 180  45  sin 45       
  
3 
1 
tan330  tan 360 30  tan30       
  2 
2 
2 
cos 405  cos 360  45  cos 45       ec ec ec
17 
ตัวอย่าง 19 จงหาค่าของ 
1.  
  
2sin330 
3tan 135 sec 300 2 2  
2.     
   
  
cos 390 
tan 480 sin 480 
 
   
ตัวอย่าง 20 กาหนดให้ 5cot  และ 0sin แล้ว จงหาค่าของ cos 
ตัวอย่าง 21 กาหนดให้ 3cot  จงหาค่าของ 
  
  
2 2 
2 2 
sin 2cos 
sin cos 
 
 
ตวัอย่าง 22 กา หนดให้ cos  sin  k จงหาค่าของ 10sin cos
18 
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยเฉพาะกราฟของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ เป็นกราฟที่มี 
ความสา คัญมากทั้งในวิชาคณิตศาสตร์และวิชาฟิสิกส์ โดยมีวิธีการเขียนกราฟดังนี้ 
ฟังก์ชันไซน์ ถ้า   Sine y x , จะได้ x y sin เขียนกราฟได้ดังนี้ 
กราฟของ x y sin เมื่อ 20x 
x 0 
6 
 
4 
 
3 
 
2 
 
3 
2 
4 
3 
6 
5  
y  sin x 0 
2 
1 
2 
2 
x  
6 
7 
4 
5 
3 
4 
2 
3 
3 
5 
4 
7 
6 
11  2 
x y sin 0 
2 
1 
 
2 
2 
 
จากกราฟจะเห็นว่า เรนจ์ของฟังก์ชันไซน์คือ เซตของจา นวนจริงตั้งแต่ -1 ถึง 1 ดังนั้น 
1 sin 1    x และ ค่าของ x sin เมื่อ    2 , 0  x มีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงดังนี้ 
 
 
 
 
2 
0 , 
 จะเห็นว่า x sin เพิ่มขึ้นจาก 0 ไป 1 
 
 
 
 
 
 
 
 
, 
2 
จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 1 ไป 0 
 
 
 
 
2 
3 
, 
 
 จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 0 ไป -1 
 
 
 
 
 
 
, 2 
2 
3 จะเห็นว่า x sin เพิ่มขึ้นจาก -1 ไป 0 
Y 
X 
 
0 
2 
 
2 
3 
2 
1  
1
19 
จาก   x x n sin 2 sin    เมื่อ In ทาให้กราฟของฟังก์ชันไซน์มีลกษณะซ้ากันเป็นช่วงๆ ดังนี้ 
จากกราฟจะเห็นว่า โดเมนของฟังก์ชันไซน์คือ เซตของจานวนจริง และเรนจ์คือ 1,1 
ในทานองเดียวกันกับการเขียนกราฟของ x y cos  เมื่อ 20x ดังนี้ 
เนื่องจากฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันเป็น ฟัก์ชันที่เป็นคาบ (periodic function) ซึ่งสามารถ 
แบ่งกราฟแต่ละช่วงย่อยมีลักษณะเหมือนกัน โดยความยาวของช่วงย่อยที่สั้นที่สุดที่มีสมบัติดังกล่าว 
เรียกว่า คาบ (period) ของฟังก์ชัน เช่น กราฟของ x y sin และ x y cos  ในช่วง   0, 2 
ในช่วง   2, 0 ในช่วง   4, 2 ฯลฯ เป็นช่วงที่สั้นที่สุดที่ทาให้กราฟแต่ละช่วงเหล่านั้นมีลักษณะ 
เหมือนกัน 
ดังนั้นคาบของ y  sin x และ y  cos x เท่ากับ 2 
ฟังก์ชันที่เป็นคาบซึ่งมีค่าต่า สุดและสูงสุด จะเรียกค่าที่เท่ากับครึ่งหนึ่งของค่า 
สูงสุดลบด้วยค่าต่า สุดของฟังก์ชันนั้นว่า แอมพลิจูด (Amplitude) 
ดงันั้นฟังก์ชัน y  sin x และ y  cos x มีแอมพลิจูดเท่ากับ 1 
0 
1 
1  
Y 
X 
 
2 
2  
  
2 
 
2 
3 
2 
3 
 
2 
 
 
0 
1 
Y 
X 
 
2 
2  
  
2 
 
2 
3 
2 
3 
 
2 
 
 
1 
20 
ตัวอย่าง 23 จงเขียนกราฟ x y sin3 เมื่อ 20x 
ตัวอย่าง 24 จงเขียนกราฟ x y sin เมื่อ 20x 
ตัวอย่าง 25 จงเขียนกราฟ y  2cosx เมื่อ 0  x  2 
ตัวอย่าง 26 จงเขียนกราฟ y  sin2x เมื่อ 0  x  2
21 
ตัวอย่าง 27 จงเขียนกราฟ x y 2sin3 เมื่อ 20x 
ตัวอย่าง 28 จงเขียนกราฟ 
2 
sin 3 
x 
y  เมื่อ 4 0   x 
สรุปกรณีทั่วไปดังนี้ 
f x  k sinnx ,n,k  0 f x k cosnx ,n,k  0 
คาบเท่ากับ 
n 
2 คาบเท่ากับ 
n 
2 
แอมพลิจูดเท่ากับ k แอมพลิจูดเท่ากับ k 
เรนจ์เท่ากับ  k , k เรนจ์เท่ากับ  k , k
22 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างของจานวนจริงหรือมุม 
สิ่งแรกจะพิจารณาคือ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ของผลต่างระหว่างจานวนจริงสองจานวนหรือ 
มุมสองมุม นั่นคือพิจารณาค่าของ   B A  cos เมื่อ B A, เป็นจานวนจริงหรือมุมใดๆ ดังนี้ 
จากวงกลม 1 หน่วย กาหนดให้ส่วนโค้ง 1PP ยาว A หน่วย และส่วนโค้ง 2PP ยาว B 
หน่วย จะได้ส่วนโค้ง 2 1P P ยาว B A  หน่วย 
ให้ 3P เป็นจุดบนวงกลม 1 หน่วยที่ทาให้ความยาวส่วนโค้ง 3PP เท่ากับส่วนโค้ง 2 1PP 
ดังนั้นจะได้ส่วนโค้ง 3PP ยาว B A  หน่วยด้วย ดังรูป 
ทาให้คอร์ด 3PP เท่ากับคอร์ด 2 1 P P นั่นคือ 
3 1 2 PP  PP 
       2 
2 1 
2 
2 1 
2 
3 
2 
3 x 1  y  0  x  x  y  y 
       2 
2 1 
2 
2 1 
2 
3 
2 
3 x 1  y  0  x  x  y  y 
2 
2 1 1 
2 
2 
2 
2 1 1 
2 
2 
2 
3 3 
2 
3 x  2x 1 y  x  2x x  x  y  2y y  y 
     2  
2 
2 
2 
2 
1 
2 
2 1 2 1 1 
2 
3 
2 
3 3  2x 1 x  y  2x x  2y y  x  y  x  y 
2 1 1 2 2 1 1 3 2 1 2 1  x     x x  y y   
3 2 1 2 1  2x  2x x  2y y 
3 2 1 2 1 x  x x  y y ...........1 
เนื่องจาก จุด     1 1 2 2 x , y , x , y และ   3 3 x , y เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว A,B และ A B 
ตามลา ดับ ดังนั้นจะได้ 
x cosA , y  sin A , x cosB , y  sinB , x  cosA B 1 1 2 2 3 แทนในสมการ 1 ได้ 
cosA B cosAcosB sin Asin B 
และสามารถนา cosA Bไปหาฟังก์ชัน cosA B ,sinA B,sinA B ดังนี้ 
0 
  0, 1 P 
  1 1 1 , y x P 
  2 2 2 , y x P 
  3 3 3 , y x P
23 
cosA B cosA B 
 cosAcos Bsin Asin B 
 cosAcosB sin AsinB 
ดังนั้น cosA B cosAcosB sin Asin B 
ตัวอย่าง 29 จงแสดงว่า A sin A 
2 
cos   
 
 
 
 
 
และสามารถสรุปได้ดังนี้ 
cosA B cosAcosB  sin Asin B 
sinA B sin AcosB  cosAsin B 
  
A B 
A B 
A B 
1 tan tan 
tan tan 
tan 
 
 
  
  
B A 
A B 
A B 
cot cot 
cot cot 1 
cot 
 
  
 
ตัวอย่าง 30 จงแสดงว่า 
4 
6 2 
4 3 
3 
cos 
 
  
 
 
 
 
 
 
  
ตัวอย่าง 31 จงแสดงว่า 
2 
1 
18 
sin 
9 
cos 
18 
cos 
9 
sin   
   
24 
ตัวอย่าง 32 จงหา ค่า 
12 
11 
,sin 75 , tan15 , tan 
12 
7 
cos15 ,cos 
     
ตัวอย่าง 33 จงแสดงว่า A cot A 
2 
tan    
 
 
 
 
 
 

25 
ตัวอย่าง 34 จงแสดงว่า A B A B A B 2 2 cos  cos   cos sin 
ตัวอย่าง 35 จงหาค่าของ       
C A 
C A 
B C 
B C 
A B 
A B 
cos cos 
sin 
cos cos 
sin 
cos cos 
sin  
 
 
 
 
ตัวอย่าง 36 จงหาค่าของ ก.     sin17 cos13 cos17 sin13 
ข.     cos43 cos17 sin43 sin17 
ค. 
36 
17 
cos 
36 
11 
sin 
36 
11 
cos 
36 
17 
sin 
    
 
ตัวอย่าง 37 ถ้า 
5 
2 
,sin 
5 
4 
,sin 
2 
3 
, 
2 
 A  B  A  B   
 
  
 แล้ว   cos s A B มีค่าเท่าใด
26 
ตัวอย่าง 38 กา หนดให้ 
2 
0 , 
5 
3 
sin 
 
x   x  และ   
2 
3 
, 
13 
5 
sin 
 
x  y     x  y  
จงหาค่าของ ysin และ   y x tan 
ตัวอย่าง 39 ถ้า  A B  45 จงหาค่า 1 tan A1 tanB 
ตัวอย่าง 40 จงแสดงว่า  
  
  
tan56 
cos11 sin11 
cos11 sin11 
 
 

27 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของ มุม A 2 มุม 
2 
A และมุม A 3 
เมื่อทราบค่าของ A sin หรือ A cos สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติซึ่งเป็นจา นวนสองเท่า 
หรือครึ่งเท่าหรือสามเท่าได้ ในที่นี้พิจารณาค่าของ sin2Aได้ดังนี้ 
sin 2A  sinA A sin Acos Acos Asin A  2sin Acos A 
ตัวอย่าง 41 จงแสดงว่า A A A 2 2 cos2  2cos 112sin 
ตัวอย่าง 42 จงแสดงว่า 
A 
A 
A 2 1 tan 
2tan 
tan2 
 
 
ตัวอย่าง 43 จงแสดงว่า 
2 
1 cos 
2 
sin 
A  A 
  
ตัวอย่าง 44 จงแสดงว่า 
A 
A 
A 2 1 tan 
2tan 
sin 2 
 

28 
ในทานองเดียวกันสามารถหาค่าของ A3sin ในรูป Asin ได้ดังนี้ 
sin 3A  sin2A A  sin 2Acos Acos2Asin A 
2sin Acos Acos A 1 2sin Asin A 2    
A A A A 2 3  2sin cos sin 2sin 
A A A A 2 3  2sin 1sin sin 2sin 
A A A A 3 3  2sin 2sin sin 2sin 
A A 3 sin 4 sin 3   
ดังนั้น A A A 3 sin3  3sin 4sin 
ตัวอย่าง 45 จงแสดงว่า cos3A 4cos A 3cosA 3   
และสามารถสรุปฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สา คัญได้ดังนี้ 
A 
A 
A A A 2 1 tan 
2tan 
sin 2 2sin cos 
 
  
A 
A 
A A A A A 2 
2 
2 2 2 2 
1 tan 
1 tan 
cos2 cos sin 2cos 1 1 2sin 
 
 
       
A 
A 
A 2 1 tan 
2tan 
tan2 
 
 
2 
1 cos2 
cos2 A 
A 
 
 
2 
1 cos2 
sin2 A 
A 
 
 
A A A 3 sin3 3sin 4sin 
cos3A 4cos A 3cosA 3   
A 
A A 
A 2 
3 
1 3tan 
3tan tan 
tan3 
 
 

29 
ตัวอย่าง 47 จงหาค่า 2cos และ 2tan ถ้า   
 
    
2 
, 
5 
4 
sin 
ตัวอย่าง 48 จงแสดงว่า  
  
  
tan 
2cos cos 
sin 2sin 
3 
3 
 
 
 
ตัวอย่าง 49 จงแสดงว่า A 
A 
A 
tan 
1 cos2 
sin2 
 
 
ตัวอย่าง 50 จงแสดงว่า  
  
1 sin 
2 
cos 
2 
sin 
2 
   
 
  

30 
ตัวอย่าง 51 จงแสดงว่า 
2 
2 2 
cos22.5 
 
  
ตัวอย่าง 52 จงหาค่าของ   10 cos 
3 
10 sin 
1 
 
ตัวอย่าง 53 จงแสดงว่า 2 
cos 
cos3 
sin 
sin3 
  
A 
A 
A 
A 
ตัวอย่าง 54 จงหาค่าของ 
 
  
 
  
sin 
sin sin3 
cos 
cos cos3 3 3  
 

31 
สูตรผลคูณเป็นผลบวกหรือผลต่าง 
จากค่าของ sinA B,sinA B,cosA B,cosA B เมื่อนา มาบวกหรือลบกันจะ 
ได้ความสัมพันธ์ที่สา คัญดังนี้ 
จาก cosA B cosAcosB sin Asin B ..........1 
cosA B  cos AcosBsin Asin B ..........2 
   ; 21     B A B A B A cos cos 2 cos cos     
   ; 21     B A B A B A sin sin 2 cos cos     
จาก sinA B sin AcosBcos Asin B ..........3 
sinA B sin AcosBcos Asin B ..........4 
   ; 43     B A B A B A cos sin 2 sin sin     
   ; 43     B A B A B A sin cos 2 sin sin     
ดังนั้นสรุปได้ว่า 
2cosAcosB  cosA B cosA B 
2sin Asin B  cosA BcosA B 
2sin AcosB  sinA BsinA B 
2cos Asin B  sinA BsinA B 
วิธีจา ง่าย ๆ 2coscos  cosDiff cosSum 
2sin sin  cosDiff cosSum 
2sin cos  sinSumsinDiff  
2cossin  sinSumsinDiff  
เช่น 2cos7 cos5  cos7 5 cos7 5   cos2 cos12 
     
 
 
 
   
 
 
 
 
        sin 4 sin 2 
2 
1 
sin 3 sin 3 
2 
1 
sin3 cos 
ตัวอย่าง 55 จงหาค่าของ    2sin40 sin10 cos50
32 
ตัวอย่าง 56 จงหาค่าของ    cos20 2sin20 sin40 
ตัวอย่าง 57 จงหาค่าของ    cos20 cos40 cos80 
ตัวอย่าง 58 จงหาค่าของ    sin20 sin40 sin80
33 
สูตรผลบวกหรือผลต่างให้เป็นผลคูณ 
จากสูตรผลคูณเป็นผลบวกหรือผลต่าง สามารถนา มาหาความสัมพันธ์จากผลบวกหรือผลต่าง 
ให้เป็นผลคูณได้ดังนี้ 
จาก     y x y x y x cos sin 2 sin sin       1.......... 
ให้ x  y  A ..........2 
x  y  B ..........3 
   ; 3 2  
2 
2 
A B 
x A B x 
 
    
   ; 3 2  
2 
2 
A B 
y A B y 
 
    
แทนใน 1; 
2 
cos 
2 
sin sin 2sin 
A B A B 
A B 
  
  
ดังนั้นสรุปได้ว่า 
2 
cos 
2 
sin sin 2sin 
A B A B 
A B 
  
  
2 
sin 
2 
sin sin 2cos 
A B A B 
A B 
  
  
2 
cos 
2 
cos cos 2cos 
A B A B 
A B 
  
  
2 
sin 
2 
cos cos 2sin 
A B A B 
A B 
  
   
วิธีจา ง่าย ๆ sin Asin B  2sinhalf sumcoshalf diff  
sin Asin B  2coshalf sumsinhalf diff  
cos AcosB  2coshalf sumcoshalf diff  
cos AcosB  2sinhalf sumsinhalf diff  
เช่น   
    
  2sin6 cos2 
2 
8 4 
cos 
2 
8 4 
sin8 sin 4 2sin  
  
  
  
    
  2cos5 cos2 
2 
7 3 
cos 
2 
7 3 
cos7 cos3 2cos  
  
  
ตัวอย่าง 59 จงแสดงว่า 
2 
6 
sin 75 sin15   
34 
ตัวอย่าง 60 จงแสดงว่า  
  
  
tan15 
cos80 cos50 
sin80 sin50 
 
 
 
ตัวอย่าง 61 จงหาค่าของ    cos20 cos100 cos140 
ตัวอย่าง 62 จงหาค่าของ A   A   A   cos cos 60 cos 60 2 2 2
35 
ตัวอย่าง 63 จงแสดงว่า 
2 
3 
cos cos 
2 
1 cos cos2 cos3 4cos 
A 
A 
A 
 A A A  
ถ้า  A BC 180 จงแสดงว่า sin2Asin2B sin2C  4sin AsinBsinC 
จาก  A BC 180 จะได้ 2A 2B 2C  360 2C  360 2A B   
sin2Asin2Bsin2C  sin2Asin2Bsin360 2A B  
 sin 2Asin 2Bsin 2A B 
 2sinA BcosA B2sinA BcosA B 
 2sinA BcosA BcosA B 
 2sin AcosBcos Asin Bcos AcosBsin Asin Bcos AcosBsin Asin B 
 2sin AcosB 2cos Asin B2sin Asin B 
A B B A A B 2 2  4sin sin cos 4sin cos sin 
 4sin Asin Bsin AcosBcos Asin B 
 4sin Asin BsinA B 
 A B  C  4sin sin sin 180 
 4sin Asin BsinC
36 
ตัวอย่าง 64 ถ้า  180    C B A จงแสดงว่า 
2 
cos 
2 
cos 
2 
sin sin sin 4cos 
A B C 
A B  C  
ตัวอย่าง 65 ถ้า  A BC 180 จงแสดงว่า tanA tanB  tanC  tanAtanBtanC
37 
อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
พิจารณากราฟของ x y sin โดยที่ 11, y Rx และกราฟอินเวอร์สฟังก์ชันไซน์ซึ่ง 
เป็นความสัมพันธ์     y x y x sin,  ดังนี้ 
พิจารณา 0,0, 0, , 0,  จากx, y x  sin y จึงไม่เป็นฟังก์ชัน แต่ถ้ากา หนด 
โดเมนของฟังก์ชันไซน์ใหม่เป็น 
 
 
 
 
 
 
   
2 2 
  
x x ทา ให้x, y x  sin y เป็นฟังก์ชันดังนี้ 
  
 
 
 
 
 
 
    
2 2 
, sin , 
  
x y y x x เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ซึ่งมีฟังก์ชันอินเวอร์สเป็น 
  
 
 
 
 
 
 
    
2 2 
, sin , 
  
x y x y y เรียกฟังก์ชันอินเวอร์สนี้ว่า arcsine เขียนได้เป็น 
    
 
 
 
 
 
 
     
 
 
 
 
 
 
    
2 2 
, arcsin , 
2 2 
, sin , 
    
x y x y y x y y x y 
จะเห็นว่า โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน arcsine คือ 1 , 1และ  
 
 
 
 
2 
, 
2 
  ตามลา ดับ 
การหาฟังก์ชันอินเวอร์สดังกล่าวนอกจากใช้กราฟแล้ว สามารถใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้นๆ ดังนี้ 
การหาค่าของ arcsinx คือ การหา  ที่ อยู่ในเรนจ์คือ  
 
 
 
 
2 
, 
2 
  ที่ทา ให้ sin  x 
เช่น ต้องการหาค่าของ arcsin1 ได้ดังนี้ 
กา หนดให้ arcsin1 sin 1 
จะพบว่าในช่วง  
 
 
 
 
2 
, 
2 
  จะมี 
2 
 
  ค่าเดียวที่ทา ให้ sin 1 
ดังนั้น 
2 
arcsin1 
 
 
0 
Y 
X 
 
2 
2  
 
2 
 
2 
3 
2 
3 
 
2 
 
 
2 
 
 
2 
 
 
 
y x sin 
x y sin
38 
ตัวอย่าง 66 จงหาค่าของ  
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
arcsin และ  
 
 
 
 
 
 
2 
1 
arcsin 
ในทา นองเดียวกันจะได้ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 
ฟังก์ชัน arcsine คือ เซตของคู่ลาดับ yx, โดยที่ y x sin และ 
2 2 
  
   y 
  
 
 
 
 
 
 
      
2 2 
, arcsin , 1   
f x y y x y 
ฟังก์ชัน arccosine คือ เซตของคู่ลา ดับ x, yโดยที่ x  cos y และ 0  y  
        f x, y y arccosx,0 y 1 
ฟังก์ชัน arctangent คือ เซตของคู่ลาดับ   y x, โดยที่ tanx และ 
2 2 
  
  y  
  
 
 
 
 
 
 
      
2 2 
, arctan , 1   
f x y y x y 
โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
1 f 1 r 
D 1 r 
R 
y  arcsinx 
y  arccosx 
y  arctanx 
y  arccot x 
y  arcsec x 
y  arccosecx 
  1, 1 
1,1 
R 
R 
,11, 
,11, 
 
 
 
 
 
 
 
2 
, 
2 
  
0,  
 
 
 
 
 
 
 
2 
, 
2 
  
0,  
 
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
 
  
, 
2 2 
0, 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
2 
,0 0, 
2 
 
39 
วิธีจาง่ายๆ ของเรนจ์ , arcsinx y  x y arccos  และ x y arctan จากiรูปวงกลม 1 หน่วยดังนี้ 
1. ครึ่งวงกลมด้านขวา ช่วงปิด  
 
 
 
 
2 
, 
2 
  เป็นค่าของเรนจ์ y  arcsinx 
2. ครึ่งวงกลมด้านขวา ช่วงเปิด  
 
 
 
 
 
 
2 
, 
2 
 เป็นค่าของเรนจ์ x y arctan  
3. ครึ่งวงกลมด้านบน ช่วงปิด  
 
 
 
 
 
, 0 เป็นค่าของเรนจ์ x y arccos  
ตัวอย่าง 67 จงหาค่าของ 
1. 
2 
2 
arcsin 2. 
2 
3 
arccos 3. 1arctan 4.   1 arctan  
5.  
 
 
 
 
 
 
2 
1 
arccos 6.  
 
 
 
 
 
4 
arcsin cos 
 7.  
 
 
 
 
 
3 
arcsin sin 
 8.   
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
6 
tan arcsin cos 
 
9.  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
  
3 
1 
arctan 
2 
1 
arcsin1 arcsin 10.   
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
3 
17 
arctan cot 
 
2 
 
 
2 
 
 
0 
x y arctan 
x y arcsin x y arccos 
40 
บางกรณีนอกจากการหาค่าตรีโกณมิตินั้นๆ แล้ว อาจต้องอาศัยฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นที่ 
เกี่ยวข้องด้วย หรือใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากก็ได้ แต่ต้องพิจารณาเรนจ์ของอินเวอร์สฟังก์ชันด้วย เช่น 
หาค่าของ   
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
3 
1 
cos arcsin ได้ดังนี้ 
กา หนดให้ 
3 
1 
sin 
3 
1 
arcsin      
 
 
 
 
 
   โดยที่  
 
 
 
 
 
  
2 
, 
2 
  
 
เนื่องจาก 0 
3 
1 
sin ดังนั้นจะได้  
 
 
 
 
  ,0 
2 
 
 (ควอดรันต์ที่ 4) 
จะได้ cos 
3 
1 
arcsin cos    
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
จาก  
 
 
 
 
 
  0, 
2 
 
 จะได้ค่าของ 0 cos   หรือในควอดรันต์ที่ 4 ได้ cos เป็นบวก 
หาค่า  cos โดยใช้สูตรหรือรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อทราบค่า 
3 
1 
sin    
ในที่นี้เพื่อความสะดวกใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังนี้ 
จากรูป 
3 
2 2 
cos   โดยที่cos เป็นบวก 
ดังนั้น 
3 
2 2 
3 
1 
arcsin cos    
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ตัวอย่าง 68 จงหาค่าของ 
1.  
 
 
 
 
 
 
5 
3 
arccos 
13 
5 
cos arcsin 2.   
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
  
5 
3 
arcsin 
5 
3 
sin arccos 
 
1 
3 
8  2 2
41 
ตัวอย่าง 69 จงหาค่าของ 
1.  
 
 
 
 
 
 
2 
1 
arctan 
3 
2 
tan arctan 2.  
 
 
 
 
 
 
 
  
 
 
  
 
 
 
5 
1 
tan 2arcsin 3. sinarctan2 arcsec 10 
ตัวอย่าง 70 จงแสดงว่า 
13 2 
12 
arcsin 
13 
5 
arcsin 
 
 
42 
สมการตรีโกณมิติ 
การแก้สมการตรีโกณมิติ คือ การหาค่าตัวแปรของสมการโดยอาศัยความรู้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
ซึ่งคา ตอบของตัวแปร แยกได้ดังนี้ 
1. คา ตอบแบบมีขอบเขตหรือช่วงของค่ามุม 
2. คา ตอบแบบหาค่ามุมทั่วไป หรือในกรณีไม่ได้กา หนดขอบเขตหรือช่วงของค่ามุม 
ถ้า  เป็นมุมที่เล็กที่สุดในการแก้สมการ 1 รอบแรกตามทิศทวนเข็มนาฬิกา และ I n  
คา ตอบของสมการอาจเขียนได้ดังนี้ 
1. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน sin, cosec 
 ทั่วไป =    n n 1   
2. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน cos, sec 
 ทั่วไป = n2 
3. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน tan, cot 
 ทั่วไป = n 
ตัวอย่าง 71 จงแก้สมการ 4sin 3 0 2    เมื่อ 0   2 
ตัวอย่าง 72 จงแก้สมการ 2cos 3cos 0 2     เมื่อ 0   2
43 
ตัวอย่าง 73 จงแก้สมการ sin cos 5 0 2      เมื่อ 20 
ตัวอย่าง 74 จงแก้สมการ 0 2 cos sec 3      เมื่อ 20 
ตัวอย่าง 75 จงแก้สมการ 2sin 3cos 3 2     เมื่อ 0   2 
ตัวอย่าง 76 จงแก้สมการ 1 
2 
cos2 2cos2   
 
 เมื่อ 0   2
44 
ตัวอย่าง 77 จงแก้สมการ   cos 2 sin  เมื่อ   2 0   
ตัวอย่าง 78 จงแก้สมการ 2cos 2cos2 1 2     เมื่อ 20 
ตัวอย่าง 79 จงหาค่ามุมทั่วไปของ cos2 3sin  2 
ตัวอย่าง 80 จงแก้สมการ    2cos  sin 30
45 
กฎของโคไซน์ (Law of cosine) 
จากฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชันของจา นวนจริงหรือมุม สมบัติของฟังก์ชันเหล่านี้อาจ 
นา มาใช้หาความยาวของด้านและขนาดของมุมรูปสามเหลี่ยมใดๆ ได้ดังนี้ 
กาหนดให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ c b a , , เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่งตรงกัน 
ข้ามกับมุม CBA, , ตามลาดับ จะได้ว่า 
C 
b a 
A c B 
จงแสดงว่า a b c 2bccosA 2 2 2    
ให้ มุม A ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน ดังรูป 
CbcosA,bsin A 
b a 
  0, 0A c D   0, c B 
จากรูปจะได้    2 2 a  BC  bcosAc  bsin A0 
a b A c b A 2 2 2 2  cos   sin 
b A bc A c b A 2 2 2 2 2  cos 2 cos   sin 
b cos A sin A c 2bccos A 2 2 2 2     
b c 2bccosA 2 2    
ในทา นองเดียวกัน สรุปได้ กฎของโคไซน์ ดังนี้ 
กฎของโคไซน์ a b c 2bccosA 2 2 2    
b a c 2accosB 2 2 2    
c a b 2abcosC 2 2 2    
หลักควรจา การหาความยาวของด้าน จะต้องทราบความยาวด้านอีก 2 ด้าน 
และมุมระหว่างด้านทั้งสองนั้น
46 
และจะได้ว่า 
, 
2 
cos 
2 2 2 
bc 
b c a 
A 
  
 , 
2 
cos 
2 2 2 
ac 
a c b 
B 
  
 
ab 
a b c 
C 
2 
cos 
2 2 2   
 
หลักควรจา การหามุม จะต้องทราบความยาวด้านทั้ง 3 ด้านของรูปสามเหลี่ยม 
ตัวอย่าง 81 กา หนด  120 , 3 2 , 2    C c a จงหาความยาวด้าน b 
ตัวอย่าง 82 กา หนด  60 , 1 3 , 2     C b a จงหา c 
ตัวอย่าง 83 กาหนด 13 , 7 , 15    c b a จงหาขนาดของมุม C
47 
ตัวอย่าง 84 กา หนด c  60 ,a  2,c  6  จงหาขนาดของมุม B 
ตัวอย่าง 85 รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานรูปหนึ่ง มีขนาดของมุมๆ หนึ่งเท่ากับ  60 และด้านที่ประกอบมุม 
นี้ยาว 5 และ 10 เซนติเมตร จงหาความยาวของเส้นทแยงมุมทั้งสองของรูปสี่เหลี่ยมนี้   35, 75 
ตัวอย่าง 86 รูปสามเหลี่ยม ABC ให้ c ba, , เป็นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่งอยู่ตรงกันข้าม 
กับมุม CBA, , ตามลาดับ ถ้า    bc a c b c b a 3      แล้ว จงหาขนาดของมุม A
48 
กฎของไซน์ (Law of sine) 
กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ cba,, เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่งตรงกัน 
ข้ามกับมุม CBA, , ตามลาดับ 
จงแสดงว่า พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆ Abcsin 
2 
1 
 
ให้ มุม A ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน ดังรูป 
  AbAbCsin, cos 
b a 
  0, 0A c D   0, c B 
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  
2 
1 ความสูง ความยาวของฐาน 
   c Absin 
2 
1 
 
bcsin A 
2 
1 
 
ในทานองเดียวกัน ให้ มุม B และมุม C ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน จะได้ 
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ca B absinC 
2 
1 
sin 
2 
1 
  
สรุปพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆดังนี้ 
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC bc A ca B absinC 
2 
1 
sin 
2 
1 
sin 
2 
1 
   
หลักควรจา การหาพื้นที่ทราบความยาวด้าน 2 ด้านและมุมระหว่างด้านทั้งสองนั้น 
จาก พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC bc A ca B absinC 
2 
1 
sin 
2 
1 
sin 
2 
1 
   
เมื่อ นา abc 
2 
1 หารตลอดจะได้ กฎของไซน์ ดังนี้ 
abc 
ab C 
abc 
ca B 
abc 
bc A 
2 
1 
sin 
2 
1 
2 
1 
sin 
2 
1 
2 
1 
sin 
2 
1 
  
กฎของไซน์ 
c 
C 
b 
B 
a 
sin A sin sin 
  
หรือ 
C 
c 
B 
b 
A 
a 
sin sin sin 
 
49 
ตัวอย่าง 87 รูปสามเหลี่ยม ABC ให้มุม B  45 ,b  2 2, c  2 3  จงหาขนาดของมุมที่เหลือ 
ตัวอย่าง 88 ในสามเหลี่ยม ABC ให้ cba,, เป็นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่งอยู่ตรงกันข้าม 
กับมุม CBA, , ตามลาดับ ถ้า ba2 และ BA3 แล้ว จงหาขนาดของมุมทั้งสามของ 
สามเหลี่ยนรูปนี้ 
หมายเหตุ กาหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ c ba, , เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่ง 
ตรงกันข้ามกับมุม A,B,C ตามลา ดับ จะได้สูตรอื่นๆ ดังนี้ 
ถ้า 
2 
a b c 
s 
  
 แล้ว ss as bs c 
bc 
A     
2 
sin 
ss as bs c 
ac 
B     
2 
sin 
ss as bs c 
ab 
C     
2 
sin 
และจะได้ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  ss  as bs c
50 
การหาระยะทางและความสูง 
เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ เพื่อหาระยะทางและความสูงได้ 
ตัวอย่าง 89 สมจิตยืนอยู่บนสนามแห่งหนึ่งมองเห็นยอดเสาธงเป็นมุมเงย 15 องศา แต่เมื่อตรงเข้าไป 
หาเสาธงอีก 60 เมตร เขามองเห็นยอดเสาธงเป็นมุมเงย 75 องศา ถ้าสมจิตสูง 150 เซนติเมตร จงหา 
ความสูงของเสาธง กาหนดให้ 732 . 1 3    82. 18 
ตัวอย่าง 90 รุ่งเรืองยืนอยู่บนดาดฟ้าของตึกชมวิว 15 ชั้นหลังหนึ่ง เขามองเห็นป้อมยามทางทิศ 
ตะวันออกของตึกชมวิวเป็นมุมก้ม 60 องศา และมองเห็นรถบรรทุกน้า มันคันหนึ่งจอดอยู่ทางทิศใต้ 
ของป้อมยามนั้นเป็นมุมก้ม 30 องศา อยากทราบว่ารถบรรทุกน้า มันคันนั้นอยู่ห่างจากป้อมยามเท่าไร 
ถ้าตึกชมวิวหนึ่งมีความสูงชั้นละ 4 เมตร
51 
แนวข้อสอบเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
1. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีฐาน AB ยาว 6 หน่วย มุมCBAเท่ากับ 30 องศา และพื้นที่ของสามเหลี่ยม 
ABC เท่ากับ 6 ตารางหน่วย แล้วด้าน BC ยาวเท่ากับข้อใด 
1. 5.2 2. 0.3 3. 5.3 4. 0.4 
2. กาหนดให้ ABCเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมุม ABCเป็นมุมฉาก และมุม CABกาง  60 
ถ้าผลบวกของความยาวของด้าน AB กับ AC เท่ากับ 6 หน่วยแล้ว ด้าน CB จะยาวเท่ากับข้อใด 
1.   126 2. 2 3. 22 4. 3 2 
3. ถ้าสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ABCมีมุม C กาง 120 องศา ด้าน AC=BC ดังรูป ถ้าลากเส้นตรงจากจุด A 
มาตั้งฉากกับด้าน BC ที่ต่อออกไปที่จุด D และ AD ยาว 3 หน่วย จงหาความยาวเส้นรอบรูป 
สามเหลี่ยม ABC 
A 
C B 
1. 3 3 
2 
3 
 2. 3 3 6  3. 3 4 
2 
3 
 4. 3 4 6  
4. จงหาค่าของ   
 
 
  
 
 
  
 
 
 
cos10 
cos30 
sin10 
sin30 
1. -2 2. -1 3. 2 4. 1 
5. ถ้า 
3 
5 
cos Asin A  แล้ว sin2Aเท่ากับข้อใด 
1. 
9 
4 2. 
13 
4 3. 
13 
9 4. 
9 
13 
6. กา หนด 
5 
4 
,cos 
5 
3 
sin A  B  เมื่อ 
2 
0 , 
 
 A B  จงหาค่าของ cosA B 
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 
7. sinA BsinA B มีค่าตรงกับข้อใด 
1. A 2 sin 2. B 2 sin 3. A B 2 2 sin sin 4. A B 2 2 sin sin 
8. กา หนด   
2 
1 
, tan 
4 
3 
tan     จงหาค่าของ tan 
1. 
11 
2 2. 
11 
3 3. 
5 
2 4. 
5 
3 
 120
52 
9. จงหาค่าของ     tan30  tan15  tan30 tan15 
1. -2 2. -1 3. 0 4. 1 
10. จงหาค่าของ      2 cos21 cos51 cos69 cos39   
1. 3 2. 3 2 3. 
2 
1 
 4. 
2 
1 
11. ถ้า 
7 
1 
tan A  และ 
10 
1 
sin  B เมื่อ B A, เป็นมุมแหลมแล้ว   B A 2 tan  เท่ากับข้อใด 
1. 1 2. 2 3. 
3 
1 4. 
2 
3 
12. ห้     
10 
3 4 3 
,cos 
10 
3 4 3 
cos 
 
  
 
A B  A B จงหาค่าของ sin 2Asin 2B 
1. 
25 
3 6 2. 
25 
3 12 3. 
25 
3 6 
 4. 
25 
3 12 
 
13. ข้อใดต่อไปนี้ผิด 
1.  
 
 2 
2 
2 
sec 
cot 
cot 1 
 
 2. 
2 
tan 
cos 1 
cos 1 2  
 
 
 
 
 
3.  
 
 
 
 2 cos 
4 
cos 
4 
sin   
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 
 
 4. 
2 
1 
2 
1 
sin arcsin    
 
 
 
 
 
  
14. ถ้า 
4 
3 
cos A  แล้ว 
2 
5 
sin 
2 
2sin 
A A เท่ากับข้อใด 
1. 
32 
11 2. 
16 
11 3. 
16 
9 4. 
12 
9 
15. จงหาค่าของ    cos10 cos110 cos130 
1. 0 2. 
2 
1 3. 1 4. 2 
16. ถ้า 
3 
1 
tan   จงหา 4sin 
1. 
25 
23 2. 
25 
24 3. 
22 
21 4. 
23 
22 
17. 
A A 
A A 
sin5 sin3 
cos5 cos3 
 
 มีค่าตรงกับข้อใด 
1. ecA cos 2. A sec 3. A cot 4. A tan 
18. 
A A A 
A A A 
cos cos3 cos5 
sin sin3 sin5 
  
  มีค่าตรงกับข้อใด 
1. cosec3A 2. sec3A 3. cot3A 4. tan3A 
19.    8sin20 sin40 sin80 มีค่าตรงกับข้อใด 
1. 
3 
1 2. 
2 
1 3. 2 4. 3
53 
20.    sin70 sin50 sin10 
8 
1 มีค่าตรงกับข้อใด 
1. 
8 
1 2. 
16 
1 3. 
32 
1 4. 
64 
1 
21. จงหาค่าของ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
2 
3 
arcsin 
2 
1 
2 
3 
cos arccos 
1. 1  2. 
2 
1 3. 1 4. 2 
22. จงหาค่าของ  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
3 
4 
arctan 
5 
4 
tan arccos 
1. 
17 
6 2. 
16 
7 3. 
7 
16 4. 
6 
17 
23. จงหาค่าของ 
13 
5 
arccos 
12 
5 
arctan  
1. 
6 
 2. 
4 
 3. 
3 
 4. 
2 
 
24. จงหาค่า  จากสมการ 0 cos 3 sin 2 2     เมื่อ   180 90   
1.  90 2.  120 3.  135 4.  180 
25. จงหาค่า  จากสมการ 3 
sin 
1 cos 
 
 
 
 เมื่อ  0   
1. 
3 
 2. 
3 
2 3. 
4 
3 4. 
6 
5 
26. 
12 
cos 
12 
5 
cos 
  
 มีค่าเท่ากับข้อใด 
1. 
2 
3 2. 
2 
1 3. 
2 
6 4. 
2 
1 
27. กาหนด 5 , 3 5 , 5    c b a จงหาขนาดของมุม B 
1.  90 2.  120 3.  135 4.  160 
28. กา หนด   b  6,B  60 ,C 15 จงหาความยาวด้าน c 
1. 1 3  2. 1 3  3. 1 2  4. 1 2  
29. กาหนด    ab c b a c b a 3      แล้ว จงหาขนาดของมุม C 
1.  30 2.  45 3.  60 4.  90 
30. ถ้า 
5 
sin 
6 
sin 
7 
sin A B C 
  แล้ว จงหาค่าของ cosC 
1. 
8 
3 2. 
5 
3 3. 
15 
8 4. 
7 
5
54 
31. กา หนดให้   
 
 
 
 
 
 
   
 
 
   
cos 
2cos2 
sin 1 tan sin A ผลบวกของสมาชิกในเซต Aเท่ากับข้อใด 
1. 
3 
2 2. 
3 
5 3. 
3 
1 
 4. 
3 
5 
 
32. ถ้า   x   sin15 sin55 และ   y   55 cos 15 cos แล้ว   xyy x 2 2   เท่ากับข้อใด 
1.  20 cos 4 2 2.  20 cos 2 2 3.  40 cos 4 2 4.  40 cos 2 2 
33.  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5 
4 
arccos 
5 
4 
arcsin 
2 
1 
tan 
5 
3 
arccos 
5 
3 
arcsin 
2 
1 
sec มีค่าเท่ากับข้อใด 
1. 2 2. 3 3. 2 1  4. 3 2  
34. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม BAC = 45 มุม ACB = 60 และด้าน AC ยาว 20 นิ้ว แล้วพื้นที่ของ 
สามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
1 3 
2 300 
 
ตารางหน่วย 2. 
1 3 
3 300 
 
ตารางหน่วย 
3. 
1 3 
2 200 
 
ตารางหน่วย 4. 
1 3 
3 200 
 
ตารางหน่วย 
35. รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้าน a, b และ c เป็นด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามลา ดับ 
ถ้า 
4 
1 
cos  B และ    30      c b a c b a แล้ว ac มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 12 2. 20 3. 
5 
20 4. 
3 
40 
36. จงหาค่าของ  
 
 
 
3 
1 
sec 2arcsin 
1. 1 2. 3 3. 
3 
1 4. 
2 
3 
37. จงหาค่าของ  
 
 
 
 
5 
3 
cos 2arcsin 
1. 
25 
7 2. 
25 
8 3. 
27 
5 4. 
27 
8 
38. จงหาค่าของ 
  
 
 
 
 
  
 
 
 
 
2 
4 
3 
arctan 
sin 
1. 
3 
3 2. 
6 
6 3. 
10 
10 4. 
12 
12 
39. เซตคา ตอบของสมการ     
4 
arctan1 arctan1 
 
 x   x  เป็นสับเซตของเซตในข้อใด 
1.  4,0 2.  2,2 3. 3,1 4. 1,3
55 
40.  
 
 
 
 
 
12 
11 
tan 
 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
3 1 
1 
 
 2. 
3 1 
3 1 
 
 3. 
3 1 
3 1 
 
 4. 
3 1 
3 
 
41. ถ้า   x x f sin และ   x x x g arcsin 2 2 arcsin   
แล้วค่าของ    
 
 
 
 
 
3 
1 
gf  คือข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
9 
4 2.   8 1 
9 
2 
 
3. 
12 
10 
2 4  4.   10 2 7 
27 
2 
 
42. กาหนดให้    
 
 
 
 
  
 
24 
7 x 
x f  เมื่อ - 3 < x  3 และ     x f x f 6 ทุก ๆ x R 
ถ้า   x A x g arcsin   โดยที่ A , 0 และ 
5 
2 
cos  A แล้วค่าของ    5 1 f g   
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
10 
1 2. 
5 
1 3. 
5 
1 4. 
10 
1 
43. ถ้า arctan x = arctan 
4 
1 - 2arctan 
2 
1 แล้ว sin (180  + arctan x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
17 5 
13 2. 
17 5 
16 3. 2 4. 3 
44. สามเหลี่ยม ABC มีด้าน a, b, c เป็นด้านตรงข้ามมุม A, B, C ซึ่งมีความยาวเป็น 3, 2.5, 1 หน่วย 
ตามลา ดับ ค่าของ b cos C + c cos B เท่ากับเท่าใด 
1. 1 2. 3 3. 4 4. 5 
45. ให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมดังรูป 
A 
5 7 
C 8 B 
ค่าของ 
2 
sin2 B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 
1. 
28 
3 2. 
28 
7 3. 
28 
12 4. 
28 
21
56 
เฉลยแนวข้อสอบฟังก์ชันตรีโกณมิติ 
1. ข้อ 4 
2. ข้อ 4 
3. ข้อ 4 
4. ข้อ 3 
5. ข้อ 1 
6. ข้อ 2 
7. ข้อ 3 
8. ข้อ 1 
9. ข้อ 4 
10. ข้อ 1 
11. ข้อ 1 
12. ข้อ 2 
13. ข้อ 4 
14. ข้อ 2 
15. ข้อ 1 
16. ข้อ 2 
17. ข้อ 3 
18. ข้อ 4 
19. ข้อ 4 
20. ข้อ 4 
21. ข้อ 1 
22. ข้อ 4 
23. ข้อ 4 
24. ข้อ 2 
25. ข้อ 2 
26. ข้อ 3 
27. ข้อ 2 
28. ข้อ 1 
29. ข้อ 3 
30. ข้อ 4 
31. ข้อ 3 
32. ข้อ 1 
33. ข้อ 3 
34. ข้อ 4 
35. ข้อ 1 
36. ข้อ 2 
37. ข้อ 1 
38. ข้อ 3 
39. ข้อ 2 
40. ข้อ 2 
41. ข้อ 4 
42. ข้อ 1 
43. ข้อ 1 
44. ข้อ 2 
45. ข้อ 1

More Related Content

What's hot

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนchatchai
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์guestbcc425
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์guest7695029
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลพัน พัน
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 

Viewers also liked (7)

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 

Similar to ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014

ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1Nitikan2539
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
5 ลำดับอนันต์Œ
5 ลำดับอนันต์Œ5 ลำดับอนันต์Œ
5 ลำดับอนันต์ŒToongneung SP
 
Applied tri
Applied triApplied tri
Applied trisupanun
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 

Similar to ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014 (20)

ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
4339
43394339
4339
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
5 ลำดับอนันต์Œ
5 ลำดับอนันต์Œ5 ลำดับอนันต์Œ
5 ลำดับอนันต์Œ
 
Applied tri
Applied triApplied tri
Applied tri
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Linear1
Linear1Linear1
Linear1
 
Pat one
Pat onePat one
Pat one
 
Pat15810
Pat15810Pat15810
Pat15810
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014

  • 1. คณิตศาสตร์ ม.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometry function) รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์
  • 2. 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ A sin = ความยาวด้านตรงข้ามมุม A = ข้าม = c a ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ฉาก cosA= ความยาวด้านประชิดมุม A = ชิด = c b ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ฉาก A tan = ความยาวด้านตรงข้ามมุม A = ข้าม = b a หรือ A A A cos sin tan  ความยาวด้านประชิดมุม A ชิด a c A ecA  sin 1 cos หรือ sin A cosecA1 b c A A   cos 1 sec หรือ cosA sec A 1 a b A A   tan 1 cot หรือ A A A tan cos cot  หรือ tanA cot A 1 เนื่องจาก A B  B   A   90 90 จะได้   A  A A c b sinB  sin 90  A   cos sin 90   cos     A  A A c a cosB  cos 90  A   sin cos 90   sin     A  A A a b tanB  tan 90  A   cot tan 90   cot   A B C a c b (ด้านตรงข้ามมุม A) (ด้านประชิดมุม A) (ด้านตรงข้ามมุมฉาก) 2 2 2 a b  c
  • 3. 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา อัตราส่วน/มุม  30  45  60  sin 2 1 2 2 2 3  cos 2 3 2 2 2 1  tan 3 1 1 3 หลักง่ายๆ ในการจาตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา เพื่อนา ไปใช้ดังนี้ 1. เขียนตารางดังกล่าว แต่ยังไม่มีค่าของตรีโกณมิติ 2. แถวบนสุด   sin ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 1,2,3 และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวส่วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่องหมาย รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ 2 3 , 2 2 , 2 1 2 3 , 2 2 , 2 1 2 3 , 2 2 , 2 1   3. แถวที่สอง   cos ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 3,2,1, และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวส่วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่องหมาย รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ 2 1 , 2 2 , 2 3 2 1 , 2 2 , 2 3 2 1 , 2 2 , 2 3   4. แถวที่สาม   tan ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวา นาตัวเศษ ของแถวบนสุดและแถวที่สองมาเขียนเป็นเศษส่วนตามลา ดับในแต่ละช่อง จะได้ , 1 , 3 3 1 1 3 , 2 2 , 3 1  ตัวอย่าง 1 ถ้า 5 4 cos  และ  0   90 แล้วจงหาค่าของ   2 5tan 4sec
  • 4. 4 ตัวอย่าง 2 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ 5 12 cot  A แล้วจงหาค่าของ 10cosecA12sec A ตัวอย่าง 3 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ 5 3 cos  A แล้วจงหาค่าของ   A B  cos 10 ตัวอย่าง 4 ถ้าสามเหลี่ยม ABCมีมุม B เป็นมุมฉาก มีมุม A เท่ากับ 30 องศา และมีพื้นที่เท่ากับ 3 24 ตารางหน่วย จงหาความยาว AB
  • 5. 5 ตัวอย่าง 5 ถ้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีความสูงเท่ากับ 1 หน่วย จงหา เส้นรอบรูปของ สามเหลี่ยมรูปนี้ ตัวอย่าง 6 ให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน มีพื้นที่เท่ากับ 20 ตารางหน่วย มุม BAD กาง  120 ถ้า AB ยาว 5 หน่วยแล้ว เส้นรอบรูปของสี่เหลี่ยมรูปนี้มีความยาวเท่าใด ตัวอย่าง 7 นักท่องเที่ยวคนหนึ่งยืนอยู่บนประภาคารสังเกตเห็นเรือสองลา จอดอยู่ในทะเลทางทิศ ตะวันออกของประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทา มุมก้ม 30 องศา และ 60 องศา กับแนวระดับ ประภาคารแห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้า ทะเลประมาณเท่าใด ถ้าเรือทั้งสองลา อยู่ห่างกัน 200 เมตร
  • 6. 6 ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ การกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยใช้วงกลม 1 หน่วย (The unit circle)คือวงกลมรัศมี 1 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด  0,0 เป็นหลักในการกาหนดค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ วงกลม 1 หน่วยนี้ มีกราฟของความสัมพันธ์  ,  1 2 2 x y R R x  y  กาหนดจานวนจริง  โดยเริ่มวัดระยะจากจุด 0,1 ไปตามส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วยให้ ยาว  หน่วย ถึงจุด yx, ที่ต้องการบนวงกลม 1 หน่วย โดยมีข้อตกลงดังนี้ ถา้   0 จะเป็นการวัดส่วนโค้งจากจุด 1,0 ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ถ้า 0 จะเป็นการวัดส่วนโค้งจากจุด 0,1 ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ถ้า 0   จุดปลายของส่วนโค้งคือ จุด  0,0 จากสูตรเส้นรอบวงหรือส่วนโค้งของวงกลม 1 รอบเท่ากับ r 2 หน่วย ดังนั้นความยาวของ เส้นรอบวงหรือส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย 1 รอบ ยาว   2 1 2   หน่วย ถ้า 2 แสดงว่า วัดส่วนโค้งเกิน 1 รอบ ตาแหน่งของจุดปลายส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย ที่สาคัญ   0, 1 0 0   0, 1 0   0       0,2   0 0 0 2      2 3     0,2 2        2       0
  • 7. 7 กาหนดฟังก์ชัน RRf : และ RRg: สาหรับแต่ละจานวนจริง  ใดๆ ดังนี้     y g x f     , เมื่อ yx, เป็นจุดปลายส่วนโค้งของวงกลม 1 หน่วย ที่วัดจากจุด 0,1 ยาว  หน่วย ถึงจุด   y x, ที่ต้องการบนวงกลม 1 หน่วย เรียก ฟังก์ชัน g และ f ว่า ฟังก์ชันไซน์ (sine) และฟังก์ชันโคไซน์ (cosine) ตามลา ดับ เขียน ฟังก์ชัน g ด้วย sin และฟังก์ชัน f ด้วย cos จะได้ y  sin , x cos (หลักง่ายๆ หน้า คือค่า  cos และหลัง คือค่า  sin ) จากวงกลม 1 หน่วย เป็นวงกลมรัศมี 1 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด  0,0 มีกราฟของ ความสัมพันธ์  ,  1 2 2 x y R R x  y  จะได้ 1 y 1, 1 x 1 และจาก y  sin , x cos ความสัมพันธ์ดังนี้        2 2 2 2 2 2 2 2 x  y 1 cos  sin 1;cos   cos ,sin   sin นิยมเขียนเป็น cos sin 1 2 2     1 sin 1, 1 cos 1 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงบางจานวน ตัวอย่าง 8 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้  0 2   2 3  2 2    2 3   2 3 2 7  sin 0  cos 1   0,2 2       2 3   1,0   1, 0   0, 1    1 , 0    0,2 2 3        2       0, 1 0,1   0, 1    1 , 0 
  • 8. 8 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ นอกจากฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ดังกล่าวแล้ว ยังมีฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สา คัญอีกหลาย ฟังก์ชัน โดยอาศัยค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ นิยามดังนี้ บทนิยาม สาหรับจานวนจริง  ใดๆ ; cos 0 cos sin tan       ; sin 0 sin 1 cos     ec ; cos 0 cos 1 sec      ; sin 0 sin cos cot       ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ       tan 1 cos sin 1 sin cos cot             2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 tan sec cos 1 cos sin cos cos cos  sin 1               2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 cot cos sin 1 sin sin sin cos cos  sin 1      ec ตัวอย่าง 9 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้  0 2   2 3  2 2 7 10  15 2 9  2 11 2 15   sin 0  cos 1 tan 0 1 0  ตัวอย่าง 10 จงบอกจานวนจริง  มา 5 จานวนที่ทาให้ 1. sin  0 2. cos  0 3. sin 1 4. cos 1 5. sin  1
  • 9. 9 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริง  เมื่อ  เป็น 3 , 6 , 4    ค่าของ 4 , tan 4 ,cos 4 sin    ให้   y x P, เป็นจุดกึ่งกลางของส่วนโค้ง AB ดังรูป เนื่องจากส่วนโค้ง AB ยาว 2  หน่วย จะได้ คอร์ด PB ยาวเท่ากับ คอร์ด PA และจะได้ PAPB ดังนั้น        2 2 2 2 x 0  y 1  x 1  y 0 2  2  2 2 2 2 2 2 x  y 1  x 1  y x  y  2y 1 x  2x 1 y y x  เนื่องจาก 2 2 2 1 2 1 1 1 2 1 2 2 2 2 2 2 x  y   x  x   x  x  x     ดังนั้น 2 2 2 2 x  y  เนื่องจาก x, y เป็นจุดในควอดรันต์ที่ 1 จะได้ จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว 4  หน่วย คือ         2 2 , 2 2 นั่นคือ 7071 0. 2 2 4 cos 4 sin      และ 1 4 cos 4 sin 4 tan      ยังสามารถหาค่าเมื่อ  เป็น ,... 4 7 , 4 5 , 4 3   ได้ ตัวอย่าง 11 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้  0 4  2  4 3  4 5 2 3 4 7 2  sin 0 cos 1 tan 0 1 0    0, 1 A   1, 0 B   y x P,         2 2 , 2 2 P          2 2 , 2 2 Q          2 2 , 2 2 R           2 2 , 2 2 S
  • 10. 10 ในทานองเดียวกันสามารถหาค่า เมื่อ  เป็น 3 , 6  สรุปได้ดังนี้ ค่าของ 6 , tan 6 ,cos 6 sin    ค่าของ 3 , tan 3 ,cos 3 sin    ตัวอย่าง 12 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้  6  3  3 2 6 5 6 7 3 4 3 5 6 11 sin cos tan   0, 1 A   1, 0 B   y x P,         2 1 , 2 3 P          2 1 , 2 3 Q          2 1 , 2 3 R           2 1 , 2 3 S   0, 1 A   1, 0 B   y x P,         2 3 , 2 1 P          2 3 , 2 1 Q          2 3 , 2 1 R           2 3 , 2 1 S
  • 11. 11 ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงใดๆ ค่าของ sin ,cos , tan  ค่าของ                n n n 2 tan , 2 cos , 2 sin เมื่อ   I n ตัวอย่าง 13 จงหาค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ 1.      3 sin  2.      6 cos  3.      3 11 tan  4.       3 11 cos  5.       3 11 sin    0, 1 A   y x P,       2 1 6 sin 6 . . sin tan tan cos cos sin sin                            i e   y x Q, A1,0   y x P,       2 2 4 sin 4 sin 3 2 4 sin 6 4 25 . . sin tan 2 tan cos 2 cos sin 2 sin                                      i e n n n Qx,y
  • 12. 12 เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 2            2 ตัวอย่าง 14 จงหาค่าของ              4 3 tan 3 2 sin2   เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 3         2 3   ตัวอย่าง 15 จงหาค่าของ            6 7 sin 3 4 cos  2    0, 1 A   y x P,       2 3 6 cos 6 cos 6 5 . . cos tan tan cos cos sin sin                                        i e   y x P,    0, 1 A Px, y       2 2 4 sin 4 sin 4 5 . . sin tan tan cos cos sin sin                                    i e P x,y
  • 13. 13 เมื่อจุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 4            2 2 3 ตัวอย่าง 16 จงหาค่าของ              3 5 cos 4 7 tan  2  สรุปฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สาคัญ         2 1 , 2 3 6  01,0 01,0   0, 1 A   y x P,       2 1 6 sin 6 sin 2 6 11 . . sin tan 2 tan cos 2 cos sin 2 sin                                     i e   y x P, 0 1,0         2 1 , 2 3 6          2 2 , 2 2 4          2 3 , 2 1 3  0, 1 2 3   1,0 6 5 2 1 , 2 3           3 2 2 3 , 2 1           4 3 2 2 , 2 2                    2 1 , 2 3 6 11          2 2 , 2 2 4 7          2 3 , 2 1 3 5 3 4 2 3 , 2 1            4 5 2 2 , 2 2            6 7 2 1 , 2 3              1, 0 2 
  • 14. 14 วิธีลัดอย่างง่ายในการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ เมื่อ จุดปลายส่วนโค้งยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 2 , 3 และ 4 เช่น , 6 5 sin  3 5 tan , 4 15 cos  ดาเนินการวิธีลัดดังนี้ 1. ให้พิจารณาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของความยาวส่วนโค้ง  ในควอดรันต์ที่ 1 นามาเป็น คา ตอบไว้ก่อน เช่น 3 2 cos  พิจารณาค่าของ 2 1 3 cos   ดังนั้นจะได้ 2 1 3 2 cos   2. ให้พิจารณาว่าความยาวส่วนโค้ง ทั้งหมดอยู่ในควอดรันต์ใด แล้วพิจารณาว่า มีค่าเป็น บวก หรือ ลบ แล้วนา บวก หรือ ลบ ไปใส่หน้าคา ตอบที่ได้ตอบไว้ในข้อ 1 เช่น จากตัวอย่างข้อ 1 จะ เห็นว่า 3 2 อยู่ในควอดรันต์ที่ 2 มีค่าของ 3 2 cos  เป็น ลบ นั่นคือ 2 1 3 2 cos    ตัวอย่าง 17 จงหาค่าของ 1.                           6 7 tan 4 3 cos 3 4 sin 6 5 sin     2.                   4 5 tan 6 7 sin 6 11 cos 6 5 sin 2  2     ALL   cos , sin tan        tan, sin cos      tan, cos sin 1 4 2 3
  • 15. 15 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม การวัดขนาดของมุมมี 2 แบบ คือ การวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา และตามเข็มนาฬิกาดังรูป หน่วยวัดมุมเป็น เรเดียน (Radian) กา หนดดังนี้ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลม ที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมวงนั้น ถือว่าเป็นมุมที่มีขนาด 1 เรเดียน เนื่องจากวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย มีเส้นรอบวง r 2 หน่วย ดังนั้นมุมที่จุดศูนย์กลางของ วงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่ยาว r 2 หน่วย จึงมีขนาด   2 2  r r เรเดียน จะได้มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย ที่ได้จากการหมนุนรัศมีครบ 1 รอบ มีขนาด 2 เรเดียน เมื่อวัดเป็นองศาวัดได้ 360 องศา ดังนั้น 360 องศา 2  เรเดียน 180 องศา   เรเดียน 1 องศา 180   เรเดียน 01745 . 0  เรเดียน 1 เรเดียน  180  องศา 8 1 57    หมายเหตุ ขนาดของมุมที่มีหน่วยเป็น เรเดียน มักไม่เขียนหน่วยกา กับไว้ ตัวอย่าง 18 จงหาค่าของ 1.  6 5 องศา 2.  5 11 องศา 3.   3 2 องศา 4.   150 เรเดียน 5.   300 เรเดียน 6.    315 เรเดียน ทวนเข็มนาฬิกา ขนาดของมุมเป็นจานวนบวก A ตามเข็มนาฬิกา ขนาดของมุมเป็นจานวนลบ r r 0
  • 16. 16 เนื่องจากการวัดมุมของวงกลม 1 หน่วย จะเห็นได้ว่า จุดที่ด้านสิ้นสุดของมุมขนาด  เรเดียน ตัดกับวงกลม 1 หน่วยนั้น มีเพียงจุดเดียวและเป็นจุดเดียวกันกับจุดปลายส่วนโค้งที่วัดจาก จุด  0,1 ดังนั้นค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของมุมหรือในแง่ของความยาวส่วนโค้งมีค่าเท่ากัน เช่น 2 2 4 , cos45 cos 2 1 sin30 6 sin                    การหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหน่วยเป็นองศา เนื่องจากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของมุมหรือในแง่ของความยาวส่วนโค้งมีค่าเท่ากัน ดังนั้นการหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมหน่วยเป็นองศา ดา เนินการได้ดังนี้ 1. อาจจะเปลี่ยนหน่วยเป็นเรเดียนก่อน แล้วใช้การหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของ ความยาวส่วนโค้ง 2. หากไม่เปลี่ยนหน่วยของมุมองศา สามารถใช้สูตรที่ปรับจากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติใน แง่ของความยาวส่วนโค้งดังนี้ เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่ 2     90  180 sin180   sin cos180   cos tan180   tan    เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่3     180   270 sin180   sin cos180   cos tan180   tan    เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ที่ 4     270   360 sin360   sin cos360   cos tan360   tan    ค่าของ                sin n 360 ,cos n 360 , tan n 360 เมื่อ  I n sin 360   sin cos 360   cos tan 360   tan    n n n เช่น   2 1 cos120 cos 180 60  cos60         2 2 sin 225  sin 180  45  sin 45         3 1 tan330  tan 360 30  tan30         2 2 2 cos 405  cos 360  45  cos 45       ec ec ec
  • 17. 17 ตัวอย่าง 19 จงหาค่าของ 1.    2sin330 3tan 135 sec 300 2 2  2.          cos 390 tan 480 sin 480     ตัวอย่าง 20 กาหนดให้ 5cot  และ 0sin แล้ว จงหาค่าของ cos ตัวอย่าง 21 กาหนดให้ 3cot  จงหาค่าของ     2 2 2 2 sin 2cos sin cos   ตวัอย่าง 22 กา หนดให้ cos  sin  k จงหาค่าของ 10sin cos
  • 18. 18 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยเฉพาะกราฟของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ เป็นกราฟที่มี ความสา คัญมากทั้งในวิชาคณิตศาสตร์และวิชาฟิสิกส์ โดยมีวิธีการเขียนกราฟดังนี้ ฟังก์ชันไซน์ ถ้า   Sine y x , จะได้ x y sin เขียนกราฟได้ดังนี้ กราฟของ x y sin เมื่อ 20x x 0 6  4  3  2  3 2 4 3 6 5  y  sin x 0 2 1 2 2 x  6 7 4 5 3 4 2 3 3 5 4 7 6 11  2 x y sin 0 2 1  2 2  จากกราฟจะเห็นว่า เรนจ์ของฟังก์ชันไซน์คือ เซตของจา นวนจริงตั้งแต่ -1 ถึง 1 ดังนั้น 1 sin 1    x และ ค่าของ x sin เมื่อ    2 , 0  x มีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงดังนี้     2 0 ,  จะเห็นว่า x sin เพิ่มขึ้นจาก 0 ไป 1         , 2 จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 1 ไป 0     2 3 ,   จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 0 ไป -1       , 2 2 3 จะเห็นว่า x sin เพิ่มขึ้นจาก -1 ไป 0 Y X  0 2  2 3 2 1  1
  • 19. 19 จาก   x x n sin 2 sin    เมื่อ In ทาให้กราฟของฟังก์ชันไซน์มีลกษณะซ้ากันเป็นช่วงๆ ดังนี้ จากกราฟจะเห็นว่า โดเมนของฟังก์ชันไซน์คือ เซตของจานวนจริง และเรนจ์คือ 1,1 ในทานองเดียวกันกับการเขียนกราฟของ x y cos  เมื่อ 20x ดังนี้ เนื่องจากฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันเป็น ฟัก์ชันที่เป็นคาบ (periodic function) ซึ่งสามารถ แบ่งกราฟแต่ละช่วงย่อยมีลักษณะเหมือนกัน โดยความยาวของช่วงย่อยที่สั้นที่สุดที่มีสมบัติดังกล่าว เรียกว่า คาบ (period) ของฟังก์ชัน เช่น กราฟของ x y sin และ x y cos  ในช่วง   0, 2 ในช่วง   2, 0 ในช่วง   4, 2 ฯลฯ เป็นช่วงที่สั้นที่สุดที่ทาให้กราฟแต่ละช่วงเหล่านั้นมีลักษณะ เหมือนกัน ดังนั้นคาบของ y  sin x และ y  cos x เท่ากับ 2 ฟังก์ชันที่เป็นคาบซึ่งมีค่าต่า สุดและสูงสุด จะเรียกค่าที่เท่ากับครึ่งหนึ่งของค่า สูงสุดลบด้วยค่าต่า สุดของฟังก์ชันนั้นว่า แอมพลิจูด (Amplitude) ดงันั้นฟังก์ชัน y  sin x และ y  cos x มีแอมพลิจูดเท่ากับ 1 0 1 1  Y X  2 2    2  2 3 2 3  2   0 1 Y X  2 2    2  2 3 2 3  2   1 
  • 20. 20 ตัวอย่าง 23 จงเขียนกราฟ x y sin3 เมื่อ 20x ตัวอย่าง 24 จงเขียนกราฟ x y sin เมื่อ 20x ตัวอย่าง 25 จงเขียนกราฟ y  2cosx เมื่อ 0  x  2 ตัวอย่าง 26 จงเขียนกราฟ y  sin2x เมื่อ 0  x  2
  • 21. 21 ตัวอย่าง 27 จงเขียนกราฟ x y 2sin3 เมื่อ 20x ตัวอย่าง 28 จงเขียนกราฟ 2 sin 3 x y  เมื่อ 4 0   x สรุปกรณีทั่วไปดังนี้ f x  k sinnx ,n,k  0 f x k cosnx ,n,k  0 คาบเท่ากับ n 2 คาบเท่ากับ n 2 แอมพลิจูดเท่ากับ k แอมพลิจูดเท่ากับ k เรนจ์เท่ากับ  k , k เรนจ์เท่ากับ  k , k
  • 22. 22 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างของจานวนจริงหรือมุม สิ่งแรกจะพิจารณาคือ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ของผลต่างระหว่างจานวนจริงสองจานวนหรือ มุมสองมุม นั่นคือพิจารณาค่าของ   B A  cos เมื่อ B A, เป็นจานวนจริงหรือมุมใดๆ ดังนี้ จากวงกลม 1 หน่วย กาหนดให้ส่วนโค้ง 1PP ยาว A หน่วย และส่วนโค้ง 2PP ยาว B หน่วย จะได้ส่วนโค้ง 2 1P P ยาว B A  หน่วย ให้ 3P เป็นจุดบนวงกลม 1 หน่วยที่ทาให้ความยาวส่วนโค้ง 3PP เท่ากับส่วนโค้ง 2 1PP ดังนั้นจะได้ส่วนโค้ง 3PP ยาว B A  หน่วยด้วย ดังรูป ทาให้คอร์ด 3PP เท่ากับคอร์ด 2 1 P P นั่นคือ 3 1 2 PP  PP        2 2 1 2 2 1 2 3 2 3 x 1  y  0  x  x  y  y        2 2 1 2 2 1 2 3 2 3 x 1  y  0  x  x  y  y 2 2 1 1 2 2 2 2 1 1 2 2 2 3 3 2 3 x  2x 1 y  x  2x x  x  y  2y y  y      2  2 2 2 2 1 2 2 1 2 1 1 2 3 2 3 3  2x 1 x  y  2x x  2y y  x  y  x  y 2 1 1 2 2 1 1 3 2 1 2 1  x     x x  y y   3 2 1 2 1  2x  2x x  2y y 3 2 1 2 1 x  x x  y y ...........1 เนื่องจาก จุด     1 1 2 2 x , y , x , y และ   3 3 x , y เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว A,B และ A B ตามลา ดับ ดังนั้นจะได้ x cosA , y  sin A , x cosB , y  sinB , x  cosA B 1 1 2 2 3 แทนในสมการ 1 ได้ cosA B cosAcosB sin Asin B และสามารถนา cosA Bไปหาฟังก์ชัน cosA B ,sinA B,sinA B ดังนี้ 0   0, 1 P   1 1 1 , y x P   2 2 2 , y x P   3 3 3 , y x P
  • 23. 23 cosA B cosA B  cosAcos Bsin Asin B  cosAcosB sin AsinB ดังนั้น cosA B cosAcosB sin Asin B ตัวอย่าง 29 จงแสดงว่า A sin A 2 cos        และสามารถสรุปได้ดังนี้ cosA B cosAcosB  sin Asin B sinA B sin AcosB  cosAsin B   A B A B A B 1 tan tan tan tan tan       B A A B A B cot cot cot cot 1 cot     ตัวอย่าง 30 จงแสดงว่า 4 6 2 4 3 3 cos            ตัวอย่าง 31 จงแสดงว่า 2 1 18 sin 9 cos 18 cos 9 sin      
  • 24. 24 ตัวอย่าง 32 จงหา ค่า 12 11 ,sin 75 , tan15 , tan 12 7 cos15 ,cos      ตัวอย่าง 33 จงแสดงว่า A cot A 2 tan          
  • 25. 25 ตัวอย่าง 34 จงแสดงว่า A B A B A B 2 2 cos  cos   cos sin ตัวอย่าง 35 จงหาค่าของ       C A C A B C B C A B A B cos cos sin cos cos sin cos cos sin      ตัวอย่าง 36 จงหาค่าของ ก.     sin17 cos13 cos17 sin13 ข.     cos43 cos17 sin43 sin17 ค. 36 17 cos 36 11 sin 36 11 cos 36 17 sin      ตัวอย่าง 37 ถ้า 5 2 ,sin 5 4 ,sin 2 3 , 2  A  B  A  B       แล้ว   cos s A B มีค่าเท่าใด
  • 26. 26 ตัวอย่าง 38 กา หนดให้ 2 0 , 5 3 sin  x   x  และ   2 3 , 13 5 sin  x  y     x  y  จงหาค่าของ ysin และ   y x tan ตัวอย่าง 39 ถ้า  A B  45 จงหาค่า 1 tan A1 tanB ตัวอย่าง 40 จงแสดงว่า      tan56 cos11 sin11 cos11 sin11   
  • 27. 27 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของ มุม A 2 มุม 2 A และมุม A 3 เมื่อทราบค่าของ A sin หรือ A cos สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติซึ่งเป็นจา นวนสองเท่า หรือครึ่งเท่าหรือสามเท่าได้ ในที่นี้พิจารณาค่าของ sin2Aได้ดังนี้ sin 2A  sinA A sin Acos Acos Asin A  2sin Acos A ตัวอย่าง 41 จงแสดงว่า A A A 2 2 cos2  2cos 112sin ตัวอย่าง 42 จงแสดงว่า A A A 2 1 tan 2tan tan2   ตัวอย่าง 43 จงแสดงว่า 2 1 cos 2 sin A  A   ตัวอย่าง 44 จงแสดงว่า A A A 2 1 tan 2tan sin 2  
  • 28. 28 ในทานองเดียวกันสามารถหาค่าของ A3sin ในรูป Asin ได้ดังนี้ sin 3A  sin2A A  sin 2Acos Acos2Asin A 2sin Acos Acos A 1 2sin Asin A 2    A A A A 2 3  2sin cos sin 2sin A A A A 2 3  2sin 1sin sin 2sin A A A A 3 3  2sin 2sin sin 2sin A A 3 sin 4 sin 3   ดังนั้น A A A 3 sin3  3sin 4sin ตัวอย่าง 45 จงแสดงว่า cos3A 4cos A 3cosA 3   และสามารถสรุปฟังก์ชันตรีโกณมิติที่สา คัญได้ดังนี้ A A A A A 2 1 tan 2tan sin 2 2sin cos    A A A A A A A 2 2 2 2 2 2 1 tan 1 tan cos2 cos sin 2cos 1 1 2sin          A A A 2 1 tan 2tan tan2   2 1 cos2 cos2 A A   2 1 cos2 sin2 A A   A A A 3 sin3 3sin 4sin cos3A 4cos A 3cosA 3   A A A A 2 3 1 3tan 3tan tan tan3   
  • 29. 29 ตัวอย่าง 47 จงหาค่า 2cos และ 2tan ถ้า        2 , 5 4 sin ตัวอย่าง 48 จงแสดงว่า      tan 2cos cos sin 2sin 3 3    ตัวอย่าง 49 จงแสดงว่า A A A tan 1 cos2 sin2   ตัวอย่าง 50 จงแสดงว่า    1 sin 2 cos 2 sin 2       
  • 30. 30 ตัวอย่าง 51 จงแสดงว่า 2 2 2 cos22.5    ตัวอย่าง 52 จงหาค่าของ   10 cos 3 10 sin 1  ตัวอย่าง 53 จงแสดงว่า 2 cos cos3 sin sin3   A A A A ตัวอย่าง 54 จงหาค่าของ       sin sin sin3 cos cos cos3 3 3   
  • 31. 31 สูตรผลคูณเป็นผลบวกหรือผลต่าง จากค่าของ sinA B,sinA B,cosA B,cosA B เมื่อนา มาบวกหรือลบกันจะ ได้ความสัมพันธ์ที่สา คัญดังนี้ จาก cosA B cosAcosB sin Asin B ..........1 cosA B  cos AcosBsin Asin B ..........2    ; 21     B A B A B A cos cos 2 cos cos        ; 21     B A B A B A sin sin 2 cos cos     จาก sinA B sin AcosBcos Asin B ..........3 sinA B sin AcosBcos Asin B ..........4    ; 43     B A B A B A cos sin 2 sin sin        ; 43     B A B A B A sin cos 2 sin sin     ดังนั้นสรุปได้ว่า 2cosAcosB  cosA B cosA B 2sin Asin B  cosA BcosA B 2sin AcosB  sinA BsinA B 2cos Asin B  sinA BsinA B วิธีจา ง่าย ๆ 2coscos  cosDiff cosSum 2sin sin  cosDiff cosSum 2sin cos  sinSumsinDiff  2cossin  sinSumsinDiff  เช่น 2cos7 cos5  cos7 5 cos7 5   cos2 cos12                        sin 4 sin 2 2 1 sin 3 sin 3 2 1 sin3 cos ตัวอย่าง 55 จงหาค่าของ    2sin40 sin10 cos50
  • 32. 32 ตัวอย่าง 56 จงหาค่าของ    cos20 2sin20 sin40 ตัวอย่าง 57 จงหาค่าของ    cos20 cos40 cos80 ตัวอย่าง 58 จงหาค่าของ    sin20 sin40 sin80
  • 33. 33 สูตรผลบวกหรือผลต่างให้เป็นผลคูณ จากสูตรผลคูณเป็นผลบวกหรือผลต่าง สามารถนา มาหาความสัมพันธ์จากผลบวกหรือผลต่าง ให้เป็นผลคูณได้ดังนี้ จาก     y x y x y x cos sin 2 sin sin       1.......... ให้ x  y  A ..........2 x  y  B ..........3    ; 3 2  2 2 A B x A B x         ; 3 2  2 2 A B y A B y      แทนใน 1; 2 cos 2 sin sin 2sin A B A B A B     ดังนั้นสรุปได้ว่า 2 cos 2 sin sin 2sin A B A B A B     2 sin 2 sin sin 2cos A B A B A B     2 cos 2 cos cos 2cos A B A B A B     2 sin 2 cos cos 2sin A B A B A B      วิธีจา ง่าย ๆ sin Asin B  2sinhalf sumcoshalf diff  sin Asin B  2coshalf sumsinhalf diff  cos AcosB  2coshalf sumcoshalf diff  cos AcosB  2sinhalf sumsinhalf diff  เช่น         2sin6 cos2 2 8 4 cos 2 8 4 sin8 sin 4 2sin              2cos5 cos2 2 7 3 cos 2 7 3 cos7 cos3 2cos      ตัวอย่าง 59 จงแสดงว่า 2 6 sin 75 sin15   
  • 34. 34 ตัวอย่าง 60 จงแสดงว่า      tan15 cos80 cos50 sin80 sin50    ตัวอย่าง 61 จงหาค่าของ    cos20 cos100 cos140 ตัวอย่าง 62 จงหาค่าของ A   A   A   cos cos 60 cos 60 2 2 2
  • 35. 35 ตัวอย่าง 63 จงแสดงว่า 2 3 cos cos 2 1 cos cos2 cos3 4cos A A A  A A A  ถ้า  A BC 180 จงแสดงว่า sin2Asin2B sin2C  4sin AsinBsinC จาก  A BC 180 จะได้ 2A 2B 2C  360 2C  360 2A B   sin2Asin2Bsin2C  sin2Asin2Bsin360 2A B   sin 2Asin 2Bsin 2A B  2sinA BcosA B2sinA BcosA B  2sinA BcosA BcosA B  2sin AcosBcos Asin Bcos AcosBsin Asin Bcos AcosBsin Asin B  2sin AcosB 2cos Asin B2sin Asin B A B B A A B 2 2  4sin sin cos 4sin cos sin  4sin Asin Bsin AcosBcos Asin B  4sin Asin BsinA B  A B  C  4sin sin sin 180  4sin Asin BsinC
  • 36. 36 ตัวอย่าง 64 ถ้า  180    C B A จงแสดงว่า 2 cos 2 cos 2 sin sin sin 4cos A B C A B  C  ตัวอย่าง 65 ถ้า  A BC 180 จงแสดงว่า tanA tanB  tanC  tanAtanBtanC
  • 37. 37 อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ พิจารณากราฟของ x y sin โดยที่ 11, y Rx และกราฟอินเวอร์สฟังก์ชันไซน์ซึ่ง เป็นความสัมพันธ์     y x y x sin,  ดังนี้ พิจารณา 0,0, 0, , 0,  จากx, y x  sin y จึงไม่เป็นฟังก์ชัน แต่ถ้ากา หนด โดเมนของฟังก์ชันไซน์ใหม่เป็น          2 2   x x ทา ให้x, y x  sin y เป็นฟังก์ชันดังนี้             2 2 , sin ,   x y y x x เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ซึ่งมีฟังก์ชันอินเวอร์สเป็น             2 2 , sin ,   x y x y y เรียกฟังก์ชันอินเวอร์สนี้ว่า arcsine เขียนได้เป็น                          2 2 , arcsin , 2 2 , sin ,     x y x y y x y y x y จะเห็นว่า โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน arcsine คือ 1 , 1และ      2 , 2   ตามลา ดับ การหาฟังก์ชันอินเวอร์สดังกล่าวนอกจากใช้กราฟแล้ว สามารถใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้นๆ ดังนี้ การหาค่าของ arcsinx คือ การหา  ที่ อยู่ในเรนจ์คือ      2 , 2   ที่ทา ให้ sin  x เช่น ต้องการหาค่าของ arcsin1 ได้ดังนี้ กา หนดให้ arcsin1 sin 1 จะพบว่าในช่วง      2 , 2   จะมี 2    ค่าเดียวที่ทา ให้ sin 1 ดังนั้น 2 arcsin1   0 Y X  2 2   2  2 3 2 3  2   2   2    y x sin x y sin
  • 38. 38 ตัวอย่าง 66 จงหาค่าของ         2 3 arcsin และ        2 1 arcsin ในทา นองเดียวกันจะได้ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติต่างๆ สรุปได้ดังนี้ ฟังก์ชัน arcsine คือ เซตของคู่ลาดับ yx, โดยที่ y x sin และ 2 2      y               2 2 , arcsin , 1   f x y y x y ฟังก์ชัน arccosine คือ เซตของคู่ลา ดับ x, yโดยที่ x  cos y และ 0  y          f x, y y arccosx,0 y 1 ฟังก์ชัน arctangent คือ เซตของคู่ลาดับ   y x, โดยที่ tanx และ 2 2     y                2 2 , arctan , 1   f x y y x y โดเมนและเรนจ์ของอินเวอร์สฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 f 1 r D 1 r R y  arcsinx y  arccosx y  arctanx y  arccot x y  arcsec x y  arccosecx   1, 1 1,1 R R ,11, ,11,        2 , 2   0,         2 , 2   0,                  , 2 2 0,            2 ,0 0, 2  
  • 39. 39 วิธีจาง่ายๆ ของเรนจ์ , arcsinx y  x y arccos  และ x y arctan จากiรูปวงกลม 1 หน่วยดังนี้ 1. ครึ่งวงกลมด้านขวา ช่วงปิด      2 , 2   เป็นค่าของเรนจ์ y  arcsinx 2. ครึ่งวงกลมด้านขวา ช่วงเปิด        2 , 2  เป็นค่าของเรนจ์ x y arctan  3. ครึ่งวงกลมด้านบน ช่วงปิด       , 0 เป็นค่าของเรนจ์ x y arccos  ตัวอย่าง 67 จงหาค่าของ 1. 2 2 arcsin 2. 2 3 arccos 3. 1arctan 4.   1 arctan  5.        2 1 arccos 6.       4 arcsin cos  7.       3 arcsin sin  8.               6 tan arcsin cos  9.                3 1 arctan 2 1 arcsin1 arcsin 10.               3 17 arctan cot  2   2   0 x y arctan x y arcsin x y arccos 
  • 40. 40 บางกรณีนอกจากการหาค่าตรีโกณมิตินั้นๆ แล้ว อาจต้องอาศัยฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นที่ เกี่ยวข้องด้วย หรือใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากก็ได้ แต่ต้องพิจารณาเรนจ์ของอินเวอร์สฟังก์ชันด้วย เช่น หาค่าของ              3 1 cos arcsin ได้ดังนี้ กา หนดให้ 3 1 sin 3 1 arcsin              โดยที่         2 , 2    เนื่องจาก 0 3 1 sin ดังนั้นจะได้        ,0 2   (ควอดรันต์ที่ 4) จะได้ cos 3 1 arcsin cos                จาก         0, 2   จะได้ค่าของ 0 cos   หรือในควอดรันต์ที่ 4 ได้ cos เป็นบวก หาค่า  cos โดยใช้สูตรหรือรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อทราบค่า 3 1 sin    ในที่นี้เพื่อความสะดวกใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังนี้ จากรูป 3 2 2 cos   โดยที่cos เป็นบวก ดังนั้น 3 2 2 3 1 arcsin cos                 ตัวอย่าง 68 จงหาค่าของ 1.        5 3 arccos 13 5 cos arcsin 2.                5 3 arcsin 5 3 sin arccos  1 3 8  2 2
  • 41. 41 ตัวอย่าง 69 จงหาค่าของ 1.        2 1 arctan 3 2 tan arctan 2.                  5 1 tan 2arcsin 3. sinarctan2 arcsec 10 ตัวอย่าง 70 จงแสดงว่า 13 2 12 arcsin 13 5 arcsin   
  • 42. 42 สมการตรีโกณมิติ การแก้สมการตรีโกณมิติ คือ การหาค่าตัวแปรของสมการโดยอาศัยความรู้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งคา ตอบของตัวแปร แยกได้ดังนี้ 1. คา ตอบแบบมีขอบเขตหรือช่วงของค่ามุม 2. คา ตอบแบบหาค่ามุมทั่วไป หรือในกรณีไม่ได้กา หนดขอบเขตหรือช่วงของค่ามุม ถ้า  เป็นมุมที่เล็กที่สุดในการแก้สมการ 1 รอบแรกตามทิศทวนเข็มนาฬิกา และ I n  คา ตอบของสมการอาจเขียนได้ดังนี้ 1. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน sin, cosec  ทั่วไป =    n n 1   2. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน cos, sec  ทั่วไป = n2 3. ถ้าคา ตอบมาจากมุมที่อยู่ในรูปฟังก์ชัน tan, cot  ทั่วไป = n ตัวอย่าง 71 จงแก้สมการ 4sin 3 0 2    เมื่อ 0   2 ตัวอย่าง 72 จงแก้สมการ 2cos 3cos 0 2     เมื่อ 0   2
  • 43. 43 ตัวอย่าง 73 จงแก้สมการ sin cos 5 0 2      เมื่อ 20 ตัวอย่าง 74 จงแก้สมการ 0 2 cos sec 3      เมื่อ 20 ตัวอย่าง 75 จงแก้สมการ 2sin 3cos 3 2     เมื่อ 0   2 ตัวอย่าง 76 จงแก้สมการ 1 2 cos2 2cos2     เมื่อ 0   2
  • 44. 44 ตัวอย่าง 77 จงแก้สมการ   cos 2 sin  เมื่อ   2 0   ตัวอย่าง 78 จงแก้สมการ 2cos 2cos2 1 2     เมื่อ 20 ตัวอย่าง 79 จงหาค่ามุมทั่วไปของ cos2 3sin  2 ตัวอย่าง 80 จงแก้สมการ    2cos  sin 30
  • 45. 45 กฎของโคไซน์ (Law of cosine) จากฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชันของจา นวนจริงหรือมุม สมบัติของฟังก์ชันเหล่านี้อาจ นา มาใช้หาความยาวของด้านและขนาดของมุมรูปสามเหลี่ยมใดๆ ได้ดังนี้ กาหนดให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ c b a , , เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่งตรงกัน ข้ามกับมุม CBA, , ตามลาดับ จะได้ว่า C b a A c B จงแสดงว่า a b c 2bccosA 2 2 2    ให้ มุม A ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน ดังรูป CbcosA,bsin A b a   0, 0A c D   0, c B จากรูปจะได้    2 2 a  BC  bcosAc  bsin A0 a b A c b A 2 2 2 2  cos   sin b A bc A c b A 2 2 2 2 2  cos 2 cos   sin b cos A sin A c 2bccos A 2 2 2 2     b c 2bccosA 2 2    ในทา นองเดียวกัน สรุปได้ กฎของโคไซน์ ดังนี้ กฎของโคไซน์ a b c 2bccosA 2 2 2    b a c 2accosB 2 2 2    c a b 2abcosC 2 2 2    หลักควรจา การหาความยาวของด้าน จะต้องทราบความยาวด้านอีก 2 ด้าน และมุมระหว่างด้านทั้งสองนั้น
  • 46. 46 และจะได้ว่า , 2 cos 2 2 2 bc b c a A    , 2 cos 2 2 2 ac a c b B    ab a b c C 2 cos 2 2 2    หลักควรจา การหามุม จะต้องทราบความยาวด้านทั้ง 3 ด้านของรูปสามเหลี่ยม ตัวอย่าง 81 กา หนด  120 , 3 2 , 2    C c a จงหาความยาวด้าน b ตัวอย่าง 82 กา หนด  60 , 1 3 , 2     C b a จงหา c ตัวอย่าง 83 กาหนด 13 , 7 , 15    c b a จงหาขนาดของมุม C
  • 47. 47 ตัวอย่าง 84 กา หนด c  60 ,a  2,c  6  จงหาขนาดของมุม B ตัวอย่าง 85 รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานรูปหนึ่ง มีขนาดของมุมๆ หนึ่งเท่ากับ  60 และด้านที่ประกอบมุม นี้ยาว 5 และ 10 เซนติเมตร จงหาความยาวของเส้นทแยงมุมทั้งสองของรูปสี่เหลี่ยมนี้   35, 75 ตัวอย่าง 86 รูปสามเหลี่ยม ABC ให้ c ba, , เป็นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่งอยู่ตรงกันข้าม กับมุม CBA, , ตามลาดับ ถ้า    bc a c b c b a 3      แล้ว จงหาขนาดของมุม A
  • 48. 48 กฎของไซน์ (Law of sine) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ cba,, เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่งตรงกัน ข้ามกับมุม CBA, , ตามลาดับ จงแสดงว่า พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆ Abcsin 2 1  ให้ มุม A ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน ดังรูป   AbAbCsin, cos b a   0, 0A c D   0, c B พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  2 1 ความสูง ความยาวของฐาน    c Absin 2 1  bcsin A 2 1  ในทานองเดียวกัน ให้ มุม B และมุม C ของรูป ABC อยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน จะได้ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ca B absinC 2 1 sin 2 1   สรุปพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆดังนี้ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC bc A ca B absinC 2 1 sin 2 1 sin 2 1    หลักควรจา การหาพื้นที่ทราบความยาวด้าน 2 ด้านและมุมระหว่างด้านทั้งสองนั้น จาก พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC bc A ca B absinC 2 1 sin 2 1 sin 2 1    เมื่อ นา abc 2 1 หารตลอดจะได้ กฎของไซน์ ดังนี้ abc ab C abc ca B abc bc A 2 1 sin 2 1 2 1 sin 2 1 2 1 sin 2 1   กฎของไซน์ c C b B a sin A sin sin   หรือ C c B b A a sin sin sin  
  • 49. 49 ตัวอย่าง 87 รูปสามเหลี่ยม ABC ให้มุม B  45 ,b  2 2, c  2 3  จงหาขนาดของมุมที่เหลือ ตัวอย่าง 88 ในสามเหลี่ยม ABC ให้ cba,, เป็นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่งอยู่ตรงกันข้าม กับมุม CBA, , ตามลาดับ ถ้า ba2 และ BA3 แล้ว จงหาขนาดของมุมทั้งสามของ สามเหลี่ยนรูปนี้ หมายเหตุ กาหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ c ba, , เป็นด้านของสามเหลี่ยมซึ่ง ตรงกันข้ามกับมุม A,B,C ตามลา ดับ จะได้สูตรอื่นๆ ดังนี้ ถ้า 2 a b c s    แล้ว ss as bs c bc A     2 sin ss as bs c ac B     2 sin ss as bs c ab C     2 sin และจะได้ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  ss  as bs c
  • 50. 50 การหาระยะทางและความสูง เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ เพื่อหาระยะทางและความสูงได้ ตัวอย่าง 89 สมจิตยืนอยู่บนสนามแห่งหนึ่งมองเห็นยอดเสาธงเป็นมุมเงย 15 องศา แต่เมื่อตรงเข้าไป หาเสาธงอีก 60 เมตร เขามองเห็นยอดเสาธงเป็นมุมเงย 75 องศา ถ้าสมจิตสูง 150 เซนติเมตร จงหา ความสูงของเสาธง กาหนดให้ 732 . 1 3    82. 18 ตัวอย่าง 90 รุ่งเรืองยืนอยู่บนดาดฟ้าของตึกชมวิว 15 ชั้นหลังหนึ่ง เขามองเห็นป้อมยามทางทิศ ตะวันออกของตึกชมวิวเป็นมุมก้ม 60 องศา และมองเห็นรถบรรทุกน้า มันคันหนึ่งจอดอยู่ทางทิศใต้ ของป้อมยามนั้นเป็นมุมก้ม 30 องศา อยากทราบว่ารถบรรทุกน้า มันคันนั้นอยู่ห่างจากป้อมยามเท่าไร ถ้าตึกชมวิวหนึ่งมีความสูงชั้นละ 4 เมตร
  • 51. 51 แนวข้อสอบเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีฐาน AB ยาว 6 หน่วย มุมCBAเท่ากับ 30 องศา และพื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 6 ตารางหน่วย แล้วด้าน BC ยาวเท่ากับข้อใด 1. 5.2 2. 0.3 3. 5.3 4. 0.4 2. กาหนดให้ ABCเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมุม ABCเป็นมุมฉาก และมุม CABกาง  60 ถ้าผลบวกของความยาวของด้าน AB กับ AC เท่ากับ 6 หน่วยแล้ว ด้าน CB จะยาวเท่ากับข้อใด 1.   126 2. 2 3. 22 4. 3 2 3. ถ้าสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ABCมีมุม C กาง 120 องศา ด้าน AC=BC ดังรูป ถ้าลากเส้นตรงจากจุด A มาตั้งฉากกับด้าน BC ที่ต่อออกไปที่จุด D และ AD ยาว 3 หน่วย จงหาความยาวเส้นรอบรูป สามเหลี่ยม ABC A C B 1. 3 3 2 3  2. 3 3 6  3. 3 4 2 3  4. 3 4 6  4. จงหาค่าของ              cos10 cos30 sin10 sin30 1. -2 2. -1 3. 2 4. 1 5. ถ้า 3 5 cos Asin A  แล้ว sin2Aเท่ากับข้อใด 1. 9 4 2. 13 4 3. 13 9 4. 9 13 6. กา หนด 5 4 ,cos 5 3 sin A  B  เมื่อ 2 0 ,   A B  จงหาค่าของ cosA B 1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 7. sinA BsinA B มีค่าตรงกับข้อใด 1. A 2 sin 2. B 2 sin 3. A B 2 2 sin sin 4. A B 2 2 sin sin 8. กา หนด   2 1 , tan 4 3 tan     จงหาค่าของ tan 1. 11 2 2. 11 3 3. 5 2 4. 5 3  120
  • 52. 52 9. จงหาค่าของ     tan30  tan15  tan30 tan15 1. -2 2. -1 3. 0 4. 1 10. จงหาค่าของ      2 cos21 cos51 cos69 cos39   1. 3 2. 3 2 3. 2 1  4. 2 1 11. ถ้า 7 1 tan A  และ 10 1 sin  B เมื่อ B A, เป็นมุมแหลมแล้ว   B A 2 tan  เท่ากับข้อใด 1. 1 2. 2 3. 3 1 4. 2 3 12. ห้     10 3 4 3 ,cos 10 3 4 3 cos     A B  A B จงหาค่าของ sin 2Asin 2B 1. 25 3 6 2. 25 3 12 3. 25 3 6  4. 25 3 12  13. ข้อใดต่อไปนี้ผิด 1.    2 2 2 sec cot cot 1   2. 2 tan cos 1 cos 1 2       3.      2 cos 4 cos 4 sin                 4. 2 1 2 1 sin arcsin           14. ถ้า 4 3 cos A  แล้ว 2 5 sin 2 2sin A A เท่ากับข้อใด 1. 32 11 2. 16 11 3. 16 9 4. 12 9 15. จงหาค่าของ    cos10 cos110 cos130 1. 0 2. 2 1 3. 1 4. 2 16. ถ้า 3 1 tan   จงหา 4sin 1. 25 23 2. 25 24 3. 22 21 4. 23 22 17. A A A A sin5 sin3 cos5 cos3   มีค่าตรงกับข้อใด 1. ecA cos 2. A sec 3. A cot 4. A tan 18. A A A A A A cos cos3 cos5 sin sin3 sin5     มีค่าตรงกับข้อใด 1. cosec3A 2. sec3A 3. cot3A 4. tan3A 19.    8sin20 sin40 sin80 มีค่าตรงกับข้อใด 1. 3 1 2. 2 1 3. 2 4. 3
  • 53. 53 20.    sin70 sin50 sin10 8 1 มีค่าตรงกับข้อใด 1. 8 1 2. 16 1 3. 32 1 4. 64 1 21. จงหาค่าของ                           2 3 arcsin 2 1 2 3 cos arccos 1. 1  2. 2 1 3. 1 4. 2 22. จงหาค่าของ                    3 4 arctan 5 4 tan arccos 1. 17 6 2. 16 7 3. 7 16 4. 6 17 23. จงหาค่าของ 13 5 arccos 12 5 arctan  1. 6  2. 4  3. 3  4. 2  24. จงหาค่า  จากสมการ 0 cos 3 sin 2 2     เมื่อ   180 90   1.  90 2.  120 3.  135 4.  180 25. จงหาค่า  จากสมการ 3 sin 1 cos     เมื่อ  0   1. 3  2. 3 2 3. 4 3 4. 6 5 26. 12 cos 12 5 cos    มีค่าเท่ากับข้อใด 1. 2 3 2. 2 1 3. 2 6 4. 2 1 27. กาหนด 5 , 3 5 , 5    c b a จงหาขนาดของมุม B 1.  90 2.  120 3.  135 4.  160 28. กา หนด   b  6,B  60 ,C 15 จงหาความยาวด้าน c 1. 1 3  2. 1 3  3. 1 2  4. 1 2  29. กาหนด    ab c b a c b a 3      แล้ว จงหาขนาดของมุม C 1.  30 2.  45 3.  60 4.  90 30. ถ้า 5 sin 6 sin 7 sin A B C   แล้ว จงหาค่าของ cosC 1. 8 3 2. 5 3 3. 15 8 4. 7 5
  • 54. 54 31. กา หนดให้                 cos 2cos2 sin 1 tan sin A ผลบวกของสมาชิกในเซต Aเท่ากับข้อใด 1. 3 2 2. 3 5 3. 3 1  4. 3 5  32. ถ้า   x   sin15 sin55 และ   y   55 cos 15 cos แล้ว   xyy x 2 2   เท่ากับข้อใด 1.  20 cos 4 2 2.  20 cos 2 2 3.  40 cos 4 2 4.  40 cos 2 2 33.                            5 4 arccos 5 4 arcsin 2 1 tan 5 3 arccos 5 3 arcsin 2 1 sec มีค่าเท่ากับข้อใด 1. 2 2. 3 3. 2 1  4. 3 2  34. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม BAC = 45 มุม ACB = 60 และด้าน AC ยาว 20 นิ้ว แล้วพื้นที่ของ สามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 1 3 2 300  ตารางหน่วย 2. 1 3 3 300  ตารางหน่วย 3. 1 3 2 200  ตารางหน่วย 4. 1 3 3 200  ตารางหน่วย 35. รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้าน a, b และ c เป็นด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามลา ดับ ถ้า 4 1 cos  B และ    30      c b a c b a แล้ว ac มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 12 2. 20 3. 5 20 4. 3 40 36. จงหาค่าของ     3 1 sec 2arcsin 1. 1 2. 3 3. 3 1 4. 2 3 37. จงหาค่าของ      5 3 cos 2arcsin 1. 25 7 2. 25 8 3. 27 5 4. 27 8 38. จงหาค่าของ             2 4 3 arctan sin 1. 3 3 2. 6 6 3. 10 10 4. 12 12 39. เซตคา ตอบของสมการ     4 arctan1 arctan1   x   x  เป็นสับเซตของเซตในข้อใด 1.  4,0 2.  2,2 3. 3,1 4. 1,3
  • 55. 55 40.       12 11 tan  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 3 1 1   2. 3 1 3 1   3. 3 1 3 1   4. 3 1 3  41. ถ้า   x x f sin และ   x x x g arcsin 2 2 arcsin   แล้วค่าของ         3 1 gf  คือข้อใดต่อไปนี้ 1. 9 4 2.   8 1 9 2  3. 12 10 2 4  4.   10 2 7 27 2  42. กาหนดให้           24 7 x x f  เมื่อ - 3 < x  3 และ     x f x f 6 ทุก ๆ x R ถ้า   x A x g arcsin   โดยที่ A , 0 และ 5 2 cos  A แล้วค่าของ    5 1 f g   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 10 1 2. 5 1 3. 5 1 4. 10 1 43. ถ้า arctan x = arctan 4 1 - 2arctan 2 1 แล้ว sin (180  + arctan x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 17 5 13 2. 17 5 16 3. 2 4. 3 44. สามเหลี่ยม ABC มีด้าน a, b, c เป็นด้านตรงข้ามมุม A, B, C ซึ่งมีความยาวเป็น 3, 2.5, 1 หน่วย ตามลา ดับ ค่าของ b cos C + c cos B เท่ากับเท่าใด 1. 1 2. 3 3. 4 4. 5 45. ให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมดังรูป A 5 7 C 8 B ค่าของ 2 sin2 B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 28 3 2. 28 7 3. 28 12 4. 28 21
  • 56. 56 เฉลยแนวข้อสอบฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. ข้อ 4 2. ข้อ 4 3. ข้อ 4 4. ข้อ 3 5. ข้อ 1 6. ข้อ 2 7. ข้อ 3 8. ข้อ 1 9. ข้อ 4 10. ข้อ 1 11. ข้อ 1 12. ข้อ 2 13. ข้อ 4 14. ข้อ 2 15. ข้อ 1 16. ข้อ 2 17. ข้อ 3 18. ข้อ 4 19. ข้อ 4 20. ข้อ 4 21. ข้อ 1 22. ข้อ 4 23. ข้อ 4 24. ข้อ 2 25. ข้อ 2 26. ข้อ 3 27. ข้อ 2 28. ข้อ 1 29. ข้อ 3 30. ข้อ 4 31. ข้อ 3 32. ข้อ 1 33. ข้อ 3 34. ข้อ 4 35. ข้อ 1 36. ข้อ 2 37. ข้อ 1 38. ข้อ 3 39. ข้อ 2 40. ข้อ 2 41. ข้อ 4 42. ข้อ 1 43. ข้อ 1 44. ข้อ 2 45. ข้อ 1