SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
บทที่ 1
ระดับของภาษา
ภาษาไทยมีระดับของภาษาที่ต้องเลือกใช้ให้เหมาะ
สมกับแต่ละบุคคล และสถานการณ์ กล่าวเฉพาะการพูด
และการเขียนนั้นต้องพิถิพิถันในการใช้คำาเป็นอย่างมาก
สำาหรับบางกรณี คำาๆหนึ่งอาจใช้กับบุคคลคนหนึ่งได้ แต่
ไม่สามารถใช้กับบุคคลอีกคนหนึ่งได้ เช่น ขอบใจ ใช้
กล่าวกับคนที่อ่อนวัยกว่า และวัยเท่ากันได้ แต่ไม่เหมาะ
สมหากจะใช้กับบุคคลที่สูงวัยกว่า เป็นต้น
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องคำานึงถึงการ
ใช้ภาษาในระดับต่างๆ และต้องใช้ให้ถูกต้อง จึงจะถือได้
ว่า เป็นผู้ใช้ภาษาที่ดี
ระดับของภาษา
ภาษามี 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน
และภาษาแบบแผน
1. ภาษาปาก คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารกับบุคคลที่
สนิทคุ้นเคย เป็นกันเอง จึงไม่
จำาเป็นต้องใช้ให้ถูกต้องตามแบบแผนมากนัก ภาษาปาก
เหล่านี้ได้แก่ คำาพูดระหว่างบุคคลในชีวิตประจำาวัน คำาถิ่น
และคำาคะนอง เช่น
“เป็นไงบ้าง” มาจาก “เป็นอย่างไรบ้าง”
“กินข้าวยัง” มาจาก “กินข้าวหรือ
ยัง” “ทานข้าวหรือยัง”
1
“เป็นจะไดพ่อง” มาจาก “เป็นอย่างไรบ้าง”
(คำาถิ่นเหนือ)
“อย่ามาแอ๊บมึน” (คำาคะนอง) แปลว่า อย่าทำา
เป็นว่าไม่รู้เรื่อง
ส่วนคำาถิ่น และคำาคะนองนั้น ถือเป็นอีกตัวอย่าง
หนึ่งของระดับภาษาปาก เนื่องจากคำาเหล่านี้ไม่เป็นที่
ยอมรับว่าใช้เป็นตัวกลางมาตรฐานสำาหรับการสื่อสาร
เพราะอาจมีความหมายที่ต่างออกไป และยากแก่การ
เข้าใจ
กล่าวเฉพาะ ภาษาถิ่นในประเทศไทยนั้น
ประกอบด้วย ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้
ที่มีความแตกต่างทางด้านการใช้คำาเพื่อสื่อความหมาย
อย่างชัดเจน อย่างไรก็ดี ในบางพื้นที่ยังมีความแตกต่าง
ของการออกเสียง (สำาเนียง) ตลอดจนคำาลงท้ายด้วย
ส่วนคำาคะนอง (slang) ถือว่าเป็นคำาที่มีการ
เปลี่ยนแปลงเร็ว อาจเกิดขึ้น และมีการใช้ในคนกลุ่มหนึ่ง
เพียงช่วงระยะเวลาเดียว ก่อนจะหมดความนิยมลงไป
แต่คำาคะนองบางคำา หากมีการยอมรับและใช้กันในวง
กว้างก็อาจกลายเป็นคำาปกติที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไปได้
ภาษาปากมักใช้ในการติดต่อสื่อสาร การละเล่น
การโฆษณา การประกาศ
บทสนทนาในนวนิยาย จดหมายส่วนตัว เป็นต้น
2. ภาษากึ่งแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารกับ
บุคคลที่ไม่มีความสนิทสนม
2
กัน มีความแตกต่างทางชาติวุฒิ (กษัตริย์ พระราชวงศ์
และเชื้อพระวงศ์) วัยวุฒิ (ความแตกต่างทางอายุ) และ
คุณวุฒิ (ความแตกต่างทางด้านความรู้ ความสามารถ
หรือตำาแหน่งหน้าที่การงาน)
โอกาสในการใช้ภาษากึ่งแบบแผน เช่น การ
แนะนำาตัว หรือการสนทนากับบุคคลที่เพิ่งรู้จัก การ
ประชุม การใช้ภาษาในการสื่อสารมวลชน การเขียน
บทความ เป็นต้น
ตัวอย่างของการใช้ภาษากึ่งแบบแผน
“สวัสดีครับ ผมชื่อดนัย ยินดีที่ได้รู้จักครับ”
“ขอต้อนรับทุกท่านเข้าสู่รายการ เรื่องเล่าเช้านี้
ค่ะ”
“เศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2553 กำาลังดี
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง”
3. ภาษาแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้อย่างพิถีพิถัน
เพื่อให้เป็นหลักฐาน ใน
โอกาสพิเศษ พิธีการ หรืองานทางการทั่วไป เช่น การ
ปราศรัย การประชุมใหญ่
การกล่าวรายงาน จดหมายราชการ บันทึกทางราชการ
ตำารา แบบเรียน เป็นต้น
ตัวอย่างของการใช้ภาษาแบบแผน
“ธุรกิจระบบแฟรนไชส์ (franchise) คือ
กระบวนการทางธุรกิจซึ่งกลุ่มบุคคลได้พัฒนา วิธีการ อัน
3
ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าประสบความสำาเร็จในการประกอบ
การและการจัดการธุรกิจ ได้ถ่ายทอดสิทธิในการประกอบ
การธุรกิจรูปแบบดังกล่าวให้กับกลุ่มบุคคลอื่นภายใต้
ตราสินค้าหรือบริการ หรือเครื่องหมายการค้าอันหนึ่งอัน
ใด โดยกระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการทำาข้อตกลงทาง
กฎหมายระหว่างกลุ่มบุคคล 2 กลุ่มในข้างต้น”
หนังสือประกอบการอบรมหลักสูตร ผู้ขายแฟรนไชส์ขั้นต้น.
หน้า 24
การใช้ภาษาทั้งสามระดับนี้ หากผู้ใช้สามารถ
เลือกสรรได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล สถานที่ และโอกาส
แล้ว ย่อมได้รับการยอมรับจากผู้อื่นว่าเป็นผู้มีความรู้ความ
สามารถและเข้าใจถึงความเหมาะสมในการสื่อสารตาม
บริบทของสังคมไทย
แบบฝึกหัด
จงเรียงลำาดับคำาต่อไปนี้ให้ถูกต้องตามระดับภาษา
ปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาแบบแผน
1. กิน ทาน รับประทาน
_________________________
2. อ้วนท้วม สมบูรณ์
_________________________
3. รวย มีฐานะ รำ่ารวย
________________________
4
4. ยากจน จน ฐานะไม่ดี
_________________________
5. เยอะแยะ มากมาย มาก
_________________________
6. โกหก หลอก หลอกลวง
_________________________
7. ขี้โกง โกง คดโกง
_________________________
8. เซ็ง เบื่อ เบื่อหน่าย
_________________________
9. หนุก สนุก สนุกสนาน
_________________________
10. เจ๋ง เก่ง มีความสามารถ
_________________________
จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้ใช้ภาษาระดับใด
1. ทำาไมคุณไม่มางานวันเกิดฉัน
_________________________
2. การบ้านของน้องมีเยอะมากๆ
_________________________
3. ใครที่ทุจริตต้องได้รับโทษ
_________________________
4. บริษัทนี้จะเจ๊งแล้ว
_________________________
5. ประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงกว่าประเทศจีน
_________________________
5
6. คดีอาชญากรรมนั้นสะเทือนขวัญประชาชน
_________________________
7. เกิดแผ่นดินไหวในทะเลจีนใต้
_________________________
อ่านเรื่องที่กำาหนดมาให้แล้วตอบคำาถาม
ปิดเทอมฤดูหนาวแล้ว!
ในการประชุมครูนักเรียนทั้งโรงเรียน ขณะที่ผม
เดินขึ้นไปหน้าเวทีเพื่อรับเกียรติบัตรนักเรียนผู้สอบได้ที่
หนึ่งตลอดปี และรับปากกาหมึกซึมใหม่เอี่ยมจาก
อาจารย์ใหญ่เป็นรางวัล หัวใจที่พองโตแทบจะกระโดด
ออกมาถึงข้างนอก ผมอยากจะติดปีกบินไปให้ถึงหน้า
ประตูใหญ่โรงเรียนทันที เพื่อบอกแม่ว่า
“แม่จ๋า – ผมสอบได้ที่หนึ่งนะ ! นี่จะตรุษจีน
แล้ว แม่ต้องซื้อประทัดขดใหญ่ที่สุดให้ผมสองขดด้วย
นะ
แม่จะตอบว่าอย่างไรหนอ แม่จะตอบว่าอย่างไร
หนอ
ในที่สุดก็เลิกประชุม
ในที่สุดโรงเรียนก็เลิก!
ผมกับเพื่อนๆ วิ่งกันอย่างสนุกสนานจนถึงประตู
ใหญ่ด้านนอก แปลกจริง ทำาไมไม่ได้ยินเสียงที่คุ้นเคย
ของแม่ !
6
ที่ประตูโรงเรียนคนแน่นมาก อีกทั้งยังคึกคัก รถ
เก๋ง รถมอเตอร์ไซด์ส่งกลิ่นนำ้ามันออกมาชวนให้สำาลัก
ผมเขย่งเท้ามองหา ท่ามกลางฝูงคนที่จอแจ ไม่
เห็นแม่เลย ชะเง้อมองไปทางถนนใหญ่ที่มุ่งหน้าไปสู่
หมู่บ้านของเราก็ไม่เห็นเงาของแม่ !
ผมร้อนใจจนเหงื่อโชก
ประตูหน้าโรงเรียนไม่มีผู้คนเบียดเสียดกันแล้ว
“เฟินเถียน เฟินเถียนเอ้ย!”
ใครเรียกผมนะ
ผมหันหน้าไปมอง เป็นคุณอาเล็ก
เขาสวมเสื้อคลุมตัวใหญ่สีเหลือง นั่งยองๆ สูบ
บุหรี่อยู่ข้างกำาแพงโรงเรียน รถจักรยานจอดพิงอยู่
ข้างๆ
“อาเล็ก ทำาไมแม่มามารับผม”
ผมตะโกนถามเสียงดัง โยนกระเป๋าหนังสือไป
ข้างหลังเดินฮึดฮัดไม่พอใจไปทางเขา
อาเล็กโยนก้นบุหรี่ในมือทิ้ง ถูมือไปมาครู่หนึ่ง
ยืนขึ้นแล้วยื่นถุงแอปเปิ้ลให้ผมหนึ่งถุง หันไปเข็นรถ
จักรยาน พลางพูดด้วยนำ้าเสียงอึกอักว่า
“ติด ติดกระดุมเสื้อหนาวซะ!ดู ดู แกซิ วิ่งเสีย
จนเหงื่อท่วม ท่วม – ท่วมตัว ! เดี๋ยวจะเป็นหวัดเอา”
อาเล็กเป็นคนพูดติดอ่าง จะพูดอะไรต้องออกแรง
มาก ผมอยากหัวเราะ แต่ก็ไม่กล้า
7
“นั่ง นั่งดีๆ”
อาเล็กเริ่มปั่นจักรยาน
ผมก้าวขึ้นไปนั่งข้างหลัง หยิบแอปเปิ้ลผลใหญ่สี
แดงสดผลหนึ่งออกมาจากถุง พูดว่า
“อาเล็ก แอปเปิ้ลลูกใหญ่จัง ผมกินลูกหนึ่งนะ!”
“อย่ากิน”
ฮึ! ผมไม่พอใจเล็กน้อย
อาเล็กขี้งกจริงๆ อายุสามสิบกว่าแล้วยังไม่
แต่งงาน สมควรแล้ว ! วันทั้งวันเชือดแพะ ขายเนื้อ หา
แต่เงินลูกเดียว อยากแต่งสะใภ้ เงินก็เก็บได้ตั้งหลาย
พันแล้ว แค่แอปเปิ้ลผลเดียวยังให้ผมกินไม่ได้ ฮึ!ถ้า
เป็นแม่มารับนะ รับรองว่าต้องอนุญาตให้ผมกินตามใจ
ชอบ !
ผมโยนแอปเปิ้ลกลับเข้าถุงงอนๆ แล้วถามว่า
“ทำาไมแม่ไม่มารับผม”
อาเล็กไม่ตอบ เงยหน้ามองฟ้าครู่หนึ่ง พึมพำา
คล้ายพูดกับตัวเองว่า
“สง...สงสัยหิมะจะตก”
อาเล็กไม่พูดอะไรอีก ปั่นจักรยานเร็วจี๋
วันนี้มันเป็นอะไรกันแน่นะ
ผมก็เงยหน้ามองฟ้าด้วยคน
ไม่มีพระอาทิตย์ มีแต่ก้อนเมฆสีเหลืองๆ เป็น
ชั้นๆ ต่อกันเป็นแพใหญ่
8
เหยี่ยวตัวหนึ่งบินโฉบเฉี่ยวอยู่ใต้ชั้นเมฆ มันบิน
วนเป็นวงกลม วงแล้ว
วงเล่า เจ้าเหยี่ยวเป็นจุดสีดำาๆ อยู่กลางฟ้า ท้องฟ้ายาม
เย็นสีแสดผืนนั้น ถูกเจ้าเหยี่ยวแต่งแต้มจุดคล้ายกับ
เครื่องหมายปรัศนี
ทำาไมแม่ไม่มารับ
แม่ช่วยย่านึ่งขนมเข่งอยู่หรือ
แม่...?
แม่ผมอยากกินสับปะรด. หน้า 9 – 14
คำาศัพท์
1. ปิดเทอม (ก.) 放假
2. ฤดูหนาว (น.) 冬季
3. การประชุม (ก.) 会议
4. ขณะที่ (ส.) 在、、、之间
5. เวที (น.) 地点
6. เกียรติบัตร (น.) 证书
7. สอบได้ (ก.) 通过
8. ที่หนึ่ง (น.) 第一
9. ปากกาหมึกซึม (ก.) 水笔、炭素笔
10. ใหม่เอี่ยม (ว.) 崭新
9
11. อาจารย์ใหญ่ (น.) 校长
12. รางวัล (น.) 奖品
13. พองโต (ก.) 放大
14. ติดปีกบิน (ก.) 兴奋
15. หน้าประตู (บ.) 门口
16. ตรุษจีน (น.) 春节
17. ประทัด (น.) 鞭炮
18. ขด (น.) 串
19. เลิก (ก.) 下课、放学
20. สนุกสนาน (ว.) 好玩、心情舒畅
21. แปลก (ว.) 稀奇、古怪
22. ไม่ได้ยิน (ก.) 听不到
23. คุ้นเคย (ว.) 适应
24. คนแน่น (น.) 许多人、很多人
25. คึกคัก (ว.) 精神充沛
26. รถเก๋ง (น.) 小汽车
27. มอเตอร์ไซค์ (น.) 摩托车
10
28. สำาลัก (ก.) 呛
29. เขย่งเท้า(ก.) 垫脚
30. ท่ามกลาง (บ.) 在、、、之间
31. จอแจ (ว.) 喧哗
32. ชะเง้อ (ก.) 伸长脖子
33. ถนนใหญ่ (น.) 大路、高速路
34. มุ่งหน้าไปสู่ (ก.) 往前
35. หมู่บ้าน (น.) 家乡
36. เงา (น.) 影子
37. ร้อนใจ (ก.) 心急
38. เหงื่อ (น.) 汗水
39. เบียดเสียด (ว.) 拥挤
40. เรียก (ก.) 叫
41. หันหน้า (ก.) 回头
42. เสื้อคลุม (น.) 夹克
43. นั่งยองๆ (ก.) 蹲
44. สูบบุหรี่ (ก.) 抽烟
11
45. ข้างกำาแพง (บ.) 墙边
46. จอด (ก.) 停
47. ตะโกน (ก.) 叫、喊、嚎叫
48. เสียงดัง (น.) 大声
49. โยน (ก.) 丢
50. กระเป๋าหนังสือ (น.) 书包
51. ฮึดฮัด (ว.) 愤怒、生气
52. ก้นบุหรี่ (น.) 烟头
53. ยืนขึ้น (ก.) 站起来
54. ยื่น (ก.) 送
55. แอปเปิล (น.) 苹果
56. เข็นรถ (ก.) 推车
57. อึกอัก (ว.) 结结巴巴
58. ติดกระดุม (ก.) 扣纽扣
59. เสื้อหนาว (น.) 冬衣、毛衣
60. เป็นหวัด (ก.) 生病
61. ติดอ่าง (ก.) 结巴
12
62. หัวเราะ (ก.) 大笑
63. กล้า (ก.) 勇敢
64. ผล (น.) 结果
65. ขี้งก (ก.) 贪婪、小气
66. แต่งงาน (ก.) 结婚
67. เชือด (ก.) 砍
68. ขาย (ก.) 卖
69. หาแต่เงินลูกเดียว (ก.) 节约钱、只知道
赚钱
70. สะใภ้ (น.) 由婚姻而组成的
亲戚的
女人
71. รับรองว่า (ก.) 保证
72. อนุญาต (ก.) 允许
73. ตามใจชอบ (ว.) 随心所欲
74. เงยหน้า (ก.) 抬头
75. พระอาทิตย์ (น.) 太阳
13
76. ก้อนเมฆ (น.) 云
77. เป็นชั้นๆ (น.) 一层层
78. เป็นแพ (ว.) 一个接一个排成长
龙
79. เหยี่ยว (น.) 鹰
80. บินโฉบเฉี่ยว (ก.) 飞扑
81. บินวน (ก.) 飞成圈
82. แต่งแต้ม (ก.) 夸大
83. เครื่องหมายปรัศนี(น.) 问号
84. นึ่ง (ก.) 蒸
85. ขนมเข่ง (น.) 年糕
ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน
1. ตามปกติแล้ว ใครจะมารับเฟินเถียน
______________________
2. การเรียนของเฟินเถียนเป็นอย่างไร
______________________
3. รางวัลของเฟินเถียนคืออะไร
______________________
14
4. วันนี้ใครมารับเฟินเถียน
______________________
5. เฟินเถียนอยากกินอะไร
______________________
6. อาเล็กมีลักษณะการพูดอย่างไร
______________________
7. อากาศในวันนี้เป็นอย่างไร
______________________
8. ตัวอะไรอยู่บนท้องฟ้า
______________________
9. ระดับของภาษาในเรื่องนี้คืออะไร
______________________
10. เรื่องนี้เป็นวรรณกรรมประเภทใด
______________________
บทที่ 2
การใช้คำา ประโยค ย่อหน้า
ในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการพูด หรือการ
เขียน การพิถีพิถันเลือกสรรคำามาใช้ให้เหมาะสมกับ
15
ใจความถือเป็นเรื่องจำาเป็น โดยหลังจากที่ผู้เรียนทราบ
แล้วจะต้องใช้ภาษาระดับใดในการสื่อสาร ยังต้อง
พิจารณาว่า คำาที่อยู่ในภาษาระดับเดียวกันนั้นคำาใดควร
นำามาใช้ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบท
เนื่องจากในภาษาไทย คำาที่มีความหมายเหมือน
กันนั้นมีจำานวนมาก แต่จะใช้แตกต่างกันไปตาม
สถานการณ์ เช่น
คำาศัพท์ ความหมาย สถานการณ์
คน, ผู้คน, บุคคล
คน
การสนทนาทั่วไป
มนุษย์ บทความ หรือ
ศาสนา
ประชากร
ประชาชน
บทความ ข่าว
สังคม
มวลชน ชน
สาธารณชน
สังคมศาสตร์
รัฐศาสตร์
ราษฎร พสกนิกร เฉลิมพระเกียรติ
คำาที่หลากหลายแต่มีความหมายเหมือนกันเหล่า
นี้เรียกว่า คำาไวพจน์ ผู้ใช้ภาษาจะสามารถใช้คำาได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่อได้ศึกษาภาษามากพอจน
กระทั่งทราบได้ว่า คำาใดควรใช้ในบริบทใด ซึ่งการจะ
สร้างความคุ้นเคยกับภาษาต่างประเทศเหล่านี้ต้องอาศัย
ความขยัน หมั่นฝึกฝน ด้วยการอ่าน และฟังภาษาไทยให้
มาก ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ เรื่อง
สั้น นวนิยาย และการฟังวิทยุ หรือชมรายการโทรทัศน์ที่
ใช้ภาษาไทยเป็นสื่อในการถ่ายทอด
16
แบบฝึกหัด
จงหาความหมายรวมของคำาเหล่านี้
1. อ้วน ท้วม สมบูรณ์ เจ้าเนื้อ อวบ พ่วงพี
ตุ้ยนุ้ย
2. ซูบซีด บักโกรก เพรียว สะโอดสะอง
ผอม ขี้ก้าง
3. งาม งดงาม เช้ง ไฉไล สวย โสภา น่า
รัก โฉม เก๋ พริ้ง
4. พลัง กำาลัง เรี่ยวแรง กำาลัง นำ้าพักนำ้า
แรง
5. ทรวงอก อก หน้าอก นม เต้านม
6. อัธยาศัย สันดาน อุปนิสัย นิสัย ใจคอ
นิสัย
7. นำ้าใจ ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่
8. ใจดี มีเมตตา ปรารถนาดี
9. โหดเหี้ยม อำามหิต ใจร้าย ใจหยาบ ใจ
ยักษ์ โหดร้าย
10. เขลา ทึ่ม หัวขี้เลื่อย ขี้เท่อ โง่ เง่า เซ่อ
บ้องตื้น ปัญญาอ่อน
11. ความคิด ความอ่าน ดำาริ ความเห็น
ความคิดเห็น ทัศนคติ เจตคติ มติ
12. เชื่อถือ เชื่อฟัง เชื่อ ตายใจ
13. ข้องใจ สงสัย กังขา คลางแคลง สงกา
ใคร่รู้
17
14. เบาใจ สบายใจ เย็นใจ อุ่นใจ ใจชื้น
คลายใจ สะดวกใจ วางใจ
15. ยินดี เต็มใจ ไม่รังเกียจ กระตือรืนร้น
16. สุขใจ สำาราญ รื่นรมย์ เพลิดเพลิน
ดีใจ ปิติ ปลาบปลื้ม
17. ไม่ชอบ ไม่พอใจ รำาคาญ ฉุน เดือด
โกรธ เกิดโทสะ คั่งแค้น เจ็บร้อน
18. หดหู่ ห่อเหี่ยว อับอาย อัปยศ หน้าแตก
เสียหน้า อาย
19. ชัง รังเกียจ เกลียด เหม็นขี้หน้า หมั่น
ไส้ ขยะแขยง เขม่น
20. สงสาร เห็นใจ เวทนา สลดใจ สมเพช
เห็นอกเห็นใจ สะเทือนใจ
ประโยค
ประโยคในภาษาไทยมีความคล้ายคลึงกับ
ประโยคในภาษาอังกฤษ โดยหากแบ่งตามวัตถุประสงค์
ในการสื่อสารจะมี 3 แบบคือ
1. ประโยคบอกเล่า (Affirmative)
2. ประโยคปฏิเสธ (Negative)
3. ประโยคคำาถาม (Interrogative)
หากพิจารณาตามโครงสร้างของประโยค
(Structure of sentences)
มี 3 แบบ คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม และ
ประโยคความซ้อน
เมื่อเริ่มต้นพิจารณาเรื่องประโยค
18
ประโยคความเดียว (Simple sentence)
คือ ประโยคที่มีเพียงใจความเดียวอยู่ในประโยค
โครงสร้างของประโยคในภาษาไทยส่วนใหญ่
คือ ประธาน กริยา กรรม (Active voice) แต่บางส่วน
อาจเขียนในแบบเน้นกริยา คือ กริยา ประธาน ส่วนขยาย
หรือแบบเน้นกรรม คือ กรรม กริยา ประธาน (Passive
voice)
โครงสร้างแบบเน้นประธาน กริยา กรรม ได้แก่
แม่กินส้ม ประธาน กริยา กรรม
แม่ชอบกินส้มประธาน กลุ่มคำากริยา กรรม
โครงสร้างแบบเน้นกริยา ประธาน หรือกริยา
กรรม ได้แก่
เกิดแผ่นดินไหวในทะเลจีนใต้ กริยา
ประธาน ส่วนขยาย
ย่างสด นักเที่ยวซานติก้า กริยา
ประธาน ส่วนขยาย
โครงสร้างแบบเน้นกรรม กริยา (ประธาน)
(passive voice) ได้แก่
นักโทษคดียาเสพติดถูกจับกุมแล้ว
พนักงานถูกพักงาน
น้องถูกครูตี
ประโยคความรวม (Compound
sentence) คือ ประโยคที่มีสองใจความอิสระ
19
(dependent clause) มารวมอยู่ด้วยกัน โดยใช้คำา
สันธาน (conjunction) เชื่อมใจความในแบบต่างๆ เช่น
ความรวมแบบคล้อยตาม ใช้คำาว่า และ
ในการเชื่อมใจความ
เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของไทยยังคง
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
เขาเป็นทั้งนักร้องและนักดนตรี
ความรวมแบบขัดแย้ง ใช้คำาว่า แต่ ใน
การเชื่อมใจความ
การประชุมยังไม่จบ แต่นักการเมืองกลับไป
แล้ว
เขารวย แต่เขาไม่มีความสุข
ความรวมแบบให้เลือก ใช้คำาว่า หรือ
ในการเชื่อมใจความ
เธอจะไปตลาดหรือไปโรงเรียน
พ่อจะไปหรือไม่ไปธนาคาร
ความรวมแบบเป็นเหตุผล ใช้คำาว่า จึง
ดังนั้น ในการเชื่อมใจความ
เธอมีความสามารถมาก จึงได้รับเลือกเป็น
หัวหน้า
การเรียนมหาวิทยาลัยมีอิสระมากดังนั้นต้อง
ควบคุมตัวเองให้ดี
ประโยคความซ้อน (Complex Sentence)
คือ ประโยคที่มีสองใจความมารวมอยู่ด้วยกัน ในลักษณะ
20
ที่ใจความรอง (subordinate clause) ขยายคำา ใดคำา
หนึ่งในประโยคเพื่อให้ได้ใจความหลัก (main clause)
คำาที่ใช้ในการเชื่อมได้แก่
ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ หาก แม้ว่า เพราะ
แม่บอกว่า รถมาแล้ว
อาจารย์สั่งให้หัวหน้าห้องไปถ่ายเอกสาร
รถคันที่ฉันซื้อถูกขโมยแล้ว
การทำางานที่มีประสิทธิภาพต้องวางแผนอย่าง
เป็นระบบ
การปฏิวัติซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งในประเทศไทย
ทำาให้เศรษฐกิจหยุดชะงัก
ความรู้ในเรื่องประโยคจะเป็นประโยชน์ต่อผู้
เรียนในการทำาความเข้าใจเนื้อความที่มีขนาดยาว เพราะ
จะสามารถแยกเนื้อความออกเป็นส่วนๆ เพื่อหาความ
หมาย และวิเคราะห์ความได้ เช่น
ทำางานเต็มที่ เต็มเวลา
คนจำานวนหนึ่งหาเงินได้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น
เพราะรักความเป็นอยู่อย่างสมถะ พอกิน พอใช้ในชีวิต
ประจำาวัน แม้ว่าจะมีเวลาว่างจากการทำางานประจำาอยู่
บ้าง นอกเหนือจากงานประจำา จึงไม่เคยคิดจะทำาอะไร
เพิ่มเติม สาเหตุอาจเป็นเพราะเขาไม่ได้คิดว่า ความสมถะ
นั้นไม่สามารถลดไปสู่ระดับของความยากจนได้อย่าง
รวดเร็ว หากเกิดเหตุการณ์ที่ทำาให้ต้องใช้จ่ายเงินจำานวน
21
มาก หรือหากไม่สามารถทำางานได้และไม่มีเงินเก็บมาก
เพียงพอ จนทำาให้ต้องกู้เงินมาใช้จ่าย โดยไม่รู้ว่าจะ
สามารถผ่อนชำาระคืนได้อย่างไร หากยังทำางานใน
ลักษณะเดิม
ยาแก้จน. หน้า 5
คำาศัพท์
1. เต็มที่ (ว.)
2. สมถะ (ว.)
3. ชีวิตประจำาวัน (น.)
4. เวลาว่าง (น.)
5. เพิ่มเติม (ก.)
6. สาเหตุ (น.)
7. ลดระดับ (ก.)
8. ความยากจน (น.)
9. กู้เงิน (ก.)
10.ผ่อนชำาระคืน (ก.)
ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน
1. เหตุใดคนจำานวนหนึ่งจึงหาเงินได้น้อยกว่าที่
ควรจะเป็น
————————————————————
2. สาเหตุที่ทำาให้เกิดความยากจนคืออะไร
————————————————————
3. เรื่องนี้มีกี่ประโยค
————————————————————
ย่อหน้า (paragraph)
22
ย่อหน้า หมายถึง การขึ้นต้นใจความใหม่โดยย่น
ระยะเข้ามาจากขอบด้านซ้าย เพื่อให้ทราบว่าสิ่งที่จะ
กล่าวต่อจากนี้มีเนื้อหาที่ต่างออกไป แต่ยังเกี่ยวข้องกับ
ประเด็นโดยรวม
หลักการเขียนย่อหน้าอย่างง่ายคือ หนึ่งย่อหน้า
หนึ่งใจความ
ตัวอย่างของการย่อหน้าที่ดีเป็นดังนี้
การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytical
induction)
การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย คือ วิธีการสร้างข้อ
สรุปทั่วไปที่แสดงความจำานวนหนึ่งเป็นหลัก แล้วกล่า
วอ้างความจริงทั่วไปขึ้นจากความจริงเฉพาะของข้อมูล
ชุดดังกล่าว
วิธีการแบบอุปนัย คือ การหาลักษณะร่วมของรูป
ธรรมจำานวนหนึ่ง เพื่อทำาข้อสรุปว่ารูปธรรมเหล่านั้นมี
ลักษณะอะไร เช่น เมื่อบุคคลคนหนึ่งมองเห็นโต๊ะ เก้าอี้
เตียง ตู้เสื้อผ้า ชั้นหนังสือ บุคคลนั้นก็จะทำาข้อสรุปว่าสิ่งที่
ตนเห็นนั้นคือเครื่องเรือน เพราะสิ่งของเหล่านั้น เป็น
สิ่งของที่มีไว้ในบ้านเพื่อสนองความต้องการทำากิจกรรม
ต่างๆ ของชีวิต ลักษณะร่วมของสิ่งเหล่านั้นก็คือเป็น
สิ่งของที่มีไว้ในบ้าน เพื่อให้ผู้อย่อาศัยใช้ทำากิจกรรม
ต่างๆ ถ้าบุคคลนั้นมองเห็นสุนัขตัวหนึ่ง เขาก็จะไม่สรุปว่า
สุนัขเป็นเครื่องเรือนเพราะมันไม่มีลักษณะร่วมเช่นเดียว
กับสิ่งอื่นๆ ที่เขาเห็น
การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิง
คุณภาพ. หน้า 109
23
การเขียนย่อหน้าที่ดีต้องประกอบด้วยเอกภาพ
(unity) สัมพันธภาพ (relation) วิธีการนำาเสนอที่ดี
(good techniques to present idea) และมีความ
ยาวที่เหมาะสม (fit length)
แบบฝึกหัด
จงเขียนข้อความต่อจากประโยคเริ่มที่กำาหนดไว้
ให้สมบูรณ์
1. การศึกษาต่อต่างประเทศเป็นโอกาสอันดี
สำาหรับเก็บเกี่ยว
ประสบการณ์.............................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
24
.............................................................
.......................................
2. อาหารขยะ (junk food) ได้รับความนิยมมาก
ขึ้นใน
ปัจจุบัน....................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.
จงจัดเรียงประโยคด้านล่างให้อยู่ในย่อหน้าอย่าง
เหมาะสม
ห้องนอนถือเป็นห้องที่สำาคัญมาก ไม่ควรละเลยเด็ด
ขาดโดยเฉพาะผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน ตำาแหน่งห้องนอนจะต้อง
อยู่ในทิศที่เป็นมงคลเท่านั้นโดยการเช็ค ๘ ทิศภายใน
บ้านหาตำาแหน่งมงคลของบ้านหลังนั้น จุดที่ต้องนำามา
25
พิจารณาประกอบนอกจากการหาตำาแหน่งห้องนอนได้
แล้วก็คือ เตียงนอน ประตูห้องนอน ตู้เสื้อผ้า กระจกเงา
หน้าต่าง โถส้วม ฯลฯ การจัดห้องนอนจะต้องคำานึงถึง
ความสบายเป็นหลักเพราะเป็นห้องที่ใช้สำาหรับพักผ่อน
นอนหลับ ห้องนอนควรจะโปร่ง มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
และมีแสงสว่างเพียงพอ การจัดห้องนอนถ้าจัดวางไม่ดี
หรือไม่ถูกต้องอาจส่งผลร้ายถึงเจ้าของห้องนั้นได้โดย
เฉพาะสุขภาพของเจ้าของห้อง
เคล็ดลับตกแต่งภายในตามหลักฮวงจุ้ย. หน้า 24
............................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
..........................
26
บทที่ 3
การย่อความ การสรุปความ
ทักษะการย่อความและการสรุปความถือเป็นสิ่งสำาคัญ
ในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร เพราะปัจจุบันการติดต่อ
สื่อสารมีความสะดวกและรวดเร็ว ประชาชนจึงได้รับ
ข่าวสารต่างๆ เป็นจำานวนมาก ดังนั้น จึงต้องอาศัยความ
สามารถในการย่อความ และสรุปความเพื่อให้รวบรวม
และทำาความเข้าใจข้อมูลเหล่านั้นได้อย่างทันท่วงที
การย่อความ (short note) หมายถึง การจับเนื้อหา
สาระสำาคัญของเรื่อง หรือแนวคิดสำาคัญของข้อความ
อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
การย่อความมีหลากหลายประเภท ได้แก่
1. การย่อความ คือ การกล่าวอย่างกระชับ
เฉพาะเนื้อหาที่สำาคัญของ
ข้อความเดิมที่นำามาถ่ายทอด เนื้อหาเหล่านั้นอาจเป็นข้อ
เท็จจริง หรืออาจเป็นความคิดเห็นในข้อความนั้น
ตัวอย่างของการย่อความ
ข้อความเดิม
สื่อมวลชนสามารถจะนำาเรื่องราวต่างๆไปสู่
บุคคลเป็นจำานวนมากได้ แม้ว่าบุคคลเหล่านั้นจะแยกกัน
อยู่ในสถานที่ต่างๆ กันก็ตาม นับได้ว่าสื่อมวลชนมีความ
สำาคัญต่อการศึกษามาก เพราะช่วยเผยแพร่ข่าวสาร
ความรู้แก่มวลชนได้รวดเร็วแต่ในบรรดาสื่อมวลชนทั้ง
หลายเหล่านั้น หนังสือพิมพ์รายวันมีบทบาท และอิทธิพล
ต่อการศึกษามากที่สุด เพราะเสนอข่าวสารได้คงทนถาวร
27
เป็นหลักฐาน ให้โอกาสผู้อ่านได้มีเวลาคิดตรึกตรองและ
สามารถย้อนกลับไปอ่านทบทวนได้ หนังสือพิมพ์รายวัน
จึงเข้าถึงมหาชน และเป็นประโยชน์ในด้านการศึกษามาก
การย่อความ
สื่อมวลชนเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาของ
มหาชนมาก เพราะสามารถนำาข่าวสารวิชาการไปสู่บุคคล
จำานวนมากได้ในเวลารวดเร็ว ในสถานที่ต่างๆกัน โดย
เฉพาะหนังสือพิมพ์รายวันมีบทบาทและมีอิทธิพลมากที่สุด
เพราะบันทึกข่าวสารไว้อย่างถาวร ทำาให้อ่านและคิด
ทบทวนได้
2. การสรุปความ คือ การย่อความอย่างสั้นที่สุด
โดยจะกล่าวเฉพาะ
ความคิดที่สำาคัญที่สุด และต้องตีความวัตถุประสงค์ของ
เนื้อความที่ย่อว่าเป็นไปในทิศทางใด เช่น แนะนำา สั่ง
สอน ตำาหนิ ปฏิเสธ หรือเสนอแนวทางให้เลือก เป็นต้น
ตัวอย่างของการสรุปความ
ข้อความเดิม
ในสมัยก่อน นำ้าพุได้รับการจัดทำาขึ้นมา
นอกจากจะเป็นเครื่องประดับเมืองให้สวยงามเย็นตาแล้ว
ยังได้ประโยชน์สำาหรับคนยากจนมาเอานำ้าไปใช้ สำาหรับ
คนเดินทางซึ่งมีสัตว์เป็นพาหนะได้อาศัยเอานำ้าพุให้สัตว์
และมักนิยมสร้างนำ้าพุอย่าง มโหฬาร มีรูปปั้นและหมู่คน
หรือเทพธิดาประดับอยู่เชิงอ่างนำ้า สายนำ้าพุนั้นนิยมทำาให้
สูงขึ้นเป็นชั้นๆ และสำาหรับต่างประเทศในปัจจุบัน นำ้าพุ
28
เป็นเพียงเครื่องประดับเมืองและเป็นสถานที่หนึ่งสำาหรับ
แวะไปชมเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ในเมืองเราก็เป็นที่น่า
ยินดีที่นำ้าพุเพิ่มจำานวนแห่งขึ้นอีก แม้จะไม่สวยงามเหมือน
นำ้าพุในต่างประเทศ แต่ก็ยังให้ความชุ่มชื้นมิใช่น้อย
การสรุปความ
ในสมัยก่อนนำ้าพุมีประโยชน์หลายด้าน ทั้งให้
ความสวยงาม และเป็นแหล่งนำ้าให้แก่คนยากจน คนเดิน
ทางและสัตว์ แต่ปัจจุบันกลายเป็นเครื่องประดับเพื่อความ
สวยงามเพียงอย่างเดียว
3. การเล่าเรื่องย่อ คือ การกล่าวถึงเนื้อเรื่อง
อย่างสั้นๆ โดยมีตัวละคร และ
ความคิดสำาคัญของเรื่องที่ย่อ
ความรักของแม่
ณ ตำาบลแห่งหนึ่งชื่อ ฟูกาเอะมูระ ยังมีหมอคนหนึ่งที่
ยังเป็นโสด แม่ของหมอได้ขอให้ผู้ใหญ่บ้านช่วยหาลูก
สะใภ้ให้
อยู่มาวันหนึ่งในฤดูร้อนเกิดมีฝนตกพรำาๆ และได้มีผู้
หญิงสาวสวยคนหนึ่งมายืนหลบฝนอยู่ใต้ชายคาบ้านของ
ผู้ใหญ่บ้าน ตอนแรกหญิงสาวคิดว่าฝนคงจะหายในไม่ช้า
แต่คอยๆไปอากาศกลับยิ่งมืดครึ้ม และฝนก็กลับตกหนัก
ยิ่งขึ้น ตะวันก็ใกล้จะตกดินอยู่แล้ว จึงได้ชวนให้เข้ามานั่ง
คอยข้างใน คอยจนกว่าฝนจะหายและท้องฟ้าแจ่มใสขึ้น
หญิงสาวก็ทำาตาม ผู้ใหญ่ได้ซักไซ้ไต่ถามและก็ได้รู้ว่า
หญิงสาวนั้นยังเป็นสาวเดินทางมาจากฮิโกะ ผู้ใหญ่บ้าน
นึกได้ถึงเรื่องที่มารดาของหมอหนุ่มในตำาบลนี้ขอร้อง
29
ให้หาลูกสะใภ้ให้ หญิงนี้อาจจะเหมาะเป็นลูกสะใภ้ของ
มารดาหมอก็เป็นได้ ดังนั้น ผู้ใหญ่บ้านก็ได้ทำาตัวเป็นแม่
สื่อจัดการติดต่อกับฝ่ายชาย จนกระทั่งตกลงเป็นที่
เรียบร้อย หญิงสาวจากฮิโกะก็เลยได้มาเป็นเมียหมอแห่ง
ฟูกาเอะ และต่อมาก็ได้
ลูกชายคนหนึ่ง
วันหนึ่ง เมื่อแม่ผัวเปิดประตูห้องเข้าไปในห้องลูก
สะใภ้ นางก็ถึงกับตกตะลึงจังงัง เมื่อแลเห็นงูใหญ่ตัวหนึ่ง
อยู่ในห้องนอนขดอยู่รอบตัวเด็ก ดังนั้น เมื่อหมอกลับจาก
บ้านคนไข้มาถึงบ้านในตอนเย็น แลเห็นหน้ามารดาของ
ตนขาวซีดจึงถามเรื่องราวดู ก็เลยได้รู้เรื่องงูที่ขดอยู่รอบ
ตัวลูก แต่หมอก็ยังไม่ยอมเชื่ออย่างที่มารดาเชื่อว่า งูนั้น
คือเมียของตน จนกระทั่งวันรุ่งขึ้น หมอลอบมองเข้าไป
ในห้องของเมีย ก้ได้แลเห็นภาพอย่างเดียวกับที่มารดา
บอกเล่าให้ฟัง หมอคิดอยู่นานว่าจะทำาอะไรดี ในที่สุดก็
เลยตัดสินใจขอหย่ากับเมีย เมียงูของหมออดเศร้าโศกไม่
ได้ ได้บอกแก่หมอว่า
“ครั้งหนึ่งหลายปีมาแล้ว ท่านเคยช่วยชีวิตข้าไว้ เพื่อ
ตอบแทนบุญคุณท่าน ข้าจึงได้มารับใช้ท่านในร่างของผู้
หญิงอย่างนี้ ข้าเป็นงูที่อยู่ในสระนำ้าบนภูเขาฟูเกงอย่างไร
เล่า ถ้าท่านหาแม่นมดีๆ ให้ลูกเราไม่ได้ละก็ มาหาข้าที่
ภูเขาฟูเกงนะ”
พูดได้เท่านั้น นางก็จากไป หมอก็นึกขึ้นได้ว่า เมื่อ
หลายปีมาแล้วตนได้ช่วยชีวิตปลาไหลเผือกตัวหนึ่งไว้ ให้
พ้นจากการรังแกของเด็กๆ ในหมู่บ้านนั้น ปลาไหลนั้นจะ
30
กลายเป็นงูไปได้ละกระมัง หมอได้พยายามหาแม่นมให้
ลูก แต่ก็หาไม่ได้ ในที่สุดจึงต้องอุ้มลูกไปที่สระนำ้าฟูเกง
ตามคำาแนะนำาของเมีย เมื่อไปถึงก็ได้พบเมียในร่างคน
นางได้ควักลูกตาออกมาข้างหนึ่งส่งให้สามี และสามีก็ส่ง
ให้ลูก เด็กน้อยได้เลียลูกตาของแม่ และน่าแปลก
ประหลาดที่ปรากฎมีนำ้านมไหลออกมาจากลูกตานั้น หมอ
เห็นเช่นนั้นก็ดีใจ รีบเดินทางกลับเอาลูกผูกหลังไว้ ส่วน
ลูกตาเมียใส่ไว้ในอกเสื้อ
คืนนั้นเป็นคืนเดือนมืด ขณะที่เดินมาตามทางได้มี
นักรบซามูไร ๒-๓ คนเดินลาดตระเวณผ่านไปทางภูเขา
เมื่อแลเห็นอกของหมอพองออกมา ก็สงสัยจึงค้นตัวดู และ
ปรากฏว่าลูกตาของเมียงูของหมอได้กลายเป็นรัตนะอย่าง
ดีมีค่า จึงปล้นเอาไป เช้าวันรุ่งขึ้น ลูกน้อยของหมอได้
ร้องไห้ราวจะขาดใจ หมอไม่รู้จะทำาอย่างไร จึงพาลูกกลับ
ไปหาเมียที่สระนำ้าฟูเกงอีกครั้งหนึ่ง แม่ผู้เหลือนัยน์ตาอยู่
เพียงข้างเดียวรู้ว่าดวงตาของตนถูกปล้นไปเช่นนั้นก็พูด
ว่า
“ถ้าข้าควักลูกตาให้ไปอีกข้างหนึ่ง ตาข้าก็จะบอด
หมด แต่เอาเถอะ เพื่อลูก ข้ายอมทั้งนั้น”
พูดแล้วก็ควักลูกตาที่เหลืออีกข้างหนึ่งส่งให้ พลาง
ร้องไห้ สามีก็รับลูกตานั้นไป แล้วรีบเดินทางกลับบ้าน แต่
เจ้ากรรม พลลาดตระเวนที่มาปล้นเอาลูกตาที่กลายเป็น
รัตนะไปนั้นได้เอาไปให้เจ้านายของตน และเจ้านายที่
เป็นเจ้าของที่ดินเห็นเป็นรัตนะอันสวยงาม สมควรจะได้
นำาไปให้โชกุนในเอโดะจะดีกว่า เผื่อจะได้รับรางวัลบ้าง
31
แต่เห็นว่าควรจะมีสองลูกคู่กัน ดังนั้น จึงส่งคนไปยังภูเขา
ฟูเกงเพื่อค้นหาให้ได้รัตนะเช่นเดียวกันนี้อีกลูกหนึ่ง หมอ
ผู้เคราะห์ร้ายก็เลยถูกปล้นไปอีกเป็นครั้งที่สอง
หมอเศร้าโศก เสียใจเป็นที่สุด จึงได้ย้อนกลับไปที่
สระนำ้าฟูเกงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้เมียฟัง
คราวนี้นางโกรธจนเหลือจะกล่าว และเป็นผลให้ต่อมา
เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในที่แถบนั้น
บรรจบ พันธุเมธา. สตรีสาร. ฉบับวันที่ ๒๔
สิงหาคม ๒๕๒๓
การเล่าเรื่องย่อ
นิทานญี่ปุ่นเรื่องนี้ บรรจบ พันธุเมธาเป็นผู้เขียนลง
นิตยสาร สตรีสาร ฉบับที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๓ โดยเล่า
ว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ตำาบลแห่งหนึ่ง มีหญิงสาวแปลกหน้า
มายืนหลบฝนที่บ้านผู้ใหญ่บ้าน ต่อมาได้รับการแนะนำา
ให้รู้จักแก่หมอคนหนึ่งในหมู่บ้าน ก่อนจะกลายเป็นสามี
ภรรยากันในที่สุด ทั้งสองอยู่กินกันจนกระทั่งมีบุตรชาย
หนึ่งคน ต่อมาหมอได้ทราบว่าภรรยาของตนเป็นงู ปลอม
ตัวมาตอบแทนบุญคุณของหมอ จึงเลิกรากันไป แต่บุตร
ชายของหมอยังคงต้องกินนม นางงูจึงสั่งให้หมอไปหาตน
ที่สระนำ้าบนภูเขา หากหมอไม่สามารถหาแม่นมได้ เมื่อ
หมอพาบุตรชายไปหานาง นางก็มอบดวงตาข้างหนึ่งของ
นางให้ เมื่อใดที่ลูกได้เลียกินจะมีนำ้านมไหลออกมา แต่
ระหว่างทางลูกตากลับกลายเป็นรัตนะมีค่า หมอจึงถูก
ซามูไรปล้น นางงูรู้เข้าก็ยอมควักดวงตาให้อีกข้างหนึ่ง
แต่ระหว่างทางหมอก็ถูกปล้นอีกเป็นครั้งที่สอง เมื่อกลับไป
32
ครั้งที่สาม นางงูโกรธมากบันดาลให้เกิดแผ่นดินไหว
อย่างรุนแรงในแถบนั้นของญี่ปุ่น
แบบฝึกหัด
อ่านเรื่องเล่าประสบการณ์ต่อไปนี้ แล้วย่อความ
พร้อมทั้งสรุปความ
อาคารเรียนของเมืองเล็กๆ ในชนบทแห่งหนึ่งได้รับ
ความอบอุ่นจากเตาถ่านหินสมัยโบราณแบบที่มีปล่องไฟ
ตรงกลาง เด็กผู้ชายตัวเล็กๆ คนหนึ่งมีหน้าที่ต้องมา
โรงเรียนแต่เช้าทุกวันเพื่อติดไฟและทำาให้ห้องอบอุ่นก่อน
ที่ครู และเพื่อนร่วมห้องจะมาถึง
เช้าวันหนึ่ง พวกเขาพบว่าโรงเรียนกำาลังถูกเพลิง
ไหม้ พวกเขาช่วยกันลากเด็กตัวเล็กๆ ที่ไม่ได้สติออกมา
จากตึกที่กำาลังลุกไหม้ เขาดูเหมือนคนที่ตายไปแล้ว
มากกว่าจะยังมีชีวิต ไฟไหม้ร่างกายท่อนล่างเป็นแผล
ฉกรรจ์ เขาถูกนำาตัวส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ๆทันที
ขณะนอนครึ่งหลับครึ่งตื่นอยู่บนเตียงในสภาพคนไข้
ที่ถูกไฟคลอกอย่างรุนแรง เด็กน้อยได้ยินเสียงหมอพูดกับ
แม่ หมอบอกแม่ของเขาว่า ลูกชายของเธอไม่มีโอกาส
รอด ซึ่งก็น่าจะดีที่สุด เพราะไฟอันร้ายกาจได้ทำาลาย
ร่างกายท่อนล่างของเขาไปครึ่งหนึ่งแล้ว
แต่เด็กน้อยผู้กล้าหาญยังไม่อยากตาย เขาตัดสินใจ
ว่าเขาจะต้องรอด เขาจะต้องมีชีวิตรอดเพื่อให้หมอ
ประหลาดใจ เมื่อพ้นขีดอันตรายถึงแก่ชีวิตมาได้ เขาก็
ได้ยินหมอและแม่พูดกันเบาๆอีกครั้งหนึ่ง หมอบอกว่า
เนื่องจากไฟได้ทำาลายเนื้อส่วนใหญ่ของร่างกายท่อนล่าง
33
ของเขาไปแล้ว การตายน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่า เพราะ
เขาถูกชะตากรรมกำาหนดให้พิการตลอดชีวิต เขาจะใช้
ประโยชน์จากอวัยวะส่วนล่างของร่างกายไม่ได้อีกแล้ว
เด็กน้อยผู้กล้าหาญตัดสินใจอีกครั้งหนึ่ง เขาจะต้อง
ไม่พิการ เขาจะต้องเดินได้
แต่โชคร้ายที่เขาไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายตั้งแต่
ช่วงเอวลงมาได้เลย ขาผอมๆ
ของเขายังอยู่ที่นั่นครบ แต่มันไม่มีชีวิต
เขาได้ออกจากโรงพยาบาลในที่สุด แม่เพียรนวดขา
เล็กๆของเขาทุกวัน แต่มันก็ไม่มีความรู้สึกตอบสนอง
ควบคุมไม่ได้ ไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย ถึงอย่างนั้นความ
ตั้งใจอย่างเด็ดเดี่ยวของเขาที่ว่าเขาต้องเดินให้ได้ก็ยัง
มั่นคงอยู่เช่นเดิม
หากเขาไม่ได้นอนอยู่บนเตียง เขาจะต้องนั่งอยู่ใน
เก้าอี้รถเข็น ในเช้าวันหนึ่งที่อากาศสดใส แม่เข็นรถของ
เขาไปที่สนามเพื่อรับอากาศบริสุทธิ์ และในวันนี้ แทนที่
เขาจะนั่งอยู่บนเก้าอี้ เขากลับเหวี่ยงตัวเองลงมา ลากตัว
เองไปตามพื้นหญ้า
เขาสะเปะสะปะไปจนถึงรั้วสีขาวที่กั้นอาณาเขตของ
บ้านไว้ เขาพยุงตัวขึ้นมาจากรั้วด้วยความพยายามอย่าง
ที่สุดแล้วเขาก็ลากตัวเองไปตามรั้วนั้นทีละก้าว ทีละก้าว
ด้วยความตั้งใจว่าจะต้องเดินให้ได้ เขาเริ่มทำาเช่นนี้ทุกวัน
จนกระทั่งรอบๆ สนามหญ้าข้างๆ รั้วมีแต่รอยทางเดิน
เขาไม่ได้ต้องการอะไรมากไปกว่า ทำาให้ขาของเขามี
ชีวิต
34
ในที่สุดการนวดทุกวัน ความพยายามอย่างแรงกล้า
และความตั้งใจอย่างเด็ดเดี่ยว ก็ทำาให้เขาสามารถยืนได้
เขาเดินแล้วพัก เดินแล้วพัก ก่อนจะเดินได้ด้วยตัวเอง
และออกวิ่ง
เขาเริ่มเดินไปโรงเรียน แล้วจึงวิ่งไปโรงเรียน วิ่ง
เพราะสนุกสนานกับการวิ่ง พอเข้าระดับวิทยาลัย เขาก็
เข้าร่วมทีมกรีฑาของที่นั่น
ชายหนุ่มผู้นี้ที่ใครต่อใครคาดว่าจะตาย ผู้ที่จะไม่ได้
เดินอีกเลยตลอดชีวิต
ผู้ที่ไม่เคยหวังว่าจะวิ่งได้ ชายหนุ่มที่มุ่งมั่นผู้นี้ ด็อกเตอร์
เกลนน์ คันนิ่งแฮม
เขากลายเป็นนักวิ่งระยะไกลที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก ใน
การแข่งขันที่จัตุรัสเมดิสัน
เบิร์ต ดูบิน
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
35
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.................................................................
.......................................................................
.......................................................................
36
.......................................................................
.................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................
จงแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ได้อ่าน
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
37
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
......................
บทที่ 4
ความเรียงและบทความ
ความเรียง (essay) และบทความ (article) ถือเป็น
วิธีการนำาเสนอข้อมูลที่พบได้บ่อยครั้งที่สุดในการสื่อสาร
ด้วยการเขียน เพราะเป็นรูปแบบที่ง่าย ภาษาที่ใช้อยู่ใน
ระดับกึ่งทางการ และทางการ โดยพิจารณาการใช้ระดับ
ของภาษาตามหัวข้อเรื่องที่นำาเสนอ ความเรียงและ
บทความมีองค์ประกอบเพียง 3 ส่วนสำาคัญ คือ ส่วนนำา
(introduction) เนื้อเรื่อง (content) และสรุป
38
(summary) และอาศัยการย่อหน้า (paragraph) เพื่อ
แสดงถึงการเปลี่ยนใจความสำาคัญ
การถ่ายทอดความคิดผ่านความเรียงและบทความ
ต้องอาศัยหลักการดังนี้
1. มีจุดมุ่งหมายของเรื่องที่แน่นอน
ก่อนที่จะลงมือเขียนเรื่องใดๆ ผู้เขียนต้องตั้งจุดมุ่ง
หมายให้ได้ก่อนว่า จะ
เขียนเรื่องอะไร เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูล หรือ
แนวคิดหลักได้อย่างเหมาะสม
2. มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตภาพ
การเขียนเรื่องราวหรือบทความต้องให้ความสำาคัญ
กับเอกภาพ (unity)
สัมพันธภาพ (relation) และสารัตภาพ (essential)
3. มีสัดส่วนที่เหมาะสม
ตามปกติ ในส่วนนำา และการสรุปนั้น จะไม่มาก
เท่ากับส่วนเนื้อเรื่อง โดย
จะมีเพียงแค่ส่วนละหนึ่งย่อหน้า แต่ในเนื้อเรื่องนั้นอาจ
ประกอบด้วยหลายย่อหน้าได้ หากเรื่องที่ต้องการนำาเสนอ
มีปริมาณมาก หรือมีความหลากหลาย การขึ้นย่อหน้า
ใหม่เมื่อเปลี่ยนใจความสำาคัญจะมีประโยชน์ต่อการ
ทำาความเข้าใจของผู้อ่าน
4. มีการจัดลำาดับประเด็นที่นำาเสนอ
การเรียงลำาดับประเด็นในการนำาเสนอที่ดี จะช่วย
ดึงดูดความสนใจของ
39
ผู้อ่านได้ โดยสามารถเรียบเรียงประเด็นจากส่วนที่มีความ
สำาคัญมากไปยังส่วนเสริม หรืออาจจะเริ่มต้นจากส่วน
เสริมเพื่อโยงไปสู่จุดที่สำาคัญที่สุดของเรื่องก็ได้ ก่อนจะ
ลงท้ายด้วยการกล่าวสรุปหรือฝากแง่คิดแก่ผู้อ่าน
ตัวอย่างของการเรียบเรียงประเด็นเพื่อการเขียน
บทความในหัวข้อเรื่อง เวลา
• ความสำาคัญและคุณค่าของเวลา
• กาลเวลากับความเปลี่ยนแปลงในชีวิตมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม
• การใช้เวลาให้คุ้มค่าและตัวอย่างของผู้ประสบ
ความสำาเร็จจากการใช้
เวลาให้เป็นประโยชน์
• คติธรรมสำาหรับเตือนใจในเรื่องเวลา
การเขียนความเรียงและบทความให้ดีไม่ใช่เรื่องยาก
หากแต่ต้องทราบ
รายละเอียดบางประการที่ควรนำาไปปฏิบัติ ดังนี้
1. ต้องระมัดระวังเรื่อง ตัวสะกด โดยเขียนคำาที่ถูก
ต้อง เหมาะสมเสมอ
2. หมั่นขึ้นย่อหน้าใหม่ เมื่อเปลี่ยนแนวคิดใน
การนำาเสนอ
3. มีการเว้นวรรค (leave a space) เมื่อจบ
ใจความ
4. ไม่ควรใช้ประโยคที่ไม่สิ้นสุดใจความ เช่น หาก
ในโลกนี้ไม่มีพระอาทิตย์
40
5. หลีกเลี่ยงการใช้คำาซำ้ากันในที่ใกล้ๆกัน เพราะ
ทำาให้ผู้อ่านรำาคาญตา
6. อ่านหนังสือให้มาก เพื่อศึกษาแนวทางการเรียบ
เรียงงานเขียน เมื่อเกิด
ความประทับใจในภาษาหรือสำานวน ควรจดบันทึกไว้เผื่อ
นำามาใช้ได้ในอนาคต
7. สะสมนิทาน เรื่องเล่า บทร้อยกรองหรือ
เหตุการณ์ที่น่าสนใจไว้เพื่อ
ประกอบการเรียบเรียงงานเขียนในภายหลัง
แบบฝึกหัด
อ่านบทความต่อไปนี้ แล้วย่อ สรุป พร้อมกับตอบ
คำาถาม
อนุสรณ์แห่งความรัก
ใครไปอินเดียแล้วไม่ได้ไปชมทัชมาฮาลนั้นก็
หมายความว่าไม่ได้เห็นอินเดียเลย หลายคนบอกข้าพเจ้า
อย่างนี้ก่อนการออกเดินทางไปยังประเทศนั้น ดังนั้น
ข้าพเจ้าจึงมุ่งไปอินเดียด้วยความหวังจะได้ไปชมอนุสรณ์
แห่งรักที่โลกลือแห่งนั้น และก็นับเป็นโชคดีอย่างยิ่งที่
รายการพาไปชมสถานที่แห่งนั้นได้บรรจุอยู่ในโปรแกรม
อันเต็มไปด้วยการงานของเราด้วย
ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวถึงภาพที่ได้เห็นในระยะทาง 4-5
ชั่วโมง จากเดลีมายังเมืองอักราอันเป็นสถานที่ตั้งอนุสรณ์
แห่งนั้นให้มากจนเกินไป เพราะช่างเป็นภาพตรงกันข้าม
41
กับความสง่าของทัชมาฮาล ผู้คนแต่งตัวสกปรก บ้านช่อง
รกรุงรัง และกระต๊อบแคบๆ เหล่านั้น มีฝาคือดินและขี้วัว
หมูตัวผอมโซผิดรูปร่าง วัวตัวเล็กลีบ หญิงคนหนึ่งกำาลัง
เอาจอบโกยขี้วัวใส่ตะกร้าเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์
อย่างไรก็ตาม เราก็ผ่านภาพชีวิตลำาเค็ญเหล่านั้นไป
ถึงเมืองอักราเมื่อใกล้คำ่า เราคอยอยู่จนถึงเวลา 21.00 น.
ซึ่งเป็นเวลาที่ดวงจันทร์ข้างแรมจะขึ้นสู่ ฟ้า สาดแสง
มายังทัชมาฮาล และเมื่อเวลานั้นมาถึง เราก็ได้ไป ได้เห็น
และได้ซาบซึ้งในความงามอย่างวิจิตรบรรจงของ
สถาปัตยกรรมชั้นเลิศนั้น ได้หวนระลึกถึงที่มาแห่ง
อนุสาวรีย์ซึ่งอุบัติเมื่อ 300 ปีเศษมาแล้ว
มัมทัช มาฮาล เป็นมเหสีองค์ที่ 2 ของชาห์ เยฮัน
ความงามสง่าน่ารักและความฉลาดเฉลียว รวมทั้ง
คุณสมบัติของกุลสตรี ดึงดูดพระทัยของพระสวามีให้
หลงใหลในตัวเธอไม่เสื่อมคลาย แต่คนดีย่อมเป็นที่รัก
ของพระเจ้าเช่นเดียวกัน มัมทัช สิ้นพระชนม์เมื่อให้
กำาเนิดแก่พระธิดาก่อนที่จะจากไปอย่างไม่มีวันกลับ ชาห์
เยฮัน พระสวามีรำ่าไห้ด้วยความสุดแสนอาลัย รับสั่งถาม
พระนางว่า จะทำาอย่างไรจึงจะให้โลกรู้ว่าพระองค์รักเธอ
อย่างแท้จริง กล่าวกันว่า พระนางขอร้องให้พระสวามีเอา
พระทัยใส่เลี้ยงดูพระโอรสและพระธิดาให้ดี และขออย่า
ทำาการอภิเษกสมรสอีกและนอกจากนั้นพระนางขอร้องให้
สร้างที่ฝังศพอันงามสง่าไม่ซำ้าแบบใครเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่
เธอ
42
ความปรารถนาของพระนางเป็นไปตามนั้นทุก
ประการ ณ ริมฝั่งแม่นำ้ายมุนา ทัชมาฮาล ที่ฝังศพอันเลื่อง
ลือของมัมทัช ประดิษฐานเป็นศรีสง่าแก่นครอักรา
ประกาศเรื่องรักอันซาบซึ้งตรึงใจของกษัตริย์ที่มีต่อมเหสี
องค์นั้นให้โลกได้ชื่นชมสืบต่อกันจนกระทั่งปัจจุบัน
ทัชมาฮาล สร้างด้วยหินอ่อนล้วน ประดับด้วยแก้ว
มณีอันมีค่าหลากสี มณีชิ้นน้อยถึง 64 ชิ้นรวมกันเข้าเป็น
ดอกบัว แต่ละดอกประดับอยู่ภายในและภายนอก
แสงจันทร์ที่สาดส่องต้องมณีเหล่านี้ ทำาให้เกิดแสงเรือง
ระยิบระยับเป็นเสน่ห์แก่สายตาอย่างยิ่ง หีบศพ 2 สองคู่ คู่
หนึ่งอยู่ในอุโมงค์ข้างใต้ ซึ่งเป็นที่บรรจุร่างของสอง
กษัตริย์อย่างแท้จริง และอีกคู่หนึ่งอยู่ชั้นบน เป็นหีบ
จำาลองทำาด้วยหินอ่อน สลักลวดลายด้วยมณีลำ้าค่าทั้งสิ้น
แสงอันสลัวจากตะเกียงที่ส่องให้นักทัศนาจรได้ชมภายใน
ทัชมาฮาล เสียงกู่ร้องของผู้ดูสถานที่ที่ก้องสะท้อนไปไกล
ทำาให้บรรยากาศดูศักดิ์สิทธิ์และวังเวงใจ ทุกคนทอดถอน
ใจเมื่อมัคคุเทศก์เล่าว่า ชาห์ เยฮัน ในวาระสุดท้ายแห่ง
ชีวิตขณะที่ถูกคุมขังได้พยายามพระองค์จ้องมองยังทัช
มาฮาล ซึ่งร่างของมัมทัช มาฮาล นอนสงบรอคอยพระ
สวามีอยู่ที่นั่น
สุภาพสตรีผู้หนึ่งกล่าวว่า “ถ้าหากว่าอินเดียไม่มีอะไร
อื่นที่จะให้ชมอีก การที่ได้ชมทัชมาฮาลเพียงอย่างเดียวก็
คุ้มค่าของการเดินทางแล้ว”
สุดที่รัก. หน้า 75 – 78
43
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
......................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
44
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
......................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
45
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
......................
ตอบคำำถำมจำกเรื่องที่อ่ำน
1. ทัช มำฮำล ตั้งอยู่ที่เมืองใด
___________________________________
2. สภำพชีวิตของคนในเมืองเดลีจนถึงอักรำ
เป็นอย่ำงไร
______________________________________
______________________________________
______________________________________
3. จงเล่ำควำมเป็นมำของมัมทัช มำฮำล โดย
สังเขป
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
___________________
4. คำำขอร้องของมัมทัช มำฮำล คืออะไร
______________________________________
46
______________________________________
______________________________________
5. สถำปัตยกรรมภำยในทัช มำฮำล เป็น
อย่ำงไร จงอธิบำยพอสังเขป
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
6. เหตุใดต้องมีหีบศพ 2 คู่
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
7. จงยกตัวอย่ำงข้อควำมที่เป็นกำรพรรณนำ
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________
47
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ

More Related Content

What's hot

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 

What's hot (20)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 

Similar to การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ

บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
classroom language
classroom languageclassroom language
classroom languageNonenan Nun
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Caiunit24
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กกchompouou
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกchompouou
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกchompouou
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกchompouou
 

Similar to การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ (12)

บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
classroom language
classroom languageclassroom language
classroom language
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Cai
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียนมาตราแม่กก
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
 
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กกแบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
แบบทดสอบก่อนเรียน มาตราแม่กก
 

More from Kun Cool Look Natt

งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง Kun Cool Look Natt
 
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างบรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างKun Cool Look Natt
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างKun Cool Look Natt
 
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร Kun Cool Look Natt
 
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร Kun Cool Look Natt
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านKun Cool Look Natt
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล Kun Cool Look Natt
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 

More from Kun Cool Look Natt (14)

Eng of pre – cadet
Eng  of  pre – cadetEng  of  pre – cadet
Eng of pre – cadet
 
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
 
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างบรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
 
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
 
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 

การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ

  • 1. บทที่ 1 ระดับของภาษา ภาษาไทยมีระดับของภาษาที่ต้องเลือกใช้ให้เหมาะ สมกับแต่ละบุคคล และสถานการณ์ กล่าวเฉพาะการพูด และการเขียนนั้นต้องพิถิพิถันในการใช้คำาเป็นอย่างมาก สำาหรับบางกรณี คำาๆหนึ่งอาจใช้กับบุคคลคนหนึ่งได้ แต่ ไม่สามารถใช้กับบุคคลอีกคนหนึ่งได้ เช่น ขอบใจ ใช้ กล่าวกับคนที่อ่อนวัยกว่า และวัยเท่ากันได้ แต่ไม่เหมาะ สมหากจะใช้กับบุคคลที่สูงวัยกว่า เป็นต้น การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องคำานึงถึงการ ใช้ภาษาในระดับต่างๆ และต้องใช้ให้ถูกต้อง จึงจะถือได้ ว่า เป็นผู้ใช้ภาษาที่ดี ระดับของภาษา ภาษามี 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาแบบแผน 1. ภาษาปาก คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารกับบุคคลที่ สนิทคุ้นเคย เป็นกันเอง จึงไม่ จำาเป็นต้องใช้ให้ถูกต้องตามแบบแผนมากนัก ภาษาปาก เหล่านี้ได้แก่ คำาพูดระหว่างบุคคลในชีวิตประจำาวัน คำาถิ่น และคำาคะนอง เช่น “เป็นไงบ้าง” มาจาก “เป็นอย่างไรบ้าง” “กินข้าวยัง” มาจาก “กินข้าวหรือ ยัง” “ทานข้าวหรือยัง” 1
  • 2. “เป็นจะไดพ่อง” มาจาก “เป็นอย่างไรบ้าง” (คำาถิ่นเหนือ) “อย่ามาแอ๊บมึน” (คำาคะนอง) แปลว่า อย่าทำา เป็นว่าไม่รู้เรื่อง ส่วนคำาถิ่น และคำาคะนองนั้น ถือเป็นอีกตัวอย่าง หนึ่งของระดับภาษาปาก เนื่องจากคำาเหล่านี้ไม่เป็นที่ ยอมรับว่าใช้เป็นตัวกลางมาตรฐานสำาหรับการสื่อสาร เพราะอาจมีความหมายที่ต่างออกไป และยากแก่การ เข้าใจ กล่าวเฉพาะ ภาษาถิ่นในประเทศไทยนั้น ประกอบด้วย ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ ที่มีความแตกต่างทางด้านการใช้คำาเพื่อสื่อความหมาย อย่างชัดเจน อย่างไรก็ดี ในบางพื้นที่ยังมีความแตกต่าง ของการออกเสียง (สำาเนียง) ตลอดจนคำาลงท้ายด้วย ส่วนคำาคะนอง (slang) ถือว่าเป็นคำาที่มีการ เปลี่ยนแปลงเร็ว อาจเกิดขึ้น และมีการใช้ในคนกลุ่มหนึ่ง เพียงช่วงระยะเวลาเดียว ก่อนจะหมดความนิยมลงไป แต่คำาคะนองบางคำา หากมีการยอมรับและใช้กันในวง กว้างก็อาจกลายเป็นคำาปกติที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไปได้ ภาษาปากมักใช้ในการติดต่อสื่อสาร การละเล่น การโฆษณา การประกาศ บทสนทนาในนวนิยาย จดหมายส่วนตัว เป็นต้น 2. ภาษากึ่งแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้สื่อสารกับ บุคคลที่ไม่มีความสนิทสนม 2
  • 3. กัน มีความแตกต่างทางชาติวุฒิ (กษัตริย์ พระราชวงศ์ และเชื้อพระวงศ์) วัยวุฒิ (ความแตกต่างทางอายุ) และ คุณวุฒิ (ความแตกต่างทางด้านความรู้ ความสามารถ หรือตำาแหน่งหน้าที่การงาน) โอกาสในการใช้ภาษากึ่งแบบแผน เช่น การ แนะนำาตัว หรือการสนทนากับบุคคลที่เพิ่งรู้จัก การ ประชุม การใช้ภาษาในการสื่อสารมวลชน การเขียน บทความ เป็นต้น ตัวอย่างของการใช้ภาษากึ่งแบบแผน “สวัสดีครับ ผมชื่อดนัย ยินดีที่ได้รู้จักครับ” “ขอต้อนรับทุกท่านเข้าสู่รายการ เรื่องเล่าเช้านี้ ค่ะ” “เศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2553 กำาลังดี ขึ้นอย่างต่อเนื่อง” 3. ภาษาแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้อย่างพิถีพิถัน เพื่อให้เป็นหลักฐาน ใน โอกาสพิเศษ พิธีการ หรืองานทางการทั่วไป เช่น การ ปราศรัย การประชุมใหญ่ การกล่าวรายงาน จดหมายราชการ บันทึกทางราชการ ตำารา แบบเรียน เป็นต้น ตัวอย่างของการใช้ภาษาแบบแผน “ธุรกิจระบบแฟรนไชส์ (franchise) คือ กระบวนการทางธุรกิจซึ่งกลุ่มบุคคลได้พัฒนา วิธีการ อัน 3
  • 4. ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าประสบความสำาเร็จในการประกอบ การและการจัดการธุรกิจ ได้ถ่ายทอดสิทธิในการประกอบ การธุรกิจรูปแบบดังกล่าวให้กับกลุ่มบุคคลอื่นภายใต้ ตราสินค้าหรือบริการ หรือเครื่องหมายการค้าอันหนึ่งอัน ใด โดยกระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการทำาข้อตกลงทาง กฎหมายระหว่างกลุ่มบุคคล 2 กลุ่มในข้างต้น” หนังสือประกอบการอบรมหลักสูตร ผู้ขายแฟรนไชส์ขั้นต้น. หน้า 24 การใช้ภาษาทั้งสามระดับนี้ หากผู้ใช้สามารถ เลือกสรรได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล สถานที่ และโอกาส แล้ว ย่อมได้รับการยอมรับจากผู้อื่นว่าเป็นผู้มีความรู้ความ สามารถและเข้าใจถึงความเหมาะสมในการสื่อสารตาม บริบทของสังคมไทย แบบฝึกหัด จงเรียงลำาดับคำาต่อไปนี้ให้ถูกต้องตามระดับภาษา ปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาแบบแผน 1. กิน ทาน รับประทาน _________________________ 2. อ้วนท้วม สมบูรณ์ _________________________ 3. รวย มีฐานะ รำ่ารวย ________________________ 4
  • 5. 4. ยากจน จน ฐานะไม่ดี _________________________ 5. เยอะแยะ มากมาย มาก _________________________ 6. โกหก หลอก หลอกลวง _________________________ 7. ขี้โกง โกง คดโกง _________________________ 8. เซ็ง เบื่อ เบื่อหน่าย _________________________ 9. หนุก สนุก สนุกสนาน _________________________ 10. เจ๋ง เก่ง มีความสามารถ _________________________ จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้ใช้ภาษาระดับใด 1. ทำาไมคุณไม่มางานวันเกิดฉัน _________________________ 2. การบ้านของน้องมีเยอะมากๆ _________________________ 3. ใครที่ทุจริตต้องได้รับโทษ _________________________ 4. บริษัทนี้จะเจ๊งแล้ว _________________________ 5. ประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงกว่าประเทศจีน _________________________ 5
  • 6. 6. คดีอาชญากรรมนั้นสะเทือนขวัญประชาชน _________________________ 7. เกิดแผ่นดินไหวในทะเลจีนใต้ _________________________ อ่านเรื่องที่กำาหนดมาให้แล้วตอบคำาถาม ปิดเทอมฤดูหนาวแล้ว! ในการประชุมครูนักเรียนทั้งโรงเรียน ขณะที่ผม เดินขึ้นไปหน้าเวทีเพื่อรับเกียรติบัตรนักเรียนผู้สอบได้ที่ หนึ่งตลอดปี และรับปากกาหมึกซึมใหม่เอี่ยมจาก อาจารย์ใหญ่เป็นรางวัล หัวใจที่พองโตแทบจะกระโดด ออกมาถึงข้างนอก ผมอยากจะติดปีกบินไปให้ถึงหน้า ประตูใหญ่โรงเรียนทันที เพื่อบอกแม่ว่า “แม่จ๋า – ผมสอบได้ที่หนึ่งนะ ! นี่จะตรุษจีน แล้ว แม่ต้องซื้อประทัดขดใหญ่ที่สุดให้ผมสองขดด้วย นะ แม่จะตอบว่าอย่างไรหนอ แม่จะตอบว่าอย่างไร หนอ ในที่สุดก็เลิกประชุม ในที่สุดโรงเรียนก็เลิก! ผมกับเพื่อนๆ วิ่งกันอย่างสนุกสนานจนถึงประตู ใหญ่ด้านนอก แปลกจริง ทำาไมไม่ได้ยินเสียงที่คุ้นเคย ของแม่ ! 6
  • 7. ที่ประตูโรงเรียนคนแน่นมาก อีกทั้งยังคึกคัก รถ เก๋ง รถมอเตอร์ไซด์ส่งกลิ่นนำ้ามันออกมาชวนให้สำาลัก ผมเขย่งเท้ามองหา ท่ามกลางฝูงคนที่จอแจ ไม่ เห็นแม่เลย ชะเง้อมองไปทางถนนใหญ่ที่มุ่งหน้าไปสู่ หมู่บ้านของเราก็ไม่เห็นเงาของแม่ ! ผมร้อนใจจนเหงื่อโชก ประตูหน้าโรงเรียนไม่มีผู้คนเบียดเสียดกันแล้ว “เฟินเถียน เฟินเถียนเอ้ย!” ใครเรียกผมนะ ผมหันหน้าไปมอง เป็นคุณอาเล็ก เขาสวมเสื้อคลุมตัวใหญ่สีเหลือง นั่งยองๆ สูบ บุหรี่อยู่ข้างกำาแพงโรงเรียน รถจักรยานจอดพิงอยู่ ข้างๆ “อาเล็ก ทำาไมแม่มามารับผม” ผมตะโกนถามเสียงดัง โยนกระเป๋าหนังสือไป ข้างหลังเดินฮึดฮัดไม่พอใจไปทางเขา อาเล็กโยนก้นบุหรี่ในมือทิ้ง ถูมือไปมาครู่หนึ่ง ยืนขึ้นแล้วยื่นถุงแอปเปิ้ลให้ผมหนึ่งถุง หันไปเข็นรถ จักรยาน พลางพูดด้วยนำ้าเสียงอึกอักว่า “ติด ติดกระดุมเสื้อหนาวซะ!ดู ดู แกซิ วิ่งเสีย จนเหงื่อท่วม ท่วม – ท่วมตัว ! เดี๋ยวจะเป็นหวัดเอา” อาเล็กเป็นคนพูดติดอ่าง จะพูดอะไรต้องออกแรง มาก ผมอยากหัวเราะ แต่ก็ไม่กล้า 7
  • 8. “นั่ง นั่งดีๆ” อาเล็กเริ่มปั่นจักรยาน ผมก้าวขึ้นไปนั่งข้างหลัง หยิบแอปเปิ้ลผลใหญ่สี แดงสดผลหนึ่งออกมาจากถุง พูดว่า “อาเล็ก แอปเปิ้ลลูกใหญ่จัง ผมกินลูกหนึ่งนะ!” “อย่ากิน” ฮึ! ผมไม่พอใจเล็กน้อย อาเล็กขี้งกจริงๆ อายุสามสิบกว่าแล้วยังไม่ แต่งงาน สมควรแล้ว ! วันทั้งวันเชือดแพะ ขายเนื้อ หา แต่เงินลูกเดียว อยากแต่งสะใภ้ เงินก็เก็บได้ตั้งหลาย พันแล้ว แค่แอปเปิ้ลผลเดียวยังให้ผมกินไม่ได้ ฮึ!ถ้า เป็นแม่มารับนะ รับรองว่าต้องอนุญาตให้ผมกินตามใจ ชอบ ! ผมโยนแอปเปิ้ลกลับเข้าถุงงอนๆ แล้วถามว่า “ทำาไมแม่ไม่มารับผม” อาเล็กไม่ตอบ เงยหน้ามองฟ้าครู่หนึ่ง พึมพำา คล้ายพูดกับตัวเองว่า “สง...สงสัยหิมะจะตก” อาเล็กไม่พูดอะไรอีก ปั่นจักรยานเร็วจี๋ วันนี้มันเป็นอะไรกันแน่นะ ผมก็เงยหน้ามองฟ้าด้วยคน ไม่มีพระอาทิตย์ มีแต่ก้อนเมฆสีเหลืองๆ เป็น ชั้นๆ ต่อกันเป็นแพใหญ่ 8
  • 9. เหยี่ยวตัวหนึ่งบินโฉบเฉี่ยวอยู่ใต้ชั้นเมฆ มันบิน วนเป็นวงกลม วงแล้ว วงเล่า เจ้าเหยี่ยวเป็นจุดสีดำาๆ อยู่กลางฟ้า ท้องฟ้ายาม เย็นสีแสดผืนนั้น ถูกเจ้าเหยี่ยวแต่งแต้มจุดคล้ายกับ เครื่องหมายปรัศนี ทำาไมแม่ไม่มารับ แม่ช่วยย่านึ่งขนมเข่งอยู่หรือ แม่...? แม่ผมอยากกินสับปะรด. หน้า 9 – 14 คำาศัพท์ 1. ปิดเทอม (ก.) 放假 2. ฤดูหนาว (น.) 冬季 3. การประชุม (ก.) 会议 4. ขณะที่ (ส.) 在、、、之间 5. เวที (น.) 地点 6. เกียรติบัตร (น.) 证书 7. สอบได้ (ก.) 通过 8. ที่หนึ่ง (น.) 第一 9. ปากกาหมึกซึม (ก.) 水笔、炭素笔 10. ใหม่เอี่ยม (ว.) 崭新 9
  • 10. 11. อาจารย์ใหญ่ (น.) 校长 12. รางวัล (น.) 奖品 13. พองโต (ก.) 放大 14. ติดปีกบิน (ก.) 兴奋 15. หน้าประตู (บ.) 门口 16. ตรุษจีน (น.) 春节 17. ประทัด (น.) 鞭炮 18. ขด (น.) 串 19. เลิก (ก.) 下课、放学 20. สนุกสนาน (ว.) 好玩、心情舒畅 21. แปลก (ว.) 稀奇、古怪 22. ไม่ได้ยิน (ก.) 听不到 23. คุ้นเคย (ว.) 适应 24. คนแน่น (น.) 许多人、很多人 25. คึกคัก (ว.) 精神充沛 26. รถเก๋ง (น.) 小汽车 27. มอเตอร์ไซค์ (น.) 摩托车 10
  • 11. 28. สำาลัก (ก.) 呛 29. เขย่งเท้า(ก.) 垫脚 30. ท่ามกลาง (บ.) 在、、、之间 31. จอแจ (ว.) 喧哗 32. ชะเง้อ (ก.) 伸长脖子 33. ถนนใหญ่ (น.) 大路、高速路 34. มุ่งหน้าไปสู่ (ก.) 往前 35. หมู่บ้าน (น.) 家乡 36. เงา (น.) 影子 37. ร้อนใจ (ก.) 心急 38. เหงื่อ (น.) 汗水 39. เบียดเสียด (ว.) 拥挤 40. เรียก (ก.) 叫 41. หันหน้า (ก.) 回头 42. เสื้อคลุม (น.) 夹克 43. นั่งยองๆ (ก.) 蹲 44. สูบบุหรี่ (ก.) 抽烟 11
  • 12. 45. ข้างกำาแพง (บ.) 墙边 46. จอด (ก.) 停 47. ตะโกน (ก.) 叫、喊、嚎叫 48. เสียงดัง (น.) 大声 49. โยน (ก.) 丢 50. กระเป๋าหนังสือ (น.) 书包 51. ฮึดฮัด (ว.) 愤怒、生气 52. ก้นบุหรี่ (น.) 烟头 53. ยืนขึ้น (ก.) 站起来 54. ยื่น (ก.) 送 55. แอปเปิล (น.) 苹果 56. เข็นรถ (ก.) 推车 57. อึกอัก (ว.) 结结巴巴 58. ติดกระดุม (ก.) 扣纽扣 59. เสื้อหนาว (น.) 冬衣、毛衣 60. เป็นหวัด (ก.) 生病 61. ติดอ่าง (ก.) 结巴 12
  • 13. 62. หัวเราะ (ก.) 大笑 63. กล้า (ก.) 勇敢 64. ผล (น.) 结果 65. ขี้งก (ก.) 贪婪、小气 66. แต่งงาน (ก.) 结婚 67. เชือด (ก.) 砍 68. ขาย (ก.) 卖 69. หาแต่เงินลูกเดียว (ก.) 节约钱、只知道 赚钱 70. สะใภ้ (น.) 由婚姻而组成的 亲戚的 女人 71. รับรองว่า (ก.) 保证 72. อนุญาต (ก.) 允许 73. ตามใจชอบ (ว.) 随心所欲 74. เงยหน้า (ก.) 抬头 75. พระอาทิตย์ (น.) 太阳 13
  • 14. 76. ก้อนเมฆ (น.) 云 77. เป็นชั้นๆ (น.) 一层层 78. เป็นแพ (ว.) 一个接一个排成长 龙 79. เหยี่ยว (น.) 鹰 80. บินโฉบเฉี่ยว (ก.) 飞扑 81. บินวน (ก.) 飞成圈 82. แต่งแต้ม (ก.) 夸大 83. เครื่องหมายปรัศนี(น.) 问号 84. นึ่ง (ก.) 蒸 85. ขนมเข่ง (น.) 年糕 ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน 1. ตามปกติแล้ว ใครจะมารับเฟินเถียน ______________________ 2. การเรียนของเฟินเถียนเป็นอย่างไร ______________________ 3. รางวัลของเฟินเถียนคืออะไร ______________________ 14
  • 15. 4. วันนี้ใครมารับเฟินเถียน ______________________ 5. เฟินเถียนอยากกินอะไร ______________________ 6. อาเล็กมีลักษณะการพูดอย่างไร ______________________ 7. อากาศในวันนี้เป็นอย่างไร ______________________ 8. ตัวอะไรอยู่บนท้องฟ้า ______________________ 9. ระดับของภาษาในเรื่องนี้คืออะไร ______________________ 10. เรื่องนี้เป็นวรรณกรรมประเภทใด ______________________ บทที่ 2 การใช้คำา ประโยค ย่อหน้า ในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการพูด หรือการ เขียน การพิถีพิถันเลือกสรรคำามาใช้ให้เหมาะสมกับ 15
  • 16. ใจความถือเป็นเรื่องจำาเป็น โดยหลังจากที่ผู้เรียนทราบ แล้วจะต้องใช้ภาษาระดับใดในการสื่อสาร ยังต้อง พิจารณาว่า คำาที่อยู่ในภาษาระดับเดียวกันนั้นคำาใดควร นำามาใช้ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบท เนื่องจากในภาษาไทย คำาที่มีความหมายเหมือน กันนั้นมีจำานวนมาก แต่จะใช้แตกต่างกันไปตาม สถานการณ์ เช่น คำาศัพท์ ความหมาย สถานการณ์ คน, ผู้คน, บุคคล คน การสนทนาทั่วไป มนุษย์ บทความ หรือ ศาสนา ประชากร ประชาชน บทความ ข่าว สังคม มวลชน ชน สาธารณชน สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ ราษฎร พสกนิกร เฉลิมพระเกียรติ คำาที่หลากหลายแต่มีความหมายเหมือนกันเหล่า นี้เรียกว่า คำาไวพจน์ ผู้ใช้ภาษาจะสามารถใช้คำาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่อได้ศึกษาภาษามากพอจน กระทั่งทราบได้ว่า คำาใดควรใช้ในบริบทใด ซึ่งการจะ สร้างความคุ้นเคยกับภาษาต่างประเทศเหล่านี้ต้องอาศัย ความขยัน หมั่นฝึกฝน ด้วยการอ่าน และฟังภาษาไทยให้ มาก ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ เรื่อง สั้น นวนิยาย และการฟังวิทยุ หรือชมรายการโทรทัศน์ที่ ใช้ภาษาไทยเป็นสื่อในการถ่ายทอด 16
  • 17. แบบฝึกหัด จงหาความหมายรวมของคำาเหล่านี้ 1. อ้วน ท้วม สมบูรณ์ เจ้าเนื้อ อวบ พ่วงพี ตุ้ยนุ้ย 2. ซูบซีด บักโกรก เพรียว สะโอดสะอง ผอม ขี้ก้าง 3. งาม งดงาม เช้ง ไฉไล สวย โสภา น่า รัก โฉม เก๋ พริ้ง 4. พลัง กำาลัง เรี่ยวแรง กำาลัง นำ้าพักนำ้า แรง 5. ทรวงอก อก หน้าอก นม เต้านม 6. อัธยาศัย สันดาน อุปนิสัย นิสัย ใจคอ นิสัย 7. นำ้าใจ ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ 8. ใจดี มีเมตตา ปรารถนาดี 9. โหดเหี้ยม อำามหิต ใจร้าย ใจหยาบ ใจ ยักษ์ โหดร้าย 10. เขลา ทึ่ม หัวขี้เลื่อย ขี้เท่อ โง่ เง่า เซ่อ บ้องตื้น ปัญญาอ่อน 11. ความคิด ความอ่าน ดำาริ ความเห็น ความคิดเห็น ทัศนคติ เจตคติ มติ 12. เชื่อถือ เชื่อฟัง เชื่อ ตายใจ 13. ข้องใจ สงสัย กังขา คลางแคลง สงกา ใคร่รู้ 17
  • 18. 14. เบาใจ สบายใจ เย็นใจ อุ่นใจ ใจชื้น คลายใจ สะดวกใจ วางใจ 15. ยินดี เต็มใจ ไม่รังเกียจ กระตือรืนร้น 16. สุขใจ สำาราญ รื่นรมย์ เพลิดเพลิน ดีใจ ปิติ ปลาบปลื้ม 17. ไม่ชอบ ไม่พอใจ รำาคาญ ฉุน เดือด โกรธ เกิดโทสะ คั่งแค้น เจ็บร้อน 18. หดหู่ ห่อเหี่ยว อับอาย อัปยศ หน้าแตก เสียหน้า อาย 19. ชัง รังเกียจ เกลียด เหม็นขี้หน้า หมั่น ไส้ ขยะแขยง เขม่น 20. สงสาร เห็นใจ เวทนา สลดใจ สมเพช เห็นอกเห็นใจ สะเทือนใจ ประโยค ประโยคในภาษาไทยมีความคล้ายคลึงกับ ประโยคในภาษาอังกฤษ โดยหากแบ่งตามวัตถุประสงค์ ในการสื่อสารจะมี 3 แบบคือ 1. ประโยคบอกเล่า (Affirmative) 2. ประโยคปฏิเสธ (Negative) 3. ประโยคคำาถาม (Interrogative) หากพิจารณาตามโครงสร้างของประโยค (Structure of sentences) มี 3 แบบ คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม และ ประโยคความซ้อน เมื่อเริ่มต้นพิจารณาเรื่องประโยค 18
  • 19. ประโยคความเดียว (Simple sentence) คือ ประโยคที่มีเพียงใจความเดียวอยู่ในประโยค โครงสร้างของประโยคในภาษาไทยส่วนใหญ่ คือ ประธาน กริยา กรรม (Active voice) แต่บางส่วน อาจเขียนในแบบเน้นกริยา คือ กริยา ประธาน ส่วนขยาย หรือแบบเน้นกรรม คือ กรรม กริยา ประธาน (Passive voice) โครงสร้างแบบเน้นประธาน กริยา กรรม ได้แก่ แม่กินส้ม ประธาน กริยา กรรม แม่ชอบกินส้มประธาน กลุ่มคำากริยา กรรม โครงสร้างแบบเน้นกริยา ประธาน หรือกริยา กรรม ได้แก่ เกิดแผ่นดินไหวในทะเลจีนใต้ กริยา ประธาน ส่วนขยาย ย่างสด นักเที่ยวซานติก้า กริยา ประธาน ส่วนขยาย โครงสร้างแบบเน้นกรรม กริยา (ประธาน) (passive voice) ได้แก่ นักโทษคดียาเสพติดถูกจับกุมแล้ว พนักงานถูกพักงาน น้องถูกครูตี ประโยคความรวม (Compound sentence) คือ ประโยคที่มีสองใจความอิสระ 19
  • 20. (dependent clause) มารวมอยู่ด้วยกัน โดยใช้คำา สันธาน (conjunction) เชื่อมใจความในแบบต่างๆ เช่น ความรวมแบบคล้อยตาม ใช้คำาว่า และ ในการเชื่อมใจความ เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของไทยยังคง ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เขาเป็นทั้งนักร้องและนักดนตรี ความรวมแบบขัดแย้ง ใช้คำาว่า แต่ ใน การเชื่อมใจความ การประชุมยังไม่จบ แต่นักการเมืองกลับไป แล้ว เขารวย แต่เขาไม่มีความสุข ความรวมแบบให้เลือก ใช้คำาว่า หรือ ในการเชื่อมใจความ เธอจะไปตลาดหรือไปโรงเรียน พ่อจะไปหรือไม่ไปธนาคาร ความรวมแบบเป็นเหตุผล ใช้คำาว่า จึง ดังนั้น ในการเชื่อมใจความ เธอมีความสามารถมาก จึงได้รับเลือกเป็น หัวหน้า การเรียนมหาวิทยาลัยมีอิสระมากดังนั้นต้อง ควบคุมตัวเองให้ดี ประโยคความซ้อน (Complex Sentence) คือ ประโยคที่มีสองใจความมารวมอยู่ด้วยกัน ในลักษณะ 20
  • 21. ที่ใจความรอง (subordinate clause) ขยายคำา ใดคำา หนึ่งในประโยคเพื่อให้ได้ใจความหลัก (main clause) คำาที่ใช้ในการเชื่อมได้แก่ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ หาก แม้ว่า เพราะ แม่บอกว่า รถมาแล้ว อาจารย์สั่งให้หัวหน้าห้องไปถ่ายเอกสาร รถคันที่ฉันซื้อถูกขโมยแล้ว การทำางานที่มีประสิทธิภาพต้องวางแผนอย่าง เป็นระบบ การปฏิวัติซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งในประเทศไทย ทำาให้เศรษฐกิจหยุดชะงัก ความรู้ในเรื่องประโยคจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ เรียนในการทำาความเข้าใจเนื้อความที่มีขนาดยาว เพราะ จะสามารถแยกเนื้อความออกเป็นส่วนๆ เพื่อหาความ หมาย และวิเคราะห์ความได้ เช่น ทำางานเต็มที่ เต็มเวลา คนจำานวนหนึ่งหาเงินได้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น เพราะรักความเป็นอยู่อย่างสมถะ พอกิน พอใช้ในชีวิต ประจำาวัน แม้ว่าจะมีเวลาว่างจากการทำางานประจำาอยู่ บ้าง นอกเหนือจากงานประจำา จึงไม่เคยคิดจะทำาอะไร เพิ่มเติม สาเหตุอาจเป็นเพราะเขาไม่ได้คิดว่า ความสมถะ นั้นไม่สามารถลดไปสู่ระดับของความยากจนได้อย่าง รวดเร็ว หากเกิดเหตุการณ์ที่ทำาให้ต้องใช้จ่ายเงินจำานวน 21
  • 22. มาก หรือหากไม่สามารถทำางานได้และไม่มีเงินเก็บมาก เพียงพอ จนทำาให้ต้องกู้เงินมาใช้จ่าย โดยไม่รู้ว่าจะ สามารถผ่อนชำาระคืนได้อย่างไร หากยังทำางานใน ลักษณะเดิม ยาแก้จน. หน้า 5 คำาศัพท์ 1. เต็มที่ (ว.) 2. สมถะ (ว.) 3. ชีวิตประจำาวัน (น.) 4. เวลาว่าง (น.) 5. เพิ่มเติม (ก.) 6. สาเหตุ (น.) 7. ลดระดับ (ก.) 8. ความยากจน (น.) 9. กู้เงิน (ก.) 10.ผ่อนชำาระคืน (ก.) ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน 1. เหตุใดคนจำานวนหนึ่งจึงหาเงินได้น้อยกว่าที่ ควรจะเป็น ———————————————————— 2. สาเหตุที่ทำาให้เกิดความยากจนคืออะไร ———————————————————— 3. เรื่องนี้มีกี่ประโยค ———————————————————— ย่อหน้า (paragraph) 22
  • 23. ย่อหน้า หมายถึง การขึ้นต้นใจความใหม่โดยย่น ระยะเข้ามาจากขอบด้านซ้าย เพื่อให้ทราบว่าสิ่งที่จะ กล่าวต่อจากนี้มีเนื้อหาที่ต่างออกไป แต่ยังเกี่ยวข้องกับ ประเด็นโดยรวม หลักการเขียนย่อหน้าอย่างง่ายคือ หนึ่งย่อหน้า หนึ่งใจความ ตัวอย่างของการย่อหน้าที่ดีเป็นดังนี้ การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytical induction) การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย คือ วิธีการสร้างข้อ สรุปทั่วไปที่แสดงความจำานวนหนึ่งเป็นหลัก แล้วกล่า วอ้างความจริงทั่วไปขึ้นจากความจริงเฉพาะของข้อมูล ชุดดังกล่าว วิธีการแบบอุปนัย คือ การหาลักษณะร่วมของรูป ธรรมจำานวนหนึ่ง เพื่อทำาข้อสรุปว่ารูปธรรมเหล่านั้นมี ลักษณะอะไร เช่น เมื่อบุคคลคนหนึ่งมองเห็นโต๊ะ เก้าอี้ เตียง ตู้เสื้อผ้า ชั้นหนังสือ บุคคลนั้นก็จะทำาข้อสรุปว่าสิ่งที่ ตนเห็นนั้นคือเครื่องเรือน เพราะสิ่งของเหล่านั้น เป็น สิ่งของที่มีไว้ในบ้านเพื่อสนองความต้องการทำากิจกรรม ต่างๆ ของชีวิต ลักษณะร่วมของสิ่งเหล่านั้นก็คือเป็น สิ่งของที่มีไว้ในบ้าน เพื่อให้ผู้อย่อาศัยใช้ทำากิจกรรม ต่างๆ ถ้าบุคคลนั้นมองเห็นสุนัขตัวหนึ่ง เขาก็จะไม่สรุปว่า สุนัขเป็นเครื่องเรือนเพราะมันไม่มีลักษณะร่วมเช่นเดียว กับสิ่งอื่นๆ ที่เขาเห็น การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิง คุณภาพ. หน้า 109 23
  • 24. การเขียนย่อหน้าที่ดีต้องประกอบด้วยเอกภาพ (unity) สัมพันธภาพ (relation) วิธีการนำาเสนอที่ดี (good techniques to present idea) และมีความ ยาวที่เหมาะสม (fit length) แบบฝึกหัด จงเขียนข้อความต่อจากประโยคเริ่มที่กำาหนดไว้ ให้สมบูรณ์ 1. การศึกษาต่อต่างประเทศเป็นโอกาสอันดี สำาหรับเก็บเกี่ยว ประสบการณ์............................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. 24
  • 25. ............................................................. ....................................... 2. อาหารขยะ (junk food) ได้รับความนิยมมาก ขึ้นใน ปัจจุบัน.................................................... ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. . จงจัดเรียงประโยคด้านล่างให้อยู่ในย่อหน้าอย่าง เหมาะสม ห้องนอนถือเป็นห้องที่สำาคัญมาก ไม่ควรละเลยเด็ด ขาดโดยเฉพาะผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน ตำาแหน่งห้องนอนจะต้อง อยู่ในทิศที่เป็นมงคลเท่านั้นโดยการเช็ค ๘ ทิศภายใน บ้านหาตำาแหน่งมงคลของบ้านหลังนั้น จุดที่ต้องนำามา 25
  • 26. พิจารณาประกอบนอกจากการหาตำาแหน่งห้องนอนได้ แล้วก็คือ เตียงนอน ประตูห้องนอน ตู้เสื้อผ้า กระจกเงา หน้าต่าง โถส้วม ฯลฯ การจัดห้องนอนจะต้องคำานึงถึง ความสบายเป็นหลักเพราะเป็นห้องที่ใช้สำาหรับพักผ่อน นอนหลับ ห้องนอนควรจะโปร่ง มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และมีแสงสว่างเพียงพอ การจัดห้องนอนถ้าจัดวางไม่ดี หรือไม่ถูกต้องอาจส่งผลร้ายถึงเจ้าของห้องนั้นได้โดย เฉพาะสุขภาพของเจ้าของห้อง เคล็ดลับตกแต่งภายในตามหลักฮวงจุ้ย. หน้า 24 ............................................................................ ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... .......................... 26
  • 27. บทที่ 3 การย่อความ การสรุปความ ทักษะการย่อความและการสรุปความถือเป็นสิ่งสำาคัญ ในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร เพราะปัจจุบันการติดต่อ สื่อสารมีความสะดวกและรวดเร็ว ประชาชนจึงได้รับ ข่าวสารต่างๆ เป็นจำานวนมาก ดังนั้น จึงต้องอาศัยความ สามารถในการย่อความ และสรุปความเพื่อให้รวบรวม และทำาความเข้าใจข้อมูลเหล่านั้นได้อย่างทันท่วงที การย่อความ (short note) หมายถึง การจับเนื้อหา สาระสำาคัญของเรื่อง หรือแนวคิดสำาคัญของข้อความ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ การย่อความมีหลากหลายประเภท ได้แก่ 1. การย่อความ คือ การกล่าวอย่างกระชับ เฉพาะเนื้อหาที่สำาคัญของ ข้อความเดิมที่นำามาถ่ายทอด เนื้อหาเหล่านั้นอาจเป็นข้อ เท็จจริง หรืออาจเป็นความคิดเห็นในข้อความนั้น ตัวอย่างของการย่อความ ข้อความเดิม สื่อมวลชนสามารถจะนำาเรื่องราวต่างๆไปสู่ บุคคลเป็นจำานวนมากได้ แม้ว่าบุคคลเหล่านั้นจะแยกกัน อยู่ในสถานที่ต่างๆ กันก็ตาม นับได้ว่าสื่อมวลชนมีความ สำาคัญต่อการศึกษามาก เพราะช่วยเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้แก่มวลชนได้รวดเร็วแต่ในบรรดาสื่อมวลชนทั้ง หลายเหล่านั้น หนังสือพิมพ์รายวันมีบทบาท และอิทธิพล ต่อการศึกษามากที่สุด เพราะเสนอข่าวสารได้คงทนถาวร 27
  • 28. เป็นหลักฐาน ให้โอกาสผู้อ่านได้มีเวลาคิดตรึกตรองและ สามารถย้อนกลับไปอ่านทบทวนได้ หนังสือพิมพ์รายวัน จึงเข้าถึงมหาชน และเป็นประโยชน์ในด้านการศึกษามาก การย่อความ สื่อมวลชนเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาของ มหาชนมาก เพราะสามารถนำาข่าวสารวิชาการไปสู่บุคคล จำานวนมากได้ในเวลารวดเร็ว ในสถานที่ต่างๆกัน โดย เฉพาะหนังสือพิมพ์รายวันมีบทบาทและมีอิทธิพลมากที่สุด เพราะบันทึกข่าวสารไว้อย่างถาวร ทำาให้อ่านและคิด ทบทวนได้ 2. การสรุปความ คือ การย่อความอย่างสั้นที่สุด โดยจะกล่าวเฉพาะ ความคิดที่สำาคัญที่สุด และต้องตีความวัตถุประสงค์ของ เนื้อความที่ย่อว่าเป็นไปในทิศทางใด เช่น แนะนำา สั่ง สอน ตำาหนิ ปฏิเสธ หรือเสนอแนวทางให้เลือก เป็นต้น ตัวอย่างของการสรุปความ ข้อความเดิม ในสมัยก่อน นำ้าพุได้รับการจัดทำาขึ้นมา นอกจากจะเป็นเครื่องประดับเมืองให้สวยงามเย็นตาแล้ว ยังได้ประโยชน์สำาหรับคนยากจนมาเอานำ้าไปใช้ สำาหรับ คนเดินทางซึ่งมีสัตว์เป็นพาหนะได้อาศัยเอานำ้าพุให้สัตว์ และมักนิยมสร้างนำ้าพุอย่าง มโหฬาร มีรูปปั้นและหมู่คน หรือเทพธิดาประดับอยู่เชิงอ่างนำ้า สายนำ้าพุนั้นนิยมทำาให้ สูงขึ้นเป็นชั้นๆ และสำาหรับต่างประเทศในปัจจุบัน นำ้าพุ 28
  • 29. เป็นเพียงเครื่องประดับเมืองและเป็นสถานที่หนึ่งสำาหรับ แวะไปชมเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ในเมืองเราก็เป็นที่น่า ยินดีที่นำ้าพุเพิ่มจำานวนแห่งขึ้นอีก แม้จะไม่สวยงามเหมือน นำ้าพุในต่างประเทศ แต่ก็ยังให้ความชุ่มชื้นมิใช่น้อย การสรุปความ ในสมัยก่อนนำ้าพุมีประโยชน์หลายด้าน ทั้งให้ ความสวยงาม และเป็นแหล่งนำ้าให้แก่คนยากจน คนเดิน ทางและสัตว์ แต่ปัจจุบันกลายเป็นเครื่องประดับเพื่อความ สวยงามเพียงอย่างเดียว 3. การเล่าเรื่องย่อ คือ การกล่าวถึงเนื้อเรื่อง อย่างสั้นๆ โดยมีตัวละคร และ ความคิดสำาคัญของเรื่องที่ย่อ ความรักของแม่ ณ ตำาบลแห่งหนึ่งชื่อ ฟูกาเอะมูระ ยังมีหมอคนหนึ่งที่ ยังเป็นโสด แม่ของหมอได้ขอให้ผู้ใหญ่บ้านช่วยหาลูก สะใภ้ให้ อยู่มาวันหนึ่งในฤดูร้อนเกิดมีฝนตกพรำาๆ และได้มีผู้ หญิงสาวสวยคนหนึ่งมายืนหลบฝนอยู่ใต้ชายคาบ้านของ ผู้ใหญ่บ้าน ตอนแรกหญิงสาวคิดว่าฝนคงจะหายในไม่ช้า แต่คอยๆไปอากาศกลับยิ่งมืดครึ้ม และฝนก็กลับตกหนัก ยิ่งขึ้น ตะวันก็ใกล้จะตกดินอยู่แล้ว จึงได้ชวนให้เข้ามานั่ง คอยข้างใน คอยจนกว่าฝนจะหายและท้องฟ้าแจ่มใสขึ้น หญิงสาวก็ทำาตาม ผู้ใหญ่ได้ซักไซ้ไต่ถามและก็ได้รู้ว่า หญิงสาวนั้นยังเป็นสาวเดินทางมาจากฮิโกะ ผู้ใหญ่บ้าน นึกได้ถึงเรื่องที่มารดาของหมอหนุ่มในตำาบลนี้ขอร้อง 29
  • 30. ให้หาลูกสะใภ้ให้ หญิงนี้อาจจะเหมาะเป็นลูกสะใภ้ของ มารดาหมอก็เป็นได้ ดังนั้น ผู้ใหญ่บ้านก็ได้ทำาตัวเป็นแม่ สื่อจัดการติดต่อกับฝ่ายชาย จนกระทั่งตกลงเป็นที่ เรียบร้อย หญิงสาวจากฮิโกะก็เลยได้มาเป็นเมียหมอแห่ง ฟูกาเอะ และต่อมาก็ได้ ลูกชายคนหนึ่ง วันหนึ่ง เมื่อแม่ผัวเปิดประตูห้องเข้าไปในห้องลูก สะใภ้ นางก็ถึงกับตกตะลึงจังงัง เมื่อแลเห็นงูใหญ่ตัวหนึ่ง อยู่ในห้องนอนขดอยู่รอบตัวเด็ก ดังนั้น เมื่อหมอกลับจาก บ้านคนไข้มาถึงบ้านในตอนเย็น แลเห็นหน้ามารดาของ ตนขาวซีดจึงถามเรื่องราวดู ก็เลยได้รู้เรื่องงูที่ขดอยู่รอบ ตัวลูก แต่หมอก็ยังไม่ยอมเชื่ออย่างที่มารดาเชื่อว่า งูนั้น คือเมียของตน จนกระทั่งวันรุ่งขึ้น หมอลอบมองเข้าไป ในห้องของเมีย ก้ได้แลเห็นภาพอย่างเดียวกับที่มารดา บอกเล่าให้ฟัง หมอคิดอยู่นานว่าจะทำาอะไรดี ในที่สุดก็ เลยตัดสินใจขอหย่ากับเมีย เมียงูของหมออดเศร้าโศกไม่ ได้ ได้บอกแก่หมอว่า “ครั้งหนึ่งหลายปีมาแล้ว ท่านเคยช่วยชีวิตข้าไว้ เพื่อ ตอบแทนบุญคุณท่าน ข้าจึงได้มารับใช้ท่านในร่างของผู้ หญิงอย่างนี้ ข้าเป็นงูที่อยู่ในสระนำ้าบนภูเขาฟูเกงอย่างไร เล่า ถ้าท่านหาแม่นมดีๆ ให้ลูกเราไม่ได้ละก็ มาหาข้าที่ ภูเขาฟูเกงนะ” พูดได้เท่านั้น นางก็จากไป หมอก็นึกขึ้นได้ว่า เมื่อ หลายปีมาแล้วตนได้ช่วยชีวิตปลาไหลเผือกตัวหนึ่งไว้ ให้ พ้นจากการรังแกของเด็กๆ ในหมู่บ้านนั้น ปลาไหลนั้นจะ 30
  • 31. กลายเป็นงูไปได้ละกระมัง หมอได้พยายามหาแม่นมให้ ลูก แต่ก็หาไม่ได้ ในที่สุดจึงต้องอุ้มลูกไปที่สระนำ้าฟูเกง ตามคำาแนะนำาของเมีย เมื่อไปถึงก็ได้พบเมียในร่างคน นางได้ควักลูกตาออกมาข้างหนึ่งส่งให้สามี และสามีก็ส่ง ให้ลูก เด็กน้อยได้เลียลูกตาของแม่ และน่าแปลก ประหลาดที่ปรากฎมีนำ้านมไหลออกมาจากลูกตานั้น หมอ เห็นเช่นนั้นก็ดีใจ รีบเดินทางกลับเอาลูกผูกหลังไว้ ส่วน ลูกตาเมียใส่ไว้ในอกเสื้อ คืนนั้นเป็นคืนเดือนมืด ขณะที่เดินมาตามทางได้มี นักรบซามูไร ๒-๓ คนเดินลาดตระเวณผ่านไปทางภูเขา เมื่อแลเห็นอกของหมอพองออกมา ก็สงสัยจึงค้นตัวดู และ ปรากฏว่าลูกตาของเมียงูของหมอได้กลายเป็นรัตนะอย่าง ดีมีค่า จึงปล้นเอาไป เช้าวันรุ่งขึ้น ลูกน้อยของหมอได้ ร้องไห้ราวจะขาดใจ หมอไม่รู้จะทำาอย่างไร จึงพาลูกกลับ ไปหาเมียที่สระนำ้าฟูเกงอีกครั้งหนึ่ง แม่ผู้เหลือนัยน์ตาอยู่ เพียงข้างเดียวรู้ว่าดวงตาของตนถูกปล้นไปเช่นนั้นก็พูด ว่า “ถ้าข้าควักลูกตาให้ไปอีกข้างหนึ่ง ตาข้าก็จะบอด หมด แต่เอาเถอะ เพื่อลูก ข้ายอมทั้งนั้น” พูดแล้วก็ควักลูกตาที่เหลืออีกข้างหนึ่งส่งให้ พลาง ร้องไห้ สามีก็รับลูกตานั้นไป แล้วรีบเดินทางกลับบ้าน แต่ เจ้ากรรม พลลาดตระเวนที่มาปล้นเอาลูกตาที่กลายเป็น รัตนะไปนั้นได้เอาไปให้เจ้านายของตน และเจ้านายที่ เป็นเจ้าของที่ดินเห็นเป็นรัตนะอันสวยงาม สมควรจะได้ นำาไปให้โชกุนในเอโดะจะดีกว่า เผื่อจะได้รับรางวัลบ้าง 31
  • 32. แต่เห็นว่าควรจะมีสองลูกคู่กัน ดังนั้น จึงส่งคนไปยังภูเขา ฟูเกงเพื่อค้นหาให้ได้รัตนะเช่นเดียวกันนี้อีกลูกหนึ่ง หมอ ผู้เคราะห์ร้ายก็เลยถูกปล้นไปอีกเป็นครั้งที่สอง หมอเศร้าโศก เสียใจเป็นที่สุด จึงได้ย้อนกลับไปที่ สระนำ้าฟูเกงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้เมียฟัง คราวนี้นางโกรธจนเหลือจะกล่าว และเป็นผลให้ต่อมา เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในที่แถบนั้น บรรจบ พันธุเมธา. สตรีสาร. ฉบับวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๓ การเล่าเรื่องย่อ นิทานญี่ปุ่นเรื่องนี้ บรรจบ พันธุเมธาเป็นผู้เขียนลง นิตยสาร สตรีสาร ฉบับที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๓ โดยเล่า ว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ตำาบลแห่งหนึ่ง มีหญิงสาวแปลกหน้า มายืนหลบฝนที่บ้านผู้ใหญ่บ้าน ต่อมาได้รับการแนะนำา ให้รู้จักแก่หมอคนหนึ่งในหมู่บ้าน ก่อนจะกลายเป็นสามี ภรรยากันในที่สุด ทั้งสองอยู่กินกันจนกระทั่งมีบุตรชาย หนึ่งคน ต่อมาหมอได้ทราบว่าภรรยาของตนเป็นงู ปลอม ตัวมาตอบแทนบุญคุณของหมอ จึงเลิกรากันไป แต่บุตร ชายของหมอยังคงต้องกินนม นางงูจึงสั่งให้หมอไปหาตน ที่สระนำ้าบนภูเขา หากหมอไม่สามารถหาแม่นมได้ เมื่อ หมอพาบุตรชายไปหานาง นางก็มอบดวงตาข้างหนึ่งของ นางให้ เมื่อใดที่ลูกได้เลียกินจะมีนำ้านมไหลออกมา แต่ ระหว่างทางลูกตากลับกลายเป็นรัตนะมีค่า หมอจึงถูก ซามูไรปล้น นางงูรู้เข้าก็ยอมควักดวงตาให้อีกข้างหนึ่ง แต่ระหว่างทางหมอก็ถูกปล้นอีกเป็นครั้งที่สอง เมื่อกลับไป 32
  • 33. ครั้งที่สาม นางงูโกรธมากบันดาลให้เกิดแผ่นดินไหว อย่างรุนแรงในแถบนั้นของญี่ปุ่น แบบฝึกหัด อ่านเรื่องเล่าประสบการณ์ต่อไปนี้ แล้วย่อความ พร้อมทั้งสรุปความ อาคารเรียนของเมืองเล็กๆ ในชนบทแห่งหนึ่งได้รับ ความอบอุ่นจากเตาถ่านหินสมัยโบราณแบบที่มีปล่องไฟ ตรงกลาง เด็กผู้ชายตัวเล็กๆ คนหนึ่งมีหน้าที่ต้องมา โรงเรียนแต่เช้าทุกวันเพื่อติดไฟและทำาให้ห้องอบอุ่นก่อน ที่ครู และเพื่อนร่วมห้องจะมาถึง เช้าวันหนึ่ง พวกเขาพบว่าโรงเรียนกำาลังถูกเพลิง ไหม้ พวกเขาช่วยกันลากเด็กตัวเล็กๆ ที่ไม่ได้สติออกมา จากตึกที่กำาลังลุกไหม้ เขาดูเหมือนคนที่ตายไปแล้ว มากกว่าจะยังมีชีวิต ไฟไหม้ร่างกายท่อนล่างเป็นแผล ฉกรรจ์ เขาถูกนำาตัวส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ๆทันที ขณะนอนครึ่งหลับครึ่งตื่นอยู่บนเตียงในสภาพคนไข้ ที่ถูกไฟคลอกอย่างรุนแรง เด็กน้อยได้ยินเสียงหมอพูดกับ แม่ หมอบอกแม่ของเขาว่า ลูกชายของเธอไม่มีโอกาส รอด ซึ่งก็น่าจะดีที่สุด เพราะไฟอันร้ายกาจได้ทำาลาย ร่างกายท่อนล่างของเขาไปครึ่งหนึ่งแล้ว แต่เด็กน้อยผู้กล้าหาญยังไม่อยากตาย เขาตัดสินใจ ว่าเขาจะต้องรอด เขาจะต้องมีชีวิตรอดเพื่อให้หมอ ประหลาดใจ เมื่อพ้นขีดอันตรายถึงแก่ชีวิตมาได้ เขาก็ ได้ยินหมอและแม่พูดกันเบาๆอีกครั้งหนึ่ง หมอบอกว่า เนื่องจากไฟได้ทำาลายเนื้อส่วนใหญ่ของร่างกายท่อนล่าง 33
  • 34. ของเขาไปแล้ว การตายน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่า เพราะ เขาถูกชะตากรรมกำาหนดให้พิการตลอดชีวิต เขาจะใช้ ประโยชน์จากอวัยวะส่วนล่างของร่างกายไม่ได้อีกแล้ว เด็กน้อยผู้กล้าหาญตัดสินใจอีกครั้งหนึ่ง เขาจะต้อง ไม่พิการ เขาจะต้องเดินได้ แต่โชคร้ายที่เขาไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายตั้งแต่ ช่วงเอวลงมาได้เลย ขาผอมๆ ของเขายังอยู่ที่นั่นครบ แต่มันไม่มีชีวิต เขาได้ออกจากโรงพยาบาลในที่สุด แม่เพียรนวดขา เล็กๆของเขาทุกวัน แต่มันก็ไม่มีความรู้สึกตอบสนอง ควบคุมไม่ได้ ไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย ถึงอย่างนั้นความ ตั้งใจอย่างเด็ดเดี่ยวของเขาที่ว่าเขาต้องเดินให้ได้ก็ยัง มั่นคงอยู่เช่นเดิม หากเขาไม่ได้นอนอยู่บนเตียง เขาจะต้องนั่งอยู่ใน เก้าอี้รถเข็น ในเช้าวันหนึ่งที่อากาศสดใส แม่เข็นรถของ เขาไปที่สนามเพื่อรับอากาศบริสุทธิ์ และในวันนี้ แทนที่ เขาจะนั่งอยู่บนเก้าอี้ เขากลับเหวี่ยงตัวเองลงมา ลากตัว เองไปตามพื้นหญ้า เขาสะเปะสะปะไปจนถึงรั้วสีขาวที่กั้นอาณาเขตของ บ้านไว้ เขาพยุงตัวขึ้นมาจากรั้วด้วยความพยายามอย่าง ที่สุดแล้วเขาก็ลากตัวเองไปตามรั้วนั้นทีละก้าว ทีละก้าว ด้วยความตั้งใจว่าจะต้องเดินให้ได้ เขาเริ่มทำาเช่นนี้ทุกวัน จนกระทั่งรอบๆ สนามหญ้าข้างๆ รั้วมีแต่รอยทางเดิน เขาไม่ได้ต้องการอะไรมากไปกว่า ทำาให้ขาของเขามี ชีวิต 34
  • 35. ในที่สุดการนวดทุกวัน ความพยายามอย่างแรงกล้า และความตั้งใจอย่างเด็ดเดี่ยว ก็ทำาให้เขาสามารถยืนได้ เขาเดินแล้วพัก เดินแล้วพัก ก่อนจะเดินได้ด้วยตัวเอง และออกวิ่ง เขาเริ่มเดินไปโรงเรียน แล้วจึงวิ่งไปโรงเรียน วิ่ง เพราะสนุกสนานกับการวิ่ง พอเข้าระดับวิทยาลัย เขาก็ เข้าร่วมทีมกรีฑาของที่นั่น ชายหนุ่มผู้นี้ที่ใครต่อใครคาดว่าจะตาย ผู้ที่จะไม่ได้ เดินอีกเลยตลอดชีวิต ผู้ที่ไม่เคยหวังว่าจะวิ่งได้ ชายหนุ่มที่มุ่งมั่นผู้นี้ ด็อกเตอร์ เกลนน์ คันนิ่งแฮม เขากลายเป็นนักวิ่งระยะไกลที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก ใน การแข่งขันที่จัตุรัสเมดิสัน เบิร์ต ดูบิน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... 35
  • 36. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ................................................................. ....................................................................... ....................................................................... 36
  • 37. ....................................................................... ................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................... จงแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ได้อ่าน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... 37
  • 38. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ...................... บทที่ 4 ความเรียงและบทความ ความเรียง (essay) และบทความ (article) ถือเป็น วิธีการนำาเสนอข้อมูลที่พบได้บ่อยครั้งที่สุดในการสื่อสาร ด้วยการเขียน เพราะเป็นรูปแบบที่ง่าย ภาษาที่ใช้อยู่ใน ระดับกึ่งทางการ และทางการ โดยพิจารณาการใช้ระดับ ของภาษาตามหัวข้อเรื่องที่นำาเสนอ ความเรียงและ บทความมีองค์ประกอบเพียง 3 ส่วนสำาคัญ คือ ส่วนนำา (introduction) เนื้อเรื่อง (content) และสรุป 38
  • 39. (summary) และอาศัยการย่อหน้า (paragraph) เพื่อ แสดงถึงการเปลี่ยนใจความสำาคัญ การถ่ายทอดความคิดผ่านความเรียงและบทความ ต้องอาศัยหลักการดังนี้ 1. มีจุดมุ่งหมายของเรื่องที่แน่นอน ก่อนที่จะลงมือเขียนเรื่องใดๆ ผู้เขียนต้องตั้งจุดมุ่ง หมายให้ได้ก่อนว่า จะ เขียนเรื่องอะไร เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูล หรือ แนวคิดหลักได้อย่างเหมาะสม 2. มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตภาพ การเขียนเรื่องราวหรือบทความต้องให้ความสำาคัญ กับเอกภาพ (unity) สัมพันธภาพ (relation) และสารัตภาพ (essential) 3. มีสัดส่วนที่เหมาะสม ตามปกติ ในส่วนนำา และการสรุปนั้น จะไม่มาก เท่ากับส่วนเนื้อเรื่อง โดย จะมีเพียงแค่ส่วนละหนึ่งย่อหน้า แต่ในเนื้อเรื่องนั้นอาจ ประกอบด้วยหลายย่อหน้าได้ หากเรื่องที่ต้องการนำาเสนอ มีปริมาณมาก หรือมีความหลากหลาย การขึ้นย่อหน้า ใหม่เมื่อเปลี่ยนใจความสำาคัญจะมีประโยชน์ต่อการ ทำาความเข้าใจของผู้อ่าน 4. มีการจัดลำาดับประเด็นที่นำาเสนอ การเรียงลำาดับประเด็นในการนำาเสนอที่ดี จะช่วย ดึงดูดความสนใจของ 39
  • 40. ผู้อ่านได้ โดยสามารถเรียบเรียงประเด็นจากส่วนที่มีความ สำาคัญมากไปยังส่วนเสริม หรืออาจจะเริ่มต้นจากส่วน เสริมเพื่อโยงไปสู่จุดที่สำาคัญที่สุดของเรื่องก็ได้ ก่อนจะ ลงท้ายด้วยการกล่าวสรุปหรือฝากแง่คิดแก่ผู้อ่าน ตัวอย่างของการเรียบเรียงประเด็นเพื่อการเขียน บทความในหัวข้อเรื่อง เวลา • ความสำาคัญและคุณค่าของเวลา • กาลเวลากับความเปลี่ยนแปลงในชีวิตมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม • การใช้เวลาให้คุ้มค่าและตัวอย่างของผู้ประสบ ความสำาเร็จจากการใช้ เวลาให้เป็นประโยชน์ • คติธรรมสำาหรับเตือนใจในเรื่องเวลา การเขียนความเรียงและบทความให้ดีไม่ใช่เรื่องยาก หากแต่ต้องทราบ รายละเอียดบางประการที่ควรนำาไปปฏิบัติ ดังนี้ 1. ต้องระมัดระวังเรื่อง ตัวสะกด โดยเขียนคำาที่ถูก ต้อง เหมาะสมเสมอ 2. หมั่นขึ้นย่อหน้าใหม่ เมื่อเปลี่ยนแนวคิดใน การนำาเสนอ 3. มีการเว้นวรรค (leave a space) เมื่อจบ ใจความ 4. ไม่ควรใช้ประโยคที่ไม่สิ้นสุดใจความ เช่น หาก ในโลกนี้ไม่มีพระอาทิตย์ 40
  • 41. 5. หลีกเลี่ยงการใช้คำาซำ้ากันในที่ใกล้ๆกัน เพราะ ทำาให้ผู้อ่านรำาคาญตา 6. อ่านหนังสือให้มาก เพื่อศึกษาแนวทางการเรียบ เรียงงานเขียน เมื่อเกิด ความประทับใจในภาษาหรือสำานวน ควรจดบันทึกไว้เผื่อ นำามาใช้ได้ในอนาคต 7. สะสมนิทาน เรื่องเล่า บทร้อยกรองหรือ เหตุการณ์ที่น่าสนใจไว้เพื่อ ประกอบการเรียบเรียงงานเขียนในภายหลัง แบบฝึกหัด อ่านบทความต่อไปนี้ แล้วย่อ สรุป พร้อมกับตอบ คำาถาม อนุสรณ์แห่งความรัก ใครไปอินเดียแล้วไม่ได้ไปชมทัชมาฮาลนั้นก็ หมายความว่าไม่ได้เห็นอินเดียเลย หลายคนบอกข้าพเจ้า อย่างนี้ก่อนการออกเดินทางไปยังประเทศนั้น ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงมุ่งไปอินเดียด้วยความหวังจะได้ไปชมอนุสรณ์ แห่งรักที่โลกลือแห่งนั้น และก็นับเป็นโชคดีอย่างยิ่งที่ รายการพาไปชมสถานที่แห่งนั้นได้บรรจุอยู่ในโปรแกรม อันเต็มไปด้วยการงานของเราด้วย ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวถึงภาพที่ได้เห็นในระยะทาง 4-5 ชั่วโมง จากเดลีมายังเมืองอักราอันเป็นสถานที่ตั้งอนุสรณ์ แห่งนั้นให้มากจนเกินไป เพราะช่างเป็นภาพตรงกันข้าม 41
  • 42. กับความสง่าของทัชมาฮาล ผู้คนแต่งตัวสกปรก บ้านช่อง รกรุงรัง และกระต๊อบแคบๆ เหล่านั้น มีฝาคือดินและขี้วัว หมูตัวผอมโซผิดรูปร่าง วัวตัวเล็กลีบ หญิงคนหนึ่งกำาลัง เอาจอบโกยขี้วัวใส่ตะกร้าเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ อย่างไรก็ตาม เราก็ผ่านภาพชีวิตลำาเค็ญเหล่านั้นไป ถึงเมืองอักราเมื่อใกล้คำ่า เราคอยอยู่จนถึงเวลา 21.00 น. ซึ่งเป็นเวลาที่ดวงจันทร์ข้างแรมจะขึ้นสู่ ฟ้า สาดแสง มายังทัชมาฮาล และเมื่อเวลานั้นมาถึง เราก็ได้ไป ได้เห็น และได้ซาบซึ้งในความงามอย่างวิจิตรบรรจงของ สถาปัตยกรรมชั้นเลิศนั้น ได้หวนระลึกถึงที่มาแห่ง อนุสาวรีย์ซึ่งอุบัติเมื่อ 300 ปีเศษมาแล้ว มัมทัช มาฮาล เป็นมเหสีองค์ที่ 2 ของชาห์ เยฮัน ความงามสง่าน่ารักและความฉลาดเฉลียว รวมทั้ง คุณสมบัติของกุลสตรี ดึงดูดพระทัยของพระสวามีให้ หลงใหลในตัวเธอไม่เสื่อมคลาย แต่คนดีย่อมเป็นที่รัก ของพระเจ้าเช่นเดียวกัน มัมทัช สิ้นพระชนม์เมื่อให้ กำาเนิดแก่พระธิดาก่อนที่จะจากไปอย่างไม่มีวันกลับ ชาห์ เยฮัน พระสวามีรำ่าไห้ด้วยความสุดแสนอาลัย รับสั่งถาม พระนางว่า จะทำาอย่างไรจึงจะให้โลกรู้ว่าพระองค์รักเธอ อย่างแท้จริง กล่าวกันว่า พระนางขอร้องให้พระสวามีเอา พระทัยใส่เลี้ยงดูพระโอรสและพระธิดาให้ดี และขออย่า ทำาการอภิเษกสมรสอีกและนอกจากนั้นพระนางขอร้องให้ สร้างที่ฝังศพอันงามสง่าไม่ซำ้าแบบใครเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ เธอ 42
  • 43. ความปรารถนาของพระนางเป็นไปตามนั้นทุก ประการ ณ ริมฝั่งแม่นำ้ายมุนา ทัชมาฮาล ที่ฝังศพอันเลื่อง ลือของมัมทัช ประดิษฐานเป็นศรีสง่าแก่นครอักรา ประกาศเรื่องรักอันซาบซึ้งตรึงใจของกษัตริย์ที่มีต่อมเหสี องค์นั้นให้โลกได้ชื่นชมสืบต่อกันจนกระทั่งปัจจุบัน ทัชมาฮาล สร้างด้วยหินอ่อนล้วน ประดับด้วยแก้ว มณีอันมีค่าหลากสี มณีชิ้นน้อยถึง 64 ชิ้นรวมกันเข้าเป็น ดอกบัว แต่ละดอกประดับอยู่ภายในและภายนอก แสงจันทร์ที่สาดส่องต้องมณีเหล่านี้ ทำาให้เกิดแสงเรือง ระยิบระยับเป็นเสน่ห์แก่สายตาอย่างยิ่ง หีบศพ 2 สองคู่ คู่ หนึ่งอยู่ในอุโมงค์ข้างใต้ ซึ่งเป็นที่บรรจุร่างของสอง กษัตริย์อย่างแท้จริง และอีกคู่หนึ่งอยู่ชั้นบน เป็นหีบ จำาลองทำาด้วยหินอ่อน สลักลวดลายด้วยมณีลำ้าค่าทั้งสิ้น แสงอันสลัวจากตะเกียงที่ส่องให้นักทัศนาจรได้ชมภายใน ทัชมาฮาล เสียงกู่ร้องของผู้ดูสถานที่ที่ก้องสะท้อนไปไกล ทำาให้บรรยากาศดูศักดิ์สิทธิ์และวังเวงใจ ทุกคนทอดถอน ใจเมื่อมัคคุเทศก์เล่าว่า ชาห์ เยฮัน ในวาระสุดท้ายแห่ง ชีวิตขณะที่ถูกคุมขังได้พยายามพระองค์จ้องมองยังทัช มาฮาล ซึ่งร่างของมัมทัช มาฮาล นอนสงบรอคอยพระ สวามีอยู่ที่นั่น สุภาพสตรีผู้หนึ่งกล่าวว่า “ถ้าหากว่าอินเดียไม่มีอะไร อื่นที่จะให้ชมอีก การที่ได้ชมทัชมาฮาลเพียงอย่างเดียวก็ คุ้มค่าของการเดินทางแล้ว” สุดที่รัก. หน้า 75 – 78 43
  • 44. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ...................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... 44
  • 45. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ...................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... 45
  • 46. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ...................... ตอบคำำถำมจำกเรื่องที่อ่ำน 1. ทัช มำฮำล ตั้งอยู่ที่เมืองใด ___________________________________ 2. สภำพชีวิตของคนในเมืองเดลีจนถึงอักรำ เป็นอย่ำงไร ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ 3. จงเล่ำควำมเป็นมำของมัมทัช มำฮำล โดย สังเขป ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ___________________ 4. คำำขอร้องของมัมทัช มำฮำล คืออะไร ______________________________________ 46
  • 47. ______________________________________ ______________________________________ 5. สถำปัตยกรรมภำยในทัช มำฮำล เป็น อย่ำงไร จงอธิบำยพอสังเขป ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ 6. เหตุใดต้องมีหีบศพ 2 คู่ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ 7. จงยกตัวอย่ำงข้อควำมที่เป็นกำรพรรณนำ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ 47