SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
รายงานการวิจัยเรื่อง
การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทาง
สังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวนิยายเรื่อง วนิดา สู่
ละครโทรทัศน์
ทัตพิชา ชลวิสูตร
งานวิจัยนี้ได้รับเงินทุนสนับสนุนการวิจัยจาก
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง
ประจำาปีการศึกษา 2554
คำานำา
งานวิจัยนี้มีความมุ่งหวังจะสร้างชุดความรู้เกี่ยวกับการแปลง
วรรณกรรมต้นฉบับมาสู่ละครโทรทัศน์ โดยพิจารณาจากการเปรียบ
เทียบองค์ประกอบของนวนิยายและภาพสะท้อนทางสังคม โดยได้ร่วม
มือกันระหว่างคณาจารย์ในสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ กับคณะครุศาสตร์ พิจารณาวรรณกรรมต้นฉบับจำานวน 4
เรื่องที่ได้รับการนำามาดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ในปี พ.ศ. 2554 ได้แก่
วนิดา ค่าของคน ด้วยแรงอธิษฐาน และมาลัยสามชาย เพื่อเป็นแนวทาง
สำาหรับผู้สนใจในการศึกษานวนิยายและวรรณคดีเปรียบเทียบ และเพื่อ
นำาองค์ความรู้ที่ได้มาใช้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ
ของสาขาวิชาภาษาไทย เช่น วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมวิจารณ์
ทั้งสองหลักสูตร อันจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าให้ลุ่มลึกยิ่งขึ้น
ไป
ขอขอบคุณนางสาววาสนา แก้วมา นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย
และการสื่อสารทางธุรกิจ ชั้นปีที่ 3 และนายภาณุพงศ์ น้อยสะปุ๋ง
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย ชั้นปีที่ 2 ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำาบท
สังเคราะห์ โดยการถอดเทปและเรียบเรียงเนื้อความ อันจะเป็นประโยชน์
ในการศึกษาแนวทางการทำาวิจัยต่อไป
ทัตพิชา ชลวิสูตร
ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทาง
สังคมเพื่อศึกษาการแปลง นวนิยายเรื่อง วนิดา สู่
ละครโทรทัศน์
ผู้วิจัย : นางสาวทัตพิชา ชลวิสูตร
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง
ปีที่วิจัย : กุมภาพันธ์ 2554- มีนาคม 2555
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้เปรียบเทียบองค์ประกอบระหว่างวรรณกรรมต้นฉบับ
คือ นวนิยายเรื่อง วนิดา กับบทสังเคราะห์ที่ได้จากการชมละครโทรทัศน์
จำานวน 6 ประเด็น ได้แก่ โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บทสนทนา กลวิธี
และภาพสะท้อนทางสังคม เพื่อศึกษาการแปลงนวนิยายสู่ละครโทรทัศน์
ผลการวิจัยพบว่า การแปลงนวนิยายเรื่อง วนิดา สู่ละครโทรทัศน์
มีการรักษาโครงเรื่องให้ตรงกับวรรณกรรมต้นฉบับ ส่วนเนื้อเรื่องและ
บทบาทของตัวละครนั้นสามารถปรับลดหรือเพิ่มได้ตามความเหมาะสม
สำาหรับบทสนทนานั้น การรักษารูปแบบทางการใช้ภาษา ละครโทรทัศน์
เรื่อง วนิดาซึ่งได้มีการปรับให้เข้ากับยุคสมัยแล้ว จึงไม่ได้เคร่งครัดนัก
ส่วนฉากที่นำาเสนอตรงกับเนื้อเรื่อง เช่นเดียวกับการแต่งกายที่นำาเสนอ
ในละครโทรทัศน์มีความพิถีพิถันเหมาะสมกับบรรยากาศของเรื่องและ
บุคลิกของตัวละคร ส่วนกลวิธีที่นำาเสนอและภาพสะท้อนทางสังคมนั้น
สอดคล้องกันระหว่างนวนิยายและละครโทรทัศน์
คำาสำาคัญ การเปรียบเทียบ, องค์ประกอบของนวนิยาย, ภาพสะท้อน
ทางสังคม, การแปลง, ละครโทรทัศน์,
Title : THE COMPARISON OF STRUCTURE AND
SOCIAL REFLECTION FOR
STUDYING THE TRANSFORMATION OF
“WANIDA” TO TELEVISION DRAMA.
Researcher : Ms. Tatpicha Cholvisoot, Thai Language Major
Faculty of Humanities and Social Sciences,
Lampang Rajabhat University.
Research Year : 2011 February – 2012 March
Abstract
This research compared the structure of novel “Wanida” to
synthesis script from watching television drama in 6 topics that
were plot, character, setting, dialogue, technique, and social
reflection for studying the transformation of novel to television
drama.
The finding found that the transformation of novel
“Wanida” to television drama had to conserve the plot of novel
but the content and character role were able to decrease or
increase as proper. The conservation of novel dialogue of
“Wanida” was not strictly because it was adapted to
contemporary age. Setting of Television drama was identical to
content in the same way of dressing that appropriated carefully
to story atmosphere and character personality. Presenting
technique and social reflection was concordant to the novel.
Keywords: comparison, novel structure, social reflection,
transformation, television drama
สารบัญ
บทที่
หน้า
1
บทนำา...........................................................................................
.................................................
ความเป็นมาของ
ปัญหา............................................................................................
..................... 1
จุดมุ่งหมายของการ
วิจัย...............................................................................................
................. 3
ความสำาคัญของการ
วิจัย...............................................................................................
................ 3
ขอบเขตการ
วิจัย...............................................................................................
............................ 3
ข้อตกลงเบื้อง
ต้น.................................................................................................
.......................... 4
นิยามศัพท์
เฉพาะ............................................................................................
.............................. 4
วิธีดำาเนินการ
วิจัย...............................................................................................
........................... 4
2 เอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง......................................................................................
............
ทฤษฎีโครงสร้าง
นิยม...............................................................................................
..................... 7
องค์ประกอบของ
นวนิยาย.........................................................................................
................... 7
ภาพสะท้อนทาง
สังคม.............................................................................................
..................... 10
ละคร
โทรทัศน์........................................................................................
...................................... 11
งานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง........................................................................................
............................... 14
3 การวิเคราะห์องค์ประกอบของนวนิยายเรื่อง
วนิดา...................................................................
เนื้อเรื่อง
ย่อ.................................................................................................
................................. 15
โครง
เรื่อง..............................................................................................
........................................ 20
ตัว
ละคร.............................................................................................
.......................................... 23
ฉาก...............................................................................................
............................................... 43
กลวิธี.............................................................................................
............................................... 44
ภาพสะท้อนทาง
สังคม.............................................................................................
..................... 46
4 การวิเคราะห์บท
สังเคราะห์....................................................................................
.....................
เนื้อเรื่อง
ย่อ.................................................................................................
.................................. 51
โครง
เรื่อง..............................................................................................
........................................ 56
ตัว
ละคร.............................................................................................
.......................................... 57
ฉาก...............................................................................................
............................................... 89
บท
สนทนา..........................................................................................
......................................... 89
กลวิธี.............................................................................................
............................................... 89
ภาพสะท้อนทาง
สังคม.............................................................................................
..................... 90
สารบัญ (ต่อ)
บทที่
หน้า
5 การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคม
ของนวนิยายกับโทรทัศน์...................
ตารางการเปรียบ
เทียบ.............................................................................................
...................... 91
6 บทสรุปและอภิปราย
ผล................................................................................................
................ 122
ข้อเสนอแนะงาน
วิจัย...............................................................................................
...................... 128
บรรณานุกรม...............................................................................
............................................................... 129
ภาค
ผนวก...........................................................................................
......................................................... 131
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวน

More Related Content

More from Kun Cool Look Natt

แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านKun Cool Look Natt
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล Kun Cool Look Natt
 

More from Kun Cool Look Natt (6)

แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
 

รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวน