SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
การเขียนแสดงความรู้
คนสมัยโบราณมีการถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น
ด้วยการเขียนบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร เช่น
การจารึกไว้ในศิลาจารึก การบันทึกตารายาใน
สมุดข่อย ถ้าไม่มีการบันทึกไว้ความรู้ก็จะสูญหาย
ปัจจุบันมีความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยผู้รู้
เขียนแสดงความรู้เป็ นตารา บทความ สารคดี
ต่างๆ ผู้เรียนจึงควรฝึ กเขียนแสดงความรู้ เพื่อ
ถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองรู้ให้ผู้อื่นทราบและเพื่อเป็ น
การแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
หลักการเขียนแสดงความรู้
 ๑) มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนว่าต้องการจะสื่อสาร
เรื่องอะไร ให้ความรู้ ให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านอย่างไร
 ๒) กาหนดหัวเรื่องที่ผู้เขียนต้องมีความรู้และมีข้อมูล
ประกอบการเขียน
 ๓) ศึกษาค้นคว้า รวบรวมความรู้ ความคิด ให้เป็ นระบบ
เพื่อจัดทาโครงเรื่องและลาดับเนื้อหาในการเขียน
ถ่ายทอดให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจน
 ๔) เขียนอธิบายตามลาดับโครงเรื่อง โดยใช้ภาษาให้
สละสลวย ใช้ประโยชน์ง่าย เหมาะสมกับวัยผู้อ่าน
การเขียนแสดงความคิดเห็น
 การเขียนแสดงความคิดเห็นเป็นการเขียนที่ประกอบด้วยเหตุผล มี
ข้อมูลมีหลักฐานที่ผู้อื่นจะเชื่อถือได้ การเขียนแสดงความคิดเห็นมี
หมายรูปแบบ บางครั้งก็เขียนออกมาในรูปของจดหมาย บทความ
บันทึก บรรยายพรรณนา ฯลฯ การเขียนในลักษณะดังกล่าวหากเขียน
เพื่อลงพิมพ์ในสื่อมวลชน งานเขียนนั้นจะต้องได้รับการกลั่นกรองมา
เป็นอย่างดี ภาษาที่ใช้ต้องสุภาพและไม่ทาให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
 1) การเลือกเรื่องผู้เขียนควรเลือกเรื่องที่เป็นที่สนใจของสังคมหรือเป็นเรื่อง
ที่ทันสมัยอาจเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมืองเศรษฐกิจสังคม ศาสนา ศิลปะ
วิทยาศาสตร์ หรือข่าวเหตุการณ์ประจาวัน ทั้งนี้ผู้เขียนต้องมีความรู้และ
เข้าใจเรื่องที่ตนจะแสดงความคิดเห็นเป็นอย่างดี เพื่อที่จะแสดงความคิดเห็น
อย่างลึกซึ้ง
 2) การให้ข้อเท็จจริงข้อมูลที่เลือกมานั้นจะต้องมีรายละเอียดต่างๆ เช่น ที่มา
ของเรื่อง ความสาคัญ และเหตุการณ์เป็นต้น
 3) การลาดับ ควรลาดับเรื่องให้มีความต่อเนื่องสอดคล้องกันตั้งแต่ต้นจน
จบไม่ควรเขียนวกไปวนมา เพราะผู้อ่านอาจเกิดความสับสนจนไม่สามารถ
แยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริงและส่วนใดเป็นการแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคิดเห็น ควรประกอบด้วย
 ที่มา คือ ส่วนที่เป็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือต้นเรื่องที่ผู้เขียนต้องการจะแสดง
ความคิดเห็นที่มาของการแสดงคิดเห็นจะช่วยให้เห็นถึงความจาเป็นที่จะต้อง
แสดงความคิดเห็น ส่วนนี้จะช่วยให้ผู้รับสารเข้าใจเรื่องราว และพร้อมที่จะรับ
ฟังความคิดเห็นนั้น
 ข้อสนับสนุนคือข้อเท็จจริง หลักการรวมทั้งข้อมูลอันเป็นความคิดเห็นของ
ผู้อื่นที่ผู้แสดงความคิดเห็นนามาประกอบเพื่อให้ความคิดเห็นของตนมี
น้าหนักน่าเชื่อถือ
 ข้อสรุป คือ สิ่งที่ต้องการสื่อให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านยอมรับหรือนาไปปฏิบัติ
ข้อสรุปอาจเป็นข้อเสนอแนะ ข้อสันนิษฐาน หรือการประเมินค่าซึ่งผู้แสดง
ความคิดเห็นนาเสนอ
การเขียนแสดงภาพ / พรรณนาโวหาร
 มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยาย
โวหาร คือ มุ่งให้ให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้ง
เพลิดเพลินไปกับข้อความนั้น การเขียน
พรรณนาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก
แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ เพราะพรรณนา
โวหารต้องมุ่งให้ภาพและอารมณ์ ดังนั้น จึงมัก
ใช้การเล่นคา เล่นเสียง ใช้ภาพพจน์ แม้
เนื้อความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มด้วยสานวน
โวหารที่ไพเราะ อ่านได้รสชาติ
หลักการเขียนพรรณนาโวหาร
 1. ต้องใช้คาดี หมายถึง เลือกสรรถ้อยคาเพื่อให้สื่อ
ความหมาย สื่อภาพ สื่ออารมณ์เหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่
ต้องการ พรรณนา ควรเลือกคา ที่ให้ความหมายชัดเจน
ทั้งอาจต้องเลือกให้เสียงคาสัมผัสกัน เพื่อเกิดเสียง
เสนาะอย่างสัมผัสสระ สัมผัสอักษรในงานร้อยกรอง
 2. ต้องมีใจความดี แม้จะพรรณนายืดยาว แต่ใจความ
ต้องมุ่งให้เกิดภาพ และอารมณ์ความรู้สึกสอดคล้องกับ
เนื้อหาที่กาลังพรรณนา
หลักการเขียนพรรณนาโวหาร
 3. อาจต้องใช้โวหาร ภาพพจน์ คือ การเปรียบเทียบเพื่อให้
ได้ภาพชัดเจน และมักใช้ศิลปะการใช้คา ที่ เรียกว่า
ภาพพจน์ประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ เป็ นวิธีการที่จะทาให้
พรรณนาโวหารเด่น ทั้งการใช้คาและการใช้ภาพที่แจ่มแจ้ง
อ่านแล้วเกิดจินตนาการและความรู้สึกคล้อยตาม
 4. ในบางกรณีอาจต้องใช้สาธกโวหารประกอบด้วย คือ
การยกตัวอย่างเพื่อให้เกิดความแจ่มแจ้ง โดยยกตัวอย่าง
สิ่งที่ละม้ายคล้ายคลึงกัน เพื่อให้เกิดภาพและอารมณ์
เด่นชัด พรรณนาโวหารมักใช้กับการชมความงาม ต่าง ๆ
เช่น ชมสถานที่ สรรเสริญบุคคล หรือใช้พรรณนาอารมณ์
ความรู้สึก เช่น รัก เกลียด โกธร แค้น เศร้าสลด เป็ นต้น
ตัวอย่างพรรณนาโวหารแบบร้อยแก้ว
 …ขณะพระองค์เสด็จมาใกล้เบญจคีรีนครคือรา
ชคฤห์ เป็ นเวลาจวนสิ้นทิวาวาร แดดในยามเย็น
กาลังลงสู่สมัยใกล้วิกาล ทอแสงแผ่ซ่านไปยังสาลี
เกษตร แลละลิ่วเห็นเป็ นทางสว่างไปทั่วประเทศสุด
สายตา ดูประหนึ่งมีหัตถ์ทิพย์มาปกแผ่อานวยสวัสดี
เบื้องบนมีกลุ่มเมฆเป็ นคลื่นซับซ้อนสลับกันเป็ นทิว
แถว ต้องแสงแดดจับเป็ นสีระยับวะวับแววประหนึ่ง
เอาทรายทองมาโปรยปราย เลื่อนลอยละลิ่วๆ เรี่ยๆ
รายลงจดขอบฟ้ า
 (กามนิต : เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป )
ตัวอย่างการเขียนแสดงภาพ
 เบื้องหน้าเป็ นความสดใสของดอกซากุระ ซึ่งผลิบานดอกสีชมพูเต็มต้น
ความอ่อนโยนที่สุขล้นนั้นเต็มเปี่ ยมในคลองสายตา หากในขณะเดียวกัน
ยังคงมองเห็นอาคารญี่ปุ่ นสูงหลายชั้นทางขวามือ เหลี่ยมโค้งที่ประณีต
สร้างสีสันที่บรรจงแต่ง ไม่ว่าผู้ใดได้พบเห็นย่อมเอ่ยชมถึงความ
ละเอียดลออได้เต็มปากว่าสวยงามยิ่งนัก ยามมองเลยผ่านความ
สวยงามทั้งที่มนุษย์เป็ นผู้สร้างขึ้นและธรรมชาติเป็ นผู้สร้างขึ้นแล้ว จะ
พบเห็นเมืองที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา เมืองที่แม้จะมีขนาดใหญ่เปี่ ยมล้นด้วย
ผู้คน หากแต่เมื่อมองลงมาจากที่สูงเมืองอันแออัดใหญ่โตกลับดูเล็กลงไป
ถนัดตา ถัดออกไปคั่นด้วยผืนป่ าเขียวขจี ภูเขาสูงไกลตาตั้งเด่นเป็ นสง่า
ฐานภูเขาสีครามเข้มใต้ท้องฟ้ าสีครามอ่อน ความงามของภูเขาที่ขึ้นชื่อ
สวยที่สุดในญี่ปุ่ น เห็นเด่นชัดในเวลากลางวันที่แสงแดดกาลังเจิดจ้า พิศ
ไปแล้วยอดเขาซึ่งมีสีขาวเฉกเช่นเดียวกับกลุ่มเมฆเบื้องหลังราวกับกาลัง
ส่องสว่างออกมามากกว่าปกติ ระยับตาประทับใจยิ่งนัก
(จากhttp://www.dek-d.com/board/view/2255074/)
ให้นักเรียนเขียนแสดงภาพ จากรูปภาพ
ต่อไปนี้ (เลือกเพียงรูปภาพเดียว)
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์

More Related Content

What's hot

คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการjustymew
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาP'kob Nong'kob
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 

What's hot (20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 

Viewers also liked

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 Yui Siriwararat
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตNattapon
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Yui Siriwararat
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 

Viewers also liked (20)

Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 

More from kingkarn somchit

วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระkingkarn somchit
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 

More from kingkarn somchit (9)

คำคน คำคม
คำคน คำคมคำคน คำคม
คำคน คำคม
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
คำ
คำคำ
คำ
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์

  • 2. การเขียนแสดงความรู้ คนสมัยโบราณมีการถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น ด้วยการเขียนบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร เช่น การจารึกไว้ในศิลาจารึก การบันทึกตารายาใน สมุดข่อย ถ้าไม่มีการบันทึกไว้ความรู้ก็จะสูญหาย ปัจจุบันมีความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยผู้รู้ เขียนแสดงความรู้เป็ นตารา บทความ สารคดี ต่างๆ ผู้เรียนจึงควรฝึ กเขียนแสดงความรู้ เพื่อ ถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองรู้ให้ผู้อื่นทราบและเพื่อเป็ น การแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
  • 3. หลักการเขียนแสดงความรู้  ๑) มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนว่าต้องการจะสื่อสาร เรื่องอะไร ให้ความรู้ ให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านอย่างไร  ๒) กาหนดหัวเรื่องที่ผู้เขียนต้องมีความรู้และมีข้อมูล ประกอบการเขียน  ๓) ศึกษาค้นคว้า รวบรวมความรู้ ความคิด ให้เป็ นระบบ เพื่อจัดทาโครงเรื่องและลาดับเนื้อหาในการเขียน ถ่ายทอดให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจน  ๔) เขียนอธิบายตามลาดับโครงเรื่อง โดยใช้ภาษาให้ สละสลวย ใช้ประโยชน์ง่าย เหมาะสมกับวัยผู้อ่าน
  • 4. การเขียนแสดงความคิดเห็น  การเขียนแสดงความคิดเห็นเป็นการเขียนที่ประกอบด้วยเหตุผล มี ข้อมูลมีหลักฐานที่ผู้อื่นจะเชื่อถือได้ การเขียนแสดงความคิดเห็นมี หมายรูปแบบ บางครั้งก็เขียนออกมาในรูปของจดหมาย บทความ บันทึก บรรยายพรรณนา ฯลฯ การเขียนในลักษณะดังกล่าวหากเขียน เพื่อลงพิมพ์ในสื่อมวลชน งานเขียนนั้นจะต้องได้รับการกลั่นกรองมา เป็นอย่างดี ภาษาที่ใช้ต้องสุภาพและไม่ทาให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
  • 5. หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น  1) การเลือกเรื่องผู้เขียนควรเลือกเรื่องที่เป็นที่สนใจของสังคมหรือเป็นเรื่อง ที่ทันสมัยอาจเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมืองเศรษฐกิจสังคม ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ หรือข่าวเหตุการณ์ประจาวัน ทั้งนี้ผู้เขียนต้องมีความรู้และ เข้าใจเรื่องที่ตนจะแสดงความคิดเห็นเป็นอย่างดี เพื่อที่จะแสดงความคิดเห็น อย่างลึกซึ้ง  2) การให้ข้อเท็จจริงข้อมูลที่เลือกมานั้นจะต้องมีรายละเอียดต่างๆ เช่น ที่มา ของเรื่อง ความสาคัญ และเหตุการณ์เป็นต้น  3) การลาดับ ควรลาดับเรื่องให้มีความต่อเนื่องสอดคล้องกันตั้งแต่ต้นจน จบไม่ควรเขียนวกไปวนมา เพราะผู้อ่านอาจเกิดความสับสนจนไม่สามารถ แยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริงและส่วนใดเป็นการแสดงความคิดเห็น
  • 6. การเขียนแสดงความคิดเห็น ควรประกอบด้วย  ที่มา คือ ส่วนที่เป็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือต้นเรื่องที่ผู้เขียนต้องการจะแสดง ความคิดเห็นที่มาของการแสดงคิดเห็นจะช่วยให้เห็นถึงความจาเป็นที่จะต้อง แสดงความคิดเห็น ส่วนนี้จะช่วยให้ผู้รับสารเข้าใจเรื่องราว และพร้อมที่จะรับ ฟังความคิดเห็นนั้น  ข้อสนับสนุนคือข้อเท็จจริง หลักการรวมทั้งข้อมูลอันเป็นความคิดเห็นของ ผู้อื่นที่ผู้แสดงความคิดเห็นนามาประกอบเพื่อให้ความคิดเห็นของตนมี น้าหนักน่าเชื่อถือ  ข้อสรุป คือ สิ่งที่ต้องการสื่อให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านยอมรับหรือนาไปปฏิบัติ ข้อสรุปอาจเป็นข้อเสนอแนะ ข้อสันนิษฐาน หรือการประเมินค่าซึ่งผู้แสดง ความคิดเห็นนาเสนอ
  • 7. การเขียนแสดงภาพ / พรรณนาโวหาร  มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยาย โวหาร คือ มุ่งให้ให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้ง เพลิดเพลินไปกับข้อความนั้น การเขียน พรรณนาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ เพราะพรรณนา โวหารต้องมุ่งให้ภาพและอารมณ์ ดังนั้น จึงมัก ใช้การเล่นคา เล่นเสียง ใช้ภาพพจน์ แม้ เนื้อความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มด้วยสานวน โวหารที่ไพเราะ อ่านได้รสชาติ
  • 8. หลักการเขียนพรรณนาโวหาร  1. ต้องใช้คาดี หมายถึง เลือกสรรถ้อยคาเพื่อให้สื่อ ความหมาย สื่อภาพ สื่ออารมณ์เหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่ ต้องการ พรรณนา ควรเลือกคา ที่ให้ความหมายชัดเจน ทั้งอาจต้องเลือกให้เสียงคาสัมผัสกัน เพื่อเกิดเสียง เสนาะอย่างสัมผัสสระ สัมผัสอักษรในงานร้อยกรอง  2. ต้องมีใจความดี แม้จะพรรณนายืดยาว แต่ใจความ ต้องมุ่งให้เกิดภาพ และอารมณ์ความรู้สึกสอดคล้องกับ เนื้อหาที่กาลังพรรณนา
  • 9. หลักการเขียนพรรณนาโวหาร  3. อาจต้องใช้โวหาร ภาพพจน์ คือ การเปรียบเทียบเพื่อให้ ได้ภาพชัดเจน และมักใช้ศิลปะการใช้คา ที่ เรียกว่า ภาพพจน์ประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ เป็ นวิธีการที่จะทาให้ พรรณนาโวหารเด่น ทั้งการใช้คาและการใช้ภาพที่แจ่มแจ้ง อ่านแล้วเกิดจินตนาการและความรู้สึกคล้อยตาม  4. ในบางกรณีอาจต้องใช้สาธกโวหารประกอบด้วย คือ การยกตัวอย่างเพื่อให้เกิดความแจ่มแจ้ง โดยยกตัวอย่าง สิ่งที่ละม้ายคล้ายคลึงกัน เพื่อให้เกิดภาพและอารมณ์ เด่นชัด พรรณนาโวหารมักใช้กับการชมความงาม ต่าง ๆ เช่น ชมสถานที่ สรรเสริญบุคคล หรือใช้พรรณนาอารมณ์ ความรู้สึก เช่น รัก เกลียด โกธร แค้น เศร้าสลด เป็ นต้น
  • 10. ตัวอย่างพรรณนาโวหารแบบร้อยแก้ว  …ขณะพระองค์เสด็จมาใกล้เบญจคีรีนครคือรา ชคฤห์ เป็ นเวลาจวนสิ้นทิวาวาร แดดในยามเย็น กาลังลงสู่สมัยใกล้วิกาล ทอแสงแผ่ซ่านไปยังสาลี เกษตร แลละลิ่วเห็นเป็ นทางสว่างไปทั่วประเทศสุด สายตา ดูประหนึ่งมีหัตถ์ทิพย์มาปกแผ่อานวยสวัสดี เบื้องบนมีกลุ่มเมฆเป็ นคลื่นซับซ้อนสลับกันเป็ นทิว แถว ต้องแสงแดดจับเป็ นสีระยับวะวับแววประหนึ่ง เอาทรายทองมาโปรยปราย เลื่อนลอยละลิ่วๆ เรี่ยๆ รายลงจดขอบฟ้ า  (กามนิต : เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป )
  • 11.
  • 12. ตัวอย่างการเขียนแสดงภาพ  เบื้องหน้าเป็ นความสดใสของดอกซากุระ ซึ่งผลิบานดอกสีชมพูเต็มต้น ความอ่อนโยนที่สุขล้นนั้นเต็มเปี่ ยมในคลองสายตา หากในขณะเดียวกัน ยังคงมองเห็นอาคารญี่ปุ่ นสูงหลายชั้นทางขวามือ เหลี่ยมโค้งที่ประณีต สร้างสีสันที่บรรจงแต่ง ไม่ว่าผู้ใดได้พบเห็นย่อมเอ่ยชมถึงความ ละเอียดลออได้เต็มปากว่าสวยงามยิ่งนัก ยามมองเลยผ่านความ สวยงามทั้งที่มนุษย์เป็ นผู้สร้างขึ้นและธรรมชาติเป็ นผู้สร้างขึ้นแล้ว จะ พบเห็นเมืองที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา เมืองที่แม้จะมีขนาดใหญ่เปี่ ยมล้นด้วย ผู้คน หากแต่เมื่อมองลงมาจากที่สูงเมืองอันแออัดใหญ่โตกลับดูเล็กลงไป ถนัดตา ถัดออกไปคั่นด้วยผืนป่ าเขียวขจี ภูเขาสูงไกลตาตั้งเด่นเป็ นสง่า ฐานภูเขาสีครามเข้มใต้ท้องฟ้ าสีครามอ่อน ความงามของภูเขาที่ขึ้นชื่อ สวยที่สุดในญี่ปุ่ น เห็นเด่นชัดในเวลากลางวันที่แสงแดดกาลังเจิดจ้า พิศ ไปแล้วยอดเขาซึ่งมีสีขาวเฉกเช่นเดียวกับกลุ่มเมฆเบื้องหลังราวกับกาลัง ส่องสว่างออกมามากกว่าปกติ ระยับตาประทับใจยิ่งนัก (จากhttp://www.dek-d.com/board/view/2255074/)