SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
 รูปแบบ 
มทันะพาธามีรูปแบบคำาประพันธ์เป็นคำาฉันท์ 
คือ มคีำาประพันธ์ประเภทฉันท์และกาพย์ เช่น 
กาพย์ฉบัง๑๖ กาพย์ยานี๑๑ กาพย์ 
สุรางคนางค์ ๒๘ อินทวงสฉันท์ ๑๒ วสนัตดิลก 
ฉันท๑์๔ และมบีทเจรจาร้อยแก้วใส่ในส่วนของ 
ตัวละครที่ไม่สำาคัญ
 โครงเรื่อง 
เป็นบทละครพูดคำาฉันท์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า 
อยู่หัวทรงคิดโครงเรื่องเอง ไม่ได้ตัดตอนมาจากวรรณคดี 
เรื่องใด แก่นสำาคัญของเรื่องมีอยู่ ๒ ประการ คือ 
๑) ทรงปราถนาจะกล่าวถึงตำานานดอก 
กุหลาบ ซึ่งเป็นดอกไม้ที่สวยงาม แต่ไม่เคยมีตำานานใน 
เทพนิยาย จึงพระราชนิพนธ์ให้ดอกกุหลาบมีกำาเนิดมาจาก 
นางฟ้าทถีู่กสาปให้จุติลงมาเกิดเป็นดอกไม้ชื่อว่า "ดอกกุพฺ 
ชกะ" คือ "ดอกกุหลาบ" 
๒) เพื่อแสดงความเจ็บปวดอันเกิดจาก 
ความรกั ทรงแสดงให่เห็นว่าความรักมีอนุภาพอย่างยิ่ง ผู้ 
ใดมีความรักก็อาจเกิดความหลงขึ้นตามมาด้วย ทรงใช้ชื่อ 
เรื่องว่า "มัทนะพาธา" อันเป็นชื่อของตัวละครเอกของเรื่อง 
ซึ่งมีความหมายว่า "ความเจ็บปวดหรือความเดือดร้อนอัน 
เกิดจากความรัก" มีการผูกเรื่องให้มีความขัดแย้งซึ่งเป็นปม
 แก่นของเรื่อง 
คือ ความเจ็บปวด หรือความเดือดร้อนอันเนอื่ง 
มาจากความรัก
 ตัวละคร 
สุเทษณะเทพบุตร์ เป็นเทพบุตรที่หมกมุ่น 
ในตัณหาราคะ เจ้าอารมณ์ เอาแต่ใจตนเอง และไม่ 
คำานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น
 มัทนา ซื่อสัตย์ นิสัยตรงไปตรงมา คิดอย่างไรก็พูดอย่าง 
นั้น ไม่รักก็บอกตรงๆ ไม่พูดปดหลอกลวง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม พูด 
แต่ความจริง แต่ความจริงที่นางพูดทำาให้นางต้องได้รับความ 
ลำาบากทุกข์ระทมใจ ดังตัวอย่างเมื่อสุเทษณบ์อกรักนางและขอ 
นางให้คำาตอบ 
 มายาวิน 
วิทยาธร ผู้มีวิชาอาคมใช้เวทย์มนต์เรียกนางมัทนามาพบสุ 
เทษณะเทพบุตร์ทั้งๆที่ยังหลับไหล อันเป็นบ่อเกิดแก่โทสะ 
ของสุเทษณะเทพบุตร์ต่อนางมัทนา
 ฉาก 
วิมานของเทพบุตรสุเทษณ์,บนสวรรค์ 
เทพบุตรสุเทษณ์อยู่กับวิทยาธรมายาวินซึ่งกำาลังทำาพิธี 
สะกดนางมัทนามายาวินนั่งประนมมือสักครู่มัทนาเดินออกมา 
ตาจ้องเป๋งไม่แลดูใครด้วยอาการที่ถูกสะกด สุเทษณเ์ห็นนาง 
มัทนาก็ลุกลงมาจากบัลลังก์เพื่อมาต้อนรับแต่ครั้นเห็นนาง 
มัทนาไม่ยิ้มแย้มก็ชงักแล้วหันไปพูดกับมายาวิน
 กลวิธีการดำาเนินเรื่อง 
การดำาเนินเรื่องกำาหนดให้สุเทษณ์สาปนางมัทนาให้เป็น 
ดอกกุหลาบ ต่อเมื่อถึงคืนเดือนเพ็ญจะกลายร่างเป็นหญิงรูปงามหนึ่ง 
วันหนึ่งคืน หากมีความรักเมื่อใดจึงจะกลายเป็นมนุษย์อย่างถาวร 
และขอให้นางพบกับความทุกข์ระทมจากความรัก หากนางมีความ 
ทุกข์ระทมเพราะความรักเมื่อก็ให้ไปอ้อนวอนสุเทษณๆ์ จึงจะยกโทษ 
ให้ เพราะสุเทษณ์เทพบุตรหวังว่าเมื่อนางต้องผิดหวังทกุข์ระทม 
เพราะความรัก คงจะเห็นใจตนและยินดีรับรักบ้าง
ด้านวรรณศิลป์ 
การใช้คำา 
ใช้ถ้อยคำาและรูแบบคำาประพันธ์เหมาะสมกับเนื้อหา ทำาให้ 
ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม เกิดความประทับใจอยาก 
ติดตามอ่าน เช่น เมื่อมายาวินเล่าเรื่องราวในอดีตถวายสุ 
เทษณ์ว่าเหตุใดมัทนาจึงไม่รักสุเทษณ์ กวีเลือกใช้ 
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ที่มีท่วงทำานองเร็วเหมาะแก่การเล่า 
ความ หรือบรรยายเรื่อง ส่วนเนื้อหาตอนสุเทษณฝ์ากรัก 
นางมัทนานั้นใช้วสันตดิลกฉันท์ ซึ่งมีท่วงทำานองทอี่่อน 
หวาน เมื่อสุเทษณก์ริ้วนางมัทนาก็ไช้ กมลฉันท์ ซึ่งมีคำาครุ 
ลหุที่มีจำานวนเท่ากันแต่ขึ้นต้นด้วยคำาลหุ จึงมีทำานองประแท 
กกระทั้นถ่ายทอดอารมณ์โกรธเกรี้ยวได้ดี
โวหารภาพพจน์ 
กวีใช้อุปมาโวหารในการกล่าวชมความงามของนางมัทนา 
ทำาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพความงามของ มัทนาเด่นชัดขนึ้
รสวรรณคดี 
รสวรรณคดีไทย 
๑ เสาวรจนี 
เสาวรจนี (บทชมโฉม) คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง 
งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุภาสุพรรณ 
งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน 
งามเกศะดำาขำา กลนำ้า ณ ท้องละหาน 
งามเนตรพินิจปาน สุมณมีะโนหะรา
๒. นารีปราโมทย์ 
นารีปราโมทย์ (บทเกี้ยวโอ้โลม) คือการกล่าวแสดงความรัก 
ทั้งการเกี้ยวพาราสีกัน 
สุเทษณ์ รักจริงมิจริงฤก็ไฉน อรไทบ่ 
แจ้งการ? 
มัทนา รักจริงมิจริงก็สุระชาญ ชยะโปรดสถาน 
ใด? 
สุเทษณ์ พี่รักและหวังวธุจะรัก และบท 
อดทิ้งไป 
มัทนา พระรักสมัครณพระหทัย ฤจะทอดจะทิ้ง 
เสีย? 
พิโรธวาทัง 
โรธวาทัง(บทตัดพ้อ) คือการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์ไม่พอใจ 
ทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, 
ละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, 
นุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, 
ดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน
๔. สัลลาปังคพิสัย 
สัลลาปังคพิสัย (บทโศก) คือการโอดครวญ หรือบท 
โศกอันว่าด้วยการจากพรากสิ่งอันเป็นที่รัก 
ชีพอยู่ก็เหมือนตาย, เพราะมิวายระทวยระทม 
ทุกข์ยากและกรากกรม อุระชำ้าระกำาทวี.
รสวรรณคดีสันสกฤต 
๑. ศฤงคารรส 
ศฤงคารรส เป็นรสที่กล่าวถึงการซาบซึ้งในความรัก พูดจาอ่อน 
หวาน 
จริตกิริยาแช่มช้อยชม้ายชายตา 
พี่นี้นะรักเจ้า และจะเฝ้าประคับประคอง 
ค๒ู่ช. ิดเรสานทิทรนร้อสง บ่มิให้ระคางระคาย. 
รุทรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) บทบรรยายหรือ 
พรรณนาที่ทำาให้ผู้ดูผู้อ่านขัดใจฉุนเฉียว ขัดเคืองบุคคลบางคนใน 
เรื่อง บางทีถึงกับขว้างหนังสือทิ้ง หรือฉีกตอนนั้นก็มี รสนี้ เทียบ 
ได้กับรสวรรณคดีไทยคือ พิโรธวาทัง 
มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, 
ตะละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, 
ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, 
วนิดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน 
สุเทษณ์ :(ตวาด)แหม มทันา เจ้านชี่่างเจ้าเล่ห์นัก 
แต่ละคำาทพีู่ดออกมา มแีต่คำาไมดี่ ช่างเป็นคำาพูดที่ 
ตลบตะแลง เมอื่ข้าถาม เจ้าก็ไมต่อบ และไมเ่ต็มใจ 
ฟัง ถ้าใหเ้จ้าได้หัวใจไป เจ้าก็จะไมรั่บรัก ข้าจึงจะ 
ใหเ้จ้าไปจากสวรรค์ เพราะถ้าหากเจ้าไปชอบคนอื่น 
เข้าข้ากค็งจะทรุนทรุาย โศกเศร้า ไมอ่ยากจะได้ยิน 
ได้เหน็อีก เพราะฉะนนั้จะใหเ้จ้าไปจุติทโี่ลกมนุษย์ 
เจ้าต้องการจะเกิดรูปใดล่ะเป็นสัตว์2เท้า หรือ 
สตัว์4เท้า หรือจะเป็นอย่างอื่น เลือกตามใจเจา้เถอะ 
แล้วข้าจะสาปใหเ้จ้าเป็นเช่นนนั้ จนกว่าเจ้าจะสำานึก 
ในความผิดของตนเอง และอ้อนวอนข้า เมอื่นนั้ ข้า 
จะใหเ้จ้ากลับสวรรค์ดังเดิม แล้วตกลงเจ้าจะเป็น 
อะไรล่ะ
๒. เราทรรส 
รุทรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) บทบรรยายหรือ 
พรรณนาที่ทำาให้ผู้ดูผู้อ่านขัดใจฉุนเฉียว ขัดเคืองบุคคลบางคนใน 
เรื่อง บางทีถึงกับขว้างหนังสือทิ้ง หรือฉีกตอนนั้นก็มี รสนี้ เทียบ 
ได้กับรสวรรณคดีไทยคือ พิโรธวาทัง 
มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, 
ตะละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, 
ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, 
วนิดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน
 บทที่สะเทือนใจ 
มัทนา: แต่หากฤดีบอะภริมย์ 
จะเฉลยฉะนั้นจัก 
เป็นปดและลวงบุรุษะ 
รัก ก็จะหลงละเลิงไป. 
ตูข้าพระบาทสิสุจริต 
บมิคิดจะปดใคร, 
จึ่งหวังและมุ่งมะนะสะใน 
วรแเมปตลต .ะธรรมา. 
แต่ถ้าหากไม่ ก็จะเป็นการหลอกลวงถา้ 
หากรับรัก 
คนรักก็จะหลงดีใจไป สำาหรับตัวหม่อมฉัน 
นี้ไม่คิดที่จะโกหกใคร หวังมุ่งในธรรมะ
 สุเทษณ์ ด้วยอำานาจอิทธฤิ์ทธี อันประมวลมี ณ ตัวกูผู้แรง 
หาญ, 
กสูาปมัทนานงคราญ ใหจุ้ติผ่าน ไปจากสุราลัย 
เลิศ, 
สู่แดนมนุษย์และเกิด เป็นมาลีเลิศ อันเรียกว่ากพฺุชะ 
กะ, 
ใหเ้ป็นเช่นนั้นกว่าจะ รู้สึกอุระ ระอุเพราะรักรึง 
เข็ญ. 
ทุกเดือนเมื่อถึงวันเพ็ญ ให้นางนเี้ป็น มนุษย์อยกู่ำาหนด 
มี 
เพียงหนึ่งทิวาราตร;ี แต่หากนางมี ความรักบุรุษ 
เมื่อใด. 
เมื่อนั้นแหละใหท้รามวัย คงรปูอยู่ไซร้ บคืนกลับเป็น 
บุปผา. 
หากรักชายแล้วมัทนา บมีสุขา ภริมย์เพราะเริด 
ร้างรัก, 
และนางเป็นทุกขย์ิ่งนัก จนเหลือที่จัก อดทนอยอูี่กต่อ 
ไป, 
เมื่อนั้นผิวาอรทัย กล่าววอนเราไซร้ เราจงึ่จะงด 
โทษทัณฑ์. 
 แปล: ด้วยอำานาจที่ข้ามี จงสาปให้นางมัทนา ไปเกิดใหม่ 
จากแดนสวรรค์สู่แดนมนุษย์ เป็นดอกไม้ที่ชื่อ กพุชะกะ ให้เป็นเช่นนั้น 
จนกว่าจะรู้สึกหนักใจ
ด้านสังคม ค่านิยม วัฒนธรรม 
คติความเชื่อ 
คุณค่าด้านสังคม 
๑. สอดแทรกความคิดเกี่ยวกับความเชื่อในสังคมไทย เช่น 
๑.๑ ความเชื่อเรื่องชาติภพ 
๑.๒ ความเชื่อเรื่องการทำาบุญมากๆ จะได้ไปเกิดในสวรรค์ 
และเสวยสุขในวิมาน 
๑.๓ ความเชื่อเรื่องทำากรรมสิ่งใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น 
๑.๔ ความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา การทำาเสน่ห์เล่ห์กล 
๒. แสดงกวีทัศน์ โดยแสดงให้เห็นว่า "การมีรักเป็นทุกข์อย่างยงิ่" ตรง 
ตามพุทธวัจนะที่ว่า "ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์" เช่น 
๒.๑ สุเทษณ์รักนางมัทนาแต่ไม่สมหวังก็เป็นทุกข์ แม้ 
เมื่อได้เสวยสุขเป็นเทพบุตรก็ยังรักนางมัทนาอยู่ จึงทำาทุกอย่างเพื่อให้ได้ 
นางมาแต่ไม่สมหวังก็พร้อมที่จะทำาลาย ความรักเช่นนี้เป็นความรักที่ 
เห็นแก่ตัวควรหลีกหนีให้ไกล
ค่านิยม 
จากความสามารถในการเจรจาของนางนั้น ทำาให้นาง 
รอดพ้นจากบุคคลที่ตนไม่พึงใจได้ ทั้งๆทนี่างไม่มีเวทมนต์ 
อำานาจใดเลย แต่ด้วยความสามารถในการพลิกแพลงภาษาใน 
การเจรจาจึงทำาให้นางควรค่าแก่การยกย่องให้เป็นสตรีผู้มีความ 
ฉลาดและมีความสามารถในการเจรจาได้อย่างลำ้าเลิศ นอกจาก 
ความสามารถในการเจรจาแล้ว นางยังมีสติปัญญาที่เฉียบแหลม 
มีปฏภิาณไวพรบิที่ดี ดังจะเห็นได้ว่าเมื่อนางจำาต้องถูกสุเทษณ์ 
ลงโทษทัณฑ์แล้ว ครั้นให้นางเลือกมาจุติบนโลกมนุษย์นางก็ยัง 
เลือกที่จะมาจุติเป็นดอกกุหลาบซึ่งเป็นดอกไม้ที่มีคุณสมบัติเหนือ 
ดอกไม้อื่นทั้งปวง มีความงดงามนุ่มนวลยวนตาและยังมีหนาม 
แหลมคมคอยคุ้มครองป้องกันภัยให้แก่ตนเองด้วย 
ในปัจจุบันวัยรุ่นหนุ่มสาวไทยมีค่านิยมในการแสดง 
ความรักด้วยการให้ดอกกุหลาบกัน โดยถือเอาวันวาเลนไทน์ 
เป็นวาระสำาคัญในการแสดงความรักด้วยวิธีดังกล่าวอย่างแพร่ 
หลายทั่วประเทศ แต่ค่านิยมนเี้ป็นความคิดและพฤติกรรมที่ได้รบั 
อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมตะวันตก
คุณค่าด้านวัฒนธรรม 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหูั่วทรงกำาหนดเนื้อเรื่อง ตัว 
ละคร และฉากตามวัฒนธรรมของชาวอินเดียโบราณ ซึ่งสอดคล้องกับ 
วัฒนธรรมไทย เนื่องจากไทยรับวัฒนธรรมส่วนใหญ่มาจากอินเดียโดย 
เฉพาะความเชื่อต่างๆ 
• คติความเชื่อ 
-ความเชื่อเรื่องสวรรค์ ซึ่งมีเทวดาอันมีฤธานุภาพสามารถดลบันดาลให้ 
เป็นไปต่างๆได้ ได้เห็นจากที่สุเทษณ์ สามารถสาปมัทนาให้ไปจุติเป็น 
ดอกกุหลาบบนโลกมนุษย์ได้ตามที่นางขอ 
-ความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา ที่สามารถบังคับบางสิ่งให้เป็นไปตาม 
ต้องการได้ เห็นจากที่มายาวินใช้เวทมนตร์สะกด มัทนาให้มาหาและพูด 
โต้ตอบกับสุเทษณ์ โดยที่นางไม่รู้สึกตัว
ด้านการนำาไป 
ประยุกต์ใช้ 
ข้อคิด 
 ให้ข้อคิดในการครองตน หญิงใดอยู่ในฐานะอย่างนางมัทนา 
จะต้องมีความระมัดระวังตัว หลีกหนีจากผู้ชายมาราคะให้ไกล กวีจึง 
กำาหนดให้ทางมัทนาถูกสาปกลายเป็นดอกไม้ชื่อดอกกฺฺุชกะ (กุหลาบ) 
ซึ่งสวยงามมีหนามแหลมคมเป็นเกราะป้องกันตนให้พ้นจากมือผู้ที่ 
ปรารถนาจะหักหาญรานกิ่งหรือเด็ดดอกไปเชยชม ดอกกุหลาบจึงเป็น 
สัญลักษณ์แทนหญิงสาวที่มีรูปสวยย่อมเป็นที่หมายปองของชายทั่วไป 
หนามแหลมคมเปรียบเหมือนสติปัญญา ดังนั้นถ้าหญิงสาวที่รูปงามและมี 
ความเฉลียวฉลาดรู้ทันเล่ห์เหลี่ยม ย่อมสามารถเอาตัวรอดจากผู้ที่หมาย 
จะหยามเกียรติหรือหมิ่นศักดิ์ศรีได้ 
 ความรักเป็นความรู้สึกที่ดี เราจึงควรรักอย่างมีสติ รักด้วยหัวใจที่ บริสุทธิ์ 
ไม่เห็นแก่ตัว 
 ความรักต้องการความซื่อสัตย์และไม่โกหกหลอกลวงซึ่งกนัและกัน เช่น 
การที่มัทนาบอกสุเทษณ์ไปตามความรู้สึกที่แท้จริงว่าไม่ได้รัก 
 ความรักนั้นเกดิขนึ้ได้กับบุคคลทุกชั้นวรรณะ และความรักย่อมมีทั้งความ 
สมหวังและผิดหวังเป็นเรื่องธรรมดา
มัทนะพาธา

More Related Content

What's hot

ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 

Viewers also liked

โครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาโครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาWirika Samee
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 

Viewers also liked (8)

โครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาโครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธา
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 

Similar to งานนำเสนอมัทนะพาธา

บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาน้อง มัดไหม
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
งานชิ้นที่2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่2 แผ่นพับงานชิ้นที่2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่2 แผ่นพับputchalita1995
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตKanjana ZuZie NuNa
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงNew Oil
 

Similar to งานนำเสนอมัทนะพาธา (16)

บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
งานชิ้นที่2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่2 แผ่นพับงานชิ้นที่2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่2 แผ่นพับ
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิต
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 

งานนำเสนอมัทนะพาธา

  • 1.
  • 2.  รูปแบบ มทันะพาธามีรูปแบบคำาประพันธ์เป็นคำาฉันท์ คือ มคีำาประพันธ์ประเภทฉันท์และกาพย์ เช่น กาพย์ฉบัง๑๖ กาพย์ยานี๑๑ กาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘ อินทวงสฉันท์ ๑๒ วสนัตดิลก ฉันท๑์๔ และมบีทเจรจาร้อยแก้วใส่ในส่วนของ ตัวละครที่ไม่สำาคัญ
  • 3.  โครงเรื่อง เป็นบทละครพูดคำาฉันท์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงคิดโครงเรื่องเอง ไม่ได้ตัดตอนมาจากวรรณคดี เรื่องใด แก่นสำาคัญของเรื่องมีอยู่ ๒ ประการ คือ ๑) ทรงปราถนาจะกล่าวถึงตำานานดอก กุหลาบ ซึ่งเป็นดอกไม้ที่สวยงาม แต่ไม่เคยมีตำานานใน เทพนิยาย จึงพระราชนิพนธ์ให้ดอกกุหลาบมีกำาเนิดมาจาก นางฟ้าทถีู่กสาปให้จุติลงมาเกิดเป็นดอกไม้ชื่อว่า "ดอกกุพฺ ชกะ" คือ "ดอกกุหลาบ" ๒) เพื่อแสดงความเจ็บปวดอันเกิดจาก ความรกั ทรงแสดงให่เห็นว่าความรักมีอนุภาพอย่างยิ่ง ผู้ ใดมีความรักก็อาจเกิดความหลงขึ้นตามมาด้วย ทรงใช้ชื่อ เรื่องว่า "มัทนะพาธา" อันเป็นชื่อของตัวละครเอกของเรื่อง ซึ่งมีความหมายว่า "ความเจ็บปวดหรือความเดือดร้อนอัน เกิดจากความรัก" มีการผูกเรื่องให้มีความขัดแย้งซึ่งเป็นปม
  • 4.  แก่นของเรื่อง คือ ความเจ็บปวด หรือความเดือดร้อนอันเนอื่ง มาจากความรัก
  • 5.  ตัวละคร สุเทษณะเทพบุตร์ เป็นเทพบุตรที่หมกมุ่น ในตัณหาราคะ เจ้าอารมณ์ เอาแต่ใจตนเอง และไม่ คำานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น
  • 6.  มัทนา ซื่อสัตย์ นิสัยตรงไปตรงมา คิดอย่างไรก็พูดอย่าง นั้น ไม่รักก็บอกตรงๆ ไม่พูดปดหลอกลวง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม พูด แต่ความจริง แต่ความจริงที่นางพูดทำาให้นางต้องได้รับความ ลำาบากทุกข์ระทมใจ ดังตัวอย่างเมื่อสุเทษณบ์อกรักนางและขอ นางให้คำาตอบ  มายาวิน วิทยาธร ผู้มีวิชาอาคมใช้เวทย์มนต์เรียกนางมัทนามาพบสุ เทษณะเทพบุตร์ทั้งๆที่ยังหลับไหล อันเป็นบ่อเกิดแก่โทสะ ของสุเทษณะเทพบุตร์ต่อนางมัทนา
  • 7.  ฉาก วิมานของเทพบุตรสุเทษณ์,บนสวรรค์ เทพบุตรสุเทษณ์อยู่กับวิทยาธรมายาวินซึ่งกำาลังทำาพิธี สะกดนางมัทนามายาวินนั่งประนมมือสักครู่มัทนาเดินออกมา ตาจ้องเป๋งไม่แลดูใครด้วยอาการที่ถูกสะกด สุเทษณเ์ห็นนาง มัทนาก็ลุกลงมาจากบัลลังก์เพื่อมาต้อนรับแต่ครั้นเห็นนาง มัทนาไม่ยิ้มแย้มก็ชงักแล้วหันไปพูดกับมายาวิน
  • 8.  กลวิธีการดำาเนินเรื่อง การดำาเนินเรื่องกำาหนดให้สุเทษณ์สาปนางมัทนาให้เป็น ดอกกุหลาบ ต่อเมื่อถึงคืนเดือนเพ็ญจะกลายร่างเป็นหญิงรูปงามหนึ่ง วันหนึ่งคืน หากมีความรักเมื่อใดจึงจะกลายเป็นมนุษย์อย่างถาวร และขอให้นางพบกับความทุกข์ระทมจากความรัก หากนางมีความ ทุกข์ระทมเพราะความรักเมื่อก็ให้ไปอ้อนวอนสุเทษณๆ์ จึงจะยกโทษ ให้ เพราะสุเทษณ์เทพบุตรหวังว่าเมื่อนางต้องผิดหวังทกุข์ระทม เพราะความรัก คงจะเห็นใจตนและยินดีรับรักบ้าง
  • 9. ด้านวรรณศิลป์ การใช้คำา ใช้ถ้อยคำาและรูแบบคำาประพันธ์เหมาะสมกับเนื้อหา ทำาให้ ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม เกิดความประทับใจอยาก ติดตามอ่าน เช่น เมื่อมายาวินเล่าเรื่องราวในอดีตถวายสุ เทษณ์ว่าเหตุใดมัทนาจึงไม่รักสุเทษณ์ กวีเลือกใช้ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ที่มีท่วงทำานองเร็วเหมาะแก่การเล่า ความ หรือบรรยายเรื่อง ส่วนเนื้อหาตอนสุเทษณฝ์ากรัก นางมัทนานั้นใช้วสันตดิลกฉันท์ ซึ่งมีท่วงทำานองทอี่่อน หวาน เมื่อสุเทษณก์ริ้วนางมัทนาก็ไช้ กมลฉันท์ ซึ่งมีคำาครุ ลหุที่มีจำานวนเท่ากันแต่ขึ้นต้นด้วยคำาลหุ จึงมีทำานองประแท กกระทั้นถ่ายทอดอารมณ์โกรธเกรี้ยวได้ดี
  • 11. รสวรรณคดี รสวรรณคดีไทย ๑ เสาวรจนี เสาวรจนี (บทชมโฉม) คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุภาสุพรรณ งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน งามเกศะดำาขำา กลนำ้า ณ ท้องละหาน งามเนตรพินิจปาน สุมณมีะโนหะรา
  • 12. ๒. นารีปราโมทย์ นารีปราโมทย์ (บทเกี้ยวโอ้โลม) คือการกล่าวแสดงความรัก ทั้งการเกี้ยวพาราสีกัน สุเทษณ์ รักจริงมิจริงฤก็ไฉน อรไทบ่ แจ้งการ? มัทนา รักจริงมิจริงก็สุระชาญ ชยะโปรดสถาน ใด? สุเทษณ์ พี่รักและหวังวธุจะรัก และบท อดทิ้งไป มัทนา พระรักสมัครณพระหทัย ฤจะทอดจะทิ้ง เสีย? พิโรธวาทัง โรธวาทัง(บทตัดพ้อ) คือการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์ไม่พอใจ ทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, ละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, นุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, ดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน
  • 13. ๔. สัลลาปังคพิสัย สัลลาปังคพิสัย (บทโศก) คือการโอดครวญ หรือบท โศกอันว่าด้วยการจากพรากสิ่งอันเป็นที่รัก ชีพอยู่ก็เหมือนตาย, เพราะมิวายระทวยระทม ทุกข์ยากและกรากกรม อุระชำ้าระกำาทวี.
  • 14. รสวรรณคดีสันสกฤต ๑. ศฤงคารรส ศฤงคารรส เป็นรสที่กล่าวถึงการซาบซึ้งในความรัก พูดจาอ่อน หวาน จริตกิริยาแช่มช้อยชม้ายชายตา พี่นี้นะรักเจ้า และจะเฝ้าประคับประคอง ค๒ู่ช. ิดเรสานทิทรนร้อสง บ่มิให้ระคางระคาย. รุทรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) บทบรรยายหรือ พรรณนาที่ทำาให้ผู้ดูผู้อ่านขัดใจฉุนเฉียว ขัดเคืองบุคคลบางคนใน เรื่อง บางทีถึงกับขว้างหนังสือทิ้ง หรือฉีกตอนนั้นก็มี รสนี้ เทียบ ได้กับรสวรรณคดีไทยคือ พิโรธวาทัง มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, ตะละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, วนิดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน สุเทษณ์ :(ตวาด)แหม มทันา เจ้านชี่่างเจ้าเล่ห์นัก แต่ละคำาทพีู่ดออกมา มแีต่คำาไมดี่ ช่างเป็นคำาพูดที่ ตลบตะแลง เมอื่ข้าถาม เจ้าก็ไมต่อบ และไมเ่ต็มใจ ฟัง ถ้าใหเ้จ้าได้หัวใจไป เจ้าก็จะไมรั่บรัก ข้าจึงจะ ใหเ้จ้าไปจากสวรรค์ เพราะถ้าหากเจ้าไปชอบคนอื่น เข้าข้ากค็งจะทรุนทรุาย โศกเศร้า ไมอ่ยากจะได้ยิน ได้เหน็อีก เพราะฉะนนั้จะใหเ้จ้าไปจุติทโี่ลกมนุษย์ เจ้าต้องการจะเกิดรูปใดล่ะเป็นสัตว์2เท้า หรือ สตัว์4เท้า หรือจะเป็นอย่างอื่น เลือกตามใจเจา้เถอะ แล้วข้าจะสาปใหเ้จ้าเป็นเช่นนนั้ จนกว่าเจ้าจะสำานึก ในความผิดของตนเอง และอ้อนวอนข้า เมอื่นนั้ ข้า จะใหเ้จ้ากลับสวรรค์ดังเดิม แล้วตกลงเจ้าจะเป็น อะไรล่ะ
  • 15. ๒. เราทรรส รุทรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) บทบรรยายหรือ พรรณนาที่ทำาให้ผู้ดูผู้อ่านขัดใจฉุนเฉียว ขัดเคืองบุคคลบางคนใน เรื่อง บางทีถึงกับขว้างหนังสือทิ้ง หรือฉีกตอนนั้นก็มี รสนี้ เทียบ ได้กับรสวรรณคดีไทยคือ พิโรธวาทัง มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจำานรรจา, ตะละคำาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ, ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำาถาม, วนิดาพยายาม กะละเล่นสำานวนหวน
  • 16.  บทที่สะเทือนใจ มัทนา: แต่หากฤดีบอะภริมย์ จะเฉลยฉะนั้นจัก เป็นปดและลวงบุรุษะ รัก ก็จะหลงละเลิงไป. ตูข้าพระบาทสิสุจริต บมิคิดจะปดใคร, จึ่งหวังและมุ่งมะนะสะใน วรแเมปตลต .ะธรรมา. แต่ถ้าหากไม่ ก็จะเป็นการหลอกลวงถา้ หากรับรัก คนรักก็จะหลงดีใจไป สำาหรับตัวหม่อมฉัน นี้ไม่คิดที่จะโกหกใคร หวังมุ่งในธรรมะ
  • 17.  สุเทษณ์ ด้วยอำานาจอิทธฤิ์ทธี อันประมวลมี ณ ตัวกูผู้แรง หาญ, กสูาปมัทนานงคราญ ใหจุ้ติผ่าน ไปจากสุราลัย เลิศ, สู่แดนมนุษย์และเกิด เป็นมาลีเลิศ อันเรียกว่ากพฺุชะ กะ, ใหเ้ป็นเช่นนั้นกว่าจะ รู้สึกอุระ ระอุเพราะรักรึง เข็ญ. ทุกเดือนเมื่อถึงวันเพ็ญ ให้นางนเี้ป็น มนุษย์อยกู่ำาหนด มี เพียงหนึ่งทิวาราตร;ี แต่หากนางมี ความรักบุรุษ เมื่อใด. เมื่อนั้นแหละใหท้รามวัย คงรปูอยู่ไซร้ บคืนกลับเป็น บุปผา. หากรักชายแล้วมัทนา บมีสุขา ภริมย์เพราะเริด ร้างรัก, และนางเป็นทุกขย์ิ่งนัก จนเหลือที่จัก อดทนอยอูี่กต่อ ไป, เมื่อนั้นผิวาอรทัย กล่าววอนเราไซร้ เราจงึ่จะงด โทษทัณฑ์.  แปล: ด้วยอำานาจที่ข้ามี จงสาปให้นางมัทนา ไปเกิดใหม่ จากแดนสวรรค์สู่แดนมนุษย์ เป็นดอกไม้ที่ชื่อ กพุชะกะ ให้เป็นเช่นนั้น จนกว่าจะรู้สึกหนักใจ
  • 18. ด้านสังคม ค่านิยม วัฒนธรรม คติความเชื่อ คุณค่าด้านสังคม ๑. สอดแทรกความคิดเกี่ยวกับความเชื่อในสังคมไทย เช่น ๑.๑ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ๑.๒ ความเชื่อเรื่องการทำาบุญมากๆ จะได้ไปเกิดในสวรรค์ และเสวยสุขในวิมาน ๑.๓ ความเชื่อเรื่องทำากรรมสิ่งใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น ๑.๔ ความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา การทำาเสน่ห์เล่ห์กล ๒. แสดงกวีทัศน์ โดยแสดงให้เห็นว่า "การมีรักเป็นทุกข์อย่างยงิ่" ตรง ตามพุทธวัจนะที่ว่า "ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์" เช่น ๒.๑ สุเทษณ์รักนางมัทนาแต่ไม่สมหวังก็เป็นทุกข์ แม้ เมื่อได้เสวยสุขเป็นเทพบุตรก็ยังรักนางมัทนาอยู่ จึงทำาทุกอย่างเพื่อให้ได้ นางมาแต่ไม่สมหวังก็พร้อมที่จะทำาลาย ความรักเช่นนี้เป็นความรักที่ เห็นแก่ตัวควรหลีกหนีให้ไกล
  • 19. ค่านิยม จากความสามารถในการเจรจาของนางนั้น ทำาให้นาง รอดพ้นจากบุคคลที่ตนไม่พึงใจได้ ทั้งๆทนี่างไม่มีเวทมนต์ อำานาจใดเลย แต่ด้วยความสามารถในการพลิกแพลงภาษาใน การเจรจาจึงทำาให้นางควรค่าแก่การยกย่องให้เป็นสตรีผู้มีความ ฉลาดและมีความสามารถในการเจรจาได้อย่างลำ้าเลิศ นอกจาก ความสามารถในการเจรจาแล้ว นางยังมีสติปัญญาที่เฉียบแหลม มีปฏภิาณไวพรบิที่ดี ดังจะเห็นได้ว่าเมื่อนางจำาต้องถูกสุเทษณ์ ลงโทษทัณฑ์แล้ว ครั้นให้นางเลือกมาจุติบนโลกมนุษย์นางก็ยัง เลือกที่จะมาจุติเป็นดอกกุหลาบซึ่งเป็นดอกไม้ที่มีคุณสมบัติเหนือ ดอกไม้อื่นทั้งปวง มีความงดงามนุ่มนวลยวนตาและยังมีหนาม แหลมคมคอยคุ้มครองป้องกันภัยให้แก่ตนเองด้วย ในปัจจุบันวัยรุ่นหนุ่มสาวไทยมีค่านิยมในการแสดง ความรักด้วยการให้ดอกกุหลาบกัน โดยถือเอาวันวาเลนไทน์ เป็นวาระสำาคัญในการแสดงความรักด้วยวิธีดังกล่าวอย่างแพร่ หลายทั่วประเทศ แต่ค่านิยมนเี้ป็นความคิดและพฤติกรรมที่ได้รบั อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมตะวันตก
  • 20. คุณค่าด้านวัฒนธรรม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหูั่วทรงกำาหนดเนื้อเรื่อง ตัว ละคร และฉากตามวัฒนธรรมของชาวอินเดียโบราณ ซึ่งสอดคล้องกับ วัฒนธรรมไทย เนื่องจากไทยรับวัฒนธรรมส่วนใหญ่มาจากอินเดียโดย เฉพาะความเชื่อต่างๆ • คติความเชื่อ -ความเชื่อเรื่องสวรรค์ ซึ่งมีเทวดาอันมีฤธานุภาพสามารถดลบันดาลให้ เป็นไปต่างๆได้ ได้เห็นจากที่สุเทษณ์ สามารถสาปมัทนาให้ไปจุติเป็น ดอกกุหลาบบนโลกมนุษย์ได้ตามที่นางขอ -ความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา ที่สามารถบังคับบางสิ่งให้เป็นไปตาม ต้องการได้ เห็นจากที่มายาวินใช้เวทมนตร์สะกด มัทนาให้มาหาและพูด โต้ตอบกับสุเทษณ์ โดยที่นางไม่รู้สึกตัว
  • 21. ด้านการนำาไป ประยุกต์ใช้ ข้อคิด  ให้ข้อคิดในการครองตน หญิงใดอยู่ในฐานะอย่างนางมัทนา จะต้องมีความระมัดระวังตัว หลีกหนีจากผู้ชายมาราคะให้ไกล กวีจึง กำาหนดให้ทางมัทนาถูกสาปกลายเป็นดอกไม้ชื่อดอกกฺฺุชกะ (กุหลาบ) ซึ่งสวยงามมีหนามแหลมคมเป็นเกราะป้องกันตนให้พ้นจากมือผู้ที่ ปรารถนาจะหักหาญรานกิ่งหรือเด็ดดอกไปเชยชม ดอกกุหลาบจึงเป็น สัญลักษณ์แทนหญิงสาวที่มีรูปสวยย่อมเป็นที่หมายปองของชายทั่วไป หนามแหลมคมเปรียบเหมือนสติปัญญา ดังนั้นถ้าหญิงสาวที่รูปงามและมี ความเฉลียวฉลาดรู้ทันเล่ห์เหลี่ยม ย่อมสามารถเอาตัวรอดจากผู้ที่หมาย จะหยามเกียรติหรือหมิ่นศักดิ์ศรีได้  ความรักเป็นความรู้สึกที่ดี เราจึงควรรักอย่างมีสติ รักด้วยหัวใจที่ บริสุทธิ์ ไม่เห็นแก่ตัว  ความรักต้องการความซื่อสัตย์และไม่โกหกหลอกลวงซึ่งกนัและกัน เช่น การที่มัทนาบอกสุเทษณ์ไปตามความรู้สึกที่แท้จริงว่าไม่ได้รัก  ความรักนั้นเกดิขนึ้ได้กับบุคคลทุกชั้นวรรณะ และความรักย่อมมีทั้งความ สมหวังและผิดหวังเป็นเรื่องธรรมดา