SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
 
ชนิดของจำนวนเต็ม  มี  3  ชนิด  คือ 1.  จำนวนเต็มบวก  หรือ  จำนวนนับ  หรือ  จำนวนธรรมชาติ  ได้แก่  1, 2, 3, 4, 5,.... 2.  จำนวนเต็มศูนย์  ได้แก่  0 3.  จำนวนเต็มลบ  ได้แก่  -1, -2, -3, -4, -5,...... จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  จึงแบ่งได้เป็น  จำนวนเต็มบวก  จำนวนเต็มศูนย์  จำนวนเต็มลบ   ได้แก่  ..., - 5, - 4, -3, -2, -1, 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,.....  ซึ่งสามารถบนเส้นจำนวนได้ดังนี้
จำนวนบนเส้นจำนวน  จำนวนที่อยู่ซ้ายมือจะมีค่าน้อยกว่าจำนวนที่อยู่ทางขวามือ  ดังจะได้ว่า   … .   -5    - 4    -3    -2    -1    0    1    2    3    4    5…..
จำนวนเต็มลบ เมื่อตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ  ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มลบเสมอ  และเมื่อตัวลบเพิ่มขึ้นคำตอบที่ได้จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ  เรียกว่า  จำนวนเต็มลบ  หรือ  จำนวนลบ  ตัวอย่างเช่น  2  –   5  =  –3  คำตอบอ่านว่า  ลบสาม
การเปรียบเทียบจำนวนเต็มบวก   มีหลักดังนี้ 1.  จำนวนเต็มบวกจะมีค่ามากกว่าจำนวนเต็มศูนย์  และมีค่ามากกว่าจำนวนเต็มลบ   2.  จำนวนเต็มศูนย์มีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มบวก  แต่มีค่ามากกว่าจำนวนเต็มลบ 3.  จำนวนเต็มลบมีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มศูนย์  และมีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มบวก  ตัวอย่างเช่น 5     0 5     – 5  0     3 0     – 6   – 4     0   – 4     2
การคูณจำนวนเต็ม สรุป การคูณระหว่างจำนวนเต็มสองจำนวน อาศัยเรื่องผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสอง  โดยมีเครื่องหมาย  ดังนี้ (+)    (+)  =  + (+)    ( – )  =  –   ( – )     (+)  =  – ( – )      ( – )  =  +
การบวก  –  ลบจำนวนเต็ม 1.  ผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวก  2  จำนวน  หรือ  จำนวนเต็มลบ  2  จำนวน  จะมีค่าเท่ากับค่าบวกหรือค่าลบของผลบวกค่าสัมบูรณ์ตามลำดับ 2.  ผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ  คือ  ผลต่างระหว่างค่าสัมบูรณ์ทั้งสองโดยใช้ค่าสัมบูรณ์มากกว่าเป็นตัวตั้ง  แล้วใส่เครื่องหมายตามตัวมากกว่า
เศษส่วน a b - เศษ ส่วน เราเรียก  ว่า เศษ เราเรียก  ว่า ส่วน   และ  เป็นจำนวนเต็ม ( b=0 ) a b a b
 
 
 
 


?
การคูณเศษส่วน
การคูณเศษส่วน
ทศนิยม       ทศนิยมนั้นจะเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเราตลอด  ไม่ว่าจะเป็นการบอกค่าของเงินที่เราใช้     การบอกเวลา     บอกหน่วยความยาว ฯลฯ       -      การเขียนทศนิยมในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของตัวเลขในหลักต่าง ๆ  ของทศนิยมนั้น        -   ทศนิยม หมายถึง การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า  1   หรือการเขียนตัวเลขประเภทเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น  10,100,1000   แต่เปลี่ยนรูปจากเศษส่วนมาเป็นรูปทศนิยม โดยใช้เครื่องหมาย  . ( จุด )  แทน        -  ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเทียบได้กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นสิบ และทศนิยมสองตำแหน่งเทียบได้กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นร้อย       ทศนิยม         หมายถึง ค่าของจำนวนเต็มที่แบ่งออกเป็นสิบส่วน ร้อยส่วน พันส่วน  ....  เท่า ๆ  กัน ซึ่งเขียนได้ในรูปของเศษส่วน
จำนวน  327.35    จะเขียนให้อยู่ในรูปกระจายได้ดังนี้       3   อยู่ในหลักร้อย  มีค่า  300       2   อยู่ในหลักสิบ  มีค่า  20       7   อยู่ในหลักหน่วย มีค่า  7       3   อยู่หลังจุดเป็นตัวแรกเรียกว่าหลักส่วนสิบ ซึ่งมีค่า              หรือ  0.3        5   อยู่หลังจุดเป็นตัวที่สองเรียกว่าหลักส่วนร้อย ซึ่งมีค่า              หรือ  0.05        ดังนั้น   327.35   อ่านว่า สามร้อยยี่สิบเจ็ดจุดสามห้าหรือสามารถเขียนในรูปกระจายการบวกได้คือ    327.35  =   300  +  20  +  7  +  0.3  +  0.05                                              การกระจายทศนิยม 3 10 5 100
ทศนิยม  1   ตำแหน่งมี  10   เป็นตัวหาร  เทียบกับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นสิบ ทศนิยม  2   ตำแหน่งมี  100   เป็นตัวหาร เทียบกับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นร้อย  ตัวอย่างการกระจายทศนิยม จำนวน ล้าน แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย จุด ส่วนสิบ ส่วนร้อย ส่วนพัน 1.)  1,523,658.58 1 5 2 3 6 5 8 . 5 8 2.)  17,256.25 1 7 2 5 6 . 2 5 3.)  757.35 7 5 7 . 3 5 4.)  25.33 2 3 . 3 3 5)  0.5 0 . 5
การทำทศนิยมให้เป็นเศษส่วน เลขทศนิยมทำให้เป็นเศษส่วนได้โดยการหารด้วย  10   หรือ  100       -   การแปลงทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเป็นเศษส่วน         เช่น  0.6    เขียนเป็นเศษส่วนได้            0.08    เขียนเป็นเศษส่วนได้                -  การแปลงทศนิยมสองตำแหน่งเป็นเศษส่วน           เช่น  0.56     เขียนเป็นเศษส่วนได้          0.98      เขียนเป็นเศษส่วนได้    
การบวกเลขทศนิยม   ( ธรรมดา )  คือ ตั้งให้จุดทศนิยมตรงกัน แล้วทำการบวกตามการบวกเลขธรรมดาทั่ว ๆ ไป เช่น         35.05  ,  27.09             35.05                            +            27.09                 62.14      
การทำเศษส่วนให้เป็นทศนิยม 8 6 10 = 8+ 6 10 = 8+ 0.6 = 8.6 54 100 = 54 100 0+ = 0+0.78 = 0.78
แบบทดสอบหลังเรียน ให้นักเรียนทำแบบทดสอบจากใบงานที่ครูมอบหมายในชั้นเรียน ขอให้นักเรียนทุกคนโชคดี

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
พิทักษ์ ทวี
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 

What's hot (20)

การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงานไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงาน
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 

Similar to จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม

สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
krutew Sudarat
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
krookay2012
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
lekho
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
Jiraprapa Suwannajak
 

Similar to จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม (20)

ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
 
การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม

  • 1.  
  • 2. ชนิดของจำนวนเต็ม มี 3 ชนิด คือ 1. จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ หรือ จำนวนธรรมชาติ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5,.... 2. จำนวนเต็มศูนย์ ได้แก่ 0 3. จำนวนเต็มลบ ได้แก่ -1, -2, -3, -4, -5,...... จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม จึงแบ่งได้เป็น จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์ จำนวนเต็มลบ ได้แก่ ..., - 5, - 4, -3, -2, -1, 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,..... ซึ่งสามารถบนเส้นจำนวนได้ดังนี้
  • 4. จำนวนเต็มลบ เมื่อตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มลบเสมอ และเมื่อตัวลบเพิ่มขึ้นคำตอบที่ได้จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ เรียกว่า จำนวนเต็มลบ หรือ จำนวนลบ ตัวอย่างเช่น 2 – 5 = –3 คำตอบอ่านว่า ลบสาม
  • 5. การเปรียบเทียบจำนวนเต็มบวก มีหลักดังนี้ 1. จำนวนเต็มบวกจะมีค่ามากกว่าจำนวนเต็มศูนย์ และมีค่ามากกว่าจำนวนเต็มลบ 2. จำนวนเต็มศูนย์มีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มบวก แต่มีค่ามากกว่าจำนวนเต็มลบ 3. จำนวนเต็มลบมีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มศูนย์ และมีค่าน้อยกว่าจำนวนเต็มบวก ตัวอย่างเช่น 5  0 5  – 5 0  3 0  – 6 – 4  0 – 4  2
  • 6. การคูณจำนวนเต็ม สรุป การคูณระหว่างจำนวนเต็มสองจำนวน อาศัยเรื่องผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสอง โดยมีเครื่องหมาย ดังนี้ (+)  (+) = + (+)  ( – ) = – ( – )  (+) = – ( – )  ( – ) = +
  • 7. การบวก – ลบจำนวนเต็ม 1. ผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวก 2 จำนวน หรือ จำนวนเต็มลบ 2 จำนวน จะมีค่าเท่ากับค่าบวกหรือค่าลบของผลบวกค่าสัมบูรณ์ตามลำดับ 2. ผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ คือ ผลต่างระหว่างค่าสัมบูรณ์ทั้งสองโดยใช้ค่าสัมบูรณ์มากกว่าเป็นตัวตั้ง แล้วใส่เครื่องหมายตามตัวมากกว่า
  • 8. เศษส่วน a b - เศษ ส่วน เราเรียก ว่า เศษ เราเรียก ว่า ส่วน และ เป็นจำนวนเต็ม ( b=0 ) a b a b
  • 9.  
  • 10.  
  • 11.  
  • 12.  
  • 13.
  • 14.
  • 15. ?
  • 18. ทศนิยม       ทศนิยมนั้นจะเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเราตลอด  ไม่ว่าจะเป็นการบอกค่าของเงินที่เราใช้    การบอกเวลา    บอกหน่วยความยาว ฯลฯ       -    การเขียนทศนิยมในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของตัวเลขในหลักต่าง ๆ  ของทศนิยมนั้น        -   ทศนิยม หมายถึง การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า 1 หรือการเขียนตัวเลขประเภทเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10,100,1000 แต่เปลี่ยนรูปจากเศษส่วนมาเป็นรูปทศนิยม โดยใช้เครื่องหมาย . ( จุด ) แทน        - ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเทียบได้กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นสิบ และทศนิยมสองตำแหน่งเทียบได้กับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นร้อย       ทศนิยม       หมายถึง ค่าของจำนวนเต็มที่แบ่งออกเป็นสิบส่วน ร้อยส่วน พันส่วน .... เท่า ๆ  กัน ซึ่งเขียนได้ในรูปของเศษส่วน
  • 19. จำนวน 327.35   จะเขียนให้อยู่ในรูปกระจายได้ดังนี้       3 อยู่ในหลักร้อย  มีค่า 300       2 อยู่ในหลักสิบ  มีค่า 20       7 อยู่ในหลักหน่วย มีค่า 7       3 อยู่หลังจุดเป็นตัวแรกเรียกว่าหลักส่วนสิบ ซึ่งมีค่า         หรือ 0.3        5 อยู่หลังจุดเป็นตัวที่สองเรียกว่าหลักส่วนร้อย ซึ่งมีค่า          หรือ 0.05        ดังนั้น 327.35 อ่านว่า สามร้อยยี่สิบเจ็ดจุดสามห้าหรือสามารถเขียนในรูปกระจายการบวกได้คือ   327.35 =   300 + 20 + 7 + 0.3 + 0.05                                              การกระจายทศนิยม 3 10 5 100
  • 20. ทศนิยม 1 ตำแหน่งมี 10 เป็นตัวหาร  เทียบกับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นสิบ ทศนิยม 2 ตำแหน่งมี 100 เป็นตัวหาร เทียบกับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นร้อย ตัวอย่างการกระจายทศนิยม จำนวน ล้าน แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย จุด ส่วนสิบ ส่วนร้อย ส่วนพัน 1.) 1,523,658.58 1 5 2 3 6 5 8 . 5 8 2.) 17,256.25 1 7 2 5 6 . 2 5 3.) 757.35 7 5 7 . 3 5 4.) 25.33 2 3 . 3 3 5) 0.5 0 . 5
  • 21. การทำทศนิยมให้เป็นเศษส่วน เลขทศนิยมทำให้เป็นเศษส่วนได้โดยการหารด้วย 10 หรือ 100       -   การแปลงทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเป็นเศษส่วน         เช่น 0.6    เขียนเป็นเศษส่วนได้           0.08    เขียนเป็นเศษส่วนได้             - การแปลงทศนิยมสองตำแหน่งเป็นเศษส่วน           เช่น 0.56    เขียนเป็นเศษส่วนได้         0.98      เขียนเป็นเศษส่วนได้   
  • 22. การบวกเลขทศนิยม ( ธรรมดา ) คือ ตั้งให้จุดทศนิยมตรงกัน แล้วทำการบวกตามการบวกเลขธรรมดาทั่ว ๆ ไป เช่น        35.05  ,  27.09            35.05                           +           27.09                62.14     
  • 23. การทำเศษส่วนให้เป็นทศนิยม 8 6 10 = 8+ 6 10 = 8+ 0.6 = 8.6 54 100 = 54 100 0+ = 0+0.78 = 0.78