SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
อวัยวะที่เป็นทางเดินอาหารประกอบไปด้วย
อวัยวะต่าง ๆ ได้แก่
 ปาก
 คอหอย
 หลอดอาหาร
 กระเพาะอาหาร
 ลาไส้เล็ก
 ลาไส้ใหญ่
 ไส้ตรง
 และทวารหนัก
การย่อยอาหาร ของคนเรา
แบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ
1. การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion)
เป็นการเปลี่ยนแปลงอาหารให้มีขนาด
อนุภาคเล็กลง โดยการบดเคี้ยวของฟัน
2. การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion)
เป็นการเปลี่ยนแปลงให้มีขนาดอนุภาค
เล็กลงโดยอาศัยเอนไซม์หรือน้้าย่อย
1. ปาก มีการย่อยเชิงกลโดยการบด
เคี้ยวของฟัน และมีการย่อยเชิงเคมีโดย
เอนไซม์ในน้้าลาย ชื่อ อะไมเลส ซึ่ง
ท้างานได้ดี ในสภาพเป็นเบสเล็กน้อย
แป้ง -------> อะไมเลส ------->
น้าตาลมอลโตส (ไทยาลิน)
ฟัน (Teeth) ทาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาด
เล็กลง ถือว่าเป็นการย่อยเชิงกล
ฟันของคนมี 2 ชุด คือฟันน้านม
(Temporary Teeth) มี 20 ซี่ ซึ่งจะเริ่มงอกเมื่อ
อายุประมาณ 6 เดือน และจะเริ่มหักหรือหลุด
ออกเมื่ออายุ 6 ปี
ต่อจากนั้นจะมีฟันชุดที่ 2 คือ ฟันแท้
(Permanent Teeth) งอกขึ้นมาแทน ฟันแท้มี
ทั้งสิ้น 32 ซี่
ลิ้น (Tongue) เป็นกล้ามเนื้อซึ่งสามารถ
เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วในหลายทิศทาง
ทาหน้าที่ช่วยในการกลืน ลิ้นทาหน้าที่ในการ
รับรสอาหาร เพราะที่ลิ้นมีปุ่มรับรส เรียกว่า
Taste Bud
อยู่ 4 ตาแหน่ง คือ
รสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น
รสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้น
และข้างลิ้น
รสเปรี้ยว อยู่บริเวณข้างลิ้น
รสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น
ต่อมน้าลาย
ต่อมน้าลาย (Salivary Gland) เป็นต่อมมีท่อ
ท้าหน้าที่ผลิตน้้าลาย (Saliva) ต่อมน้้าลายของคน
มีอยู่ 3 คู่คือ
1. ต่อมน้้าลายใต้ลิ้น (Sublingual Gland) 1 คู่
2. ต่อมน้้าลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1
คู่
3. ต่อมน้้าลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่
ต่อมน้้าลายทั้ง 3 คู่นี้
ท้าหน้าที่สร้างน้้าลาย
ที่มีน้้าย่อย อะไมเลส
ซึ่งเป็นน้้าย่อยสารอาหาร
จ้าพวกแป้งอยู่ด้วย
 2. คอหอย เป็นทางผ่าน
ของอาหาร ไม่มีการย่อยใด
ๆ ทั้งสิ้น
 3. หลอดอาหาร มี
ลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบ
มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบ
ตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดิน
อาหารเป็นช่วง ๆ เพื่อให้
อาหารเคลื่อนก่อนที่ลงสู่
กระเพาะอาหาร
4. กระเพาะอาหาร
 มีขนาดประมาณ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่สามารถ
ขยายได้อีก 10-40 เท่า เมื่อมีอาหารอยู่
 มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ
ทางเดินอาหาร
 และมีการย่อยเชิงเคมี โดยเอนไซม์เปปซิน (Pepsin)
เปปซินจะท้างานได้ดีในสภาพเป็นกรด ซึ่งกระเพาะ จะ
สร้าง กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) ขึ้นมา และเปปซิน
จะย่อยโปรตีนให้เป็นเปปไตด์ (Peptide)
โปรตีน ------- เปปซิน -------> เปปไทด์
 เอนไซม์เรนนิน (renin) ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้้านม
เป็นอวัยวะที่ยาวที่สุด มีลักษณะเป็นท่อขดไปมาอยู่ในช่อง
ท้อง ยาวประมาณ 7-8 เมตร แบ่งเป็น 3 ตอน
ล้าไส้ตอนต้น (Duodenum) ยาวประมาณ 30 ซม.
มีรูปร่างเหมือนตัวยูคลุมอยู่รอบๆบริเวณส่วนหัวของตับอ่อน
(Pancreas) ภายในดูโอดีนัมมีต่อมสร้างน้้าย่อยและเป็น
ต้าแหน่งที่ของเหลวจากตับอ่อนและน้้าดีจากตับมาเปิดเข้า จึง
เป็นต้าแหน่งที่มีการย่อยเกิดขึ้นมากที่สุด
ล้าไส้ส่วนกลาง (Jejunum) ยาวประมาณ 2 ใน 6
ของล้าไส้เล็กหรือประมาณ 3-4 เมตร
ล้าไส้ส่วนท้าย (Ileum) เป็นล้าไส้เล็กส่วนสุดท้ายปลายสุด
ของไอเลียมต่อกับล้าไส้ใหญ่
 ที่ผนังด้านในของล้าไส้เล็ก มีลักษณะ ไม่เรียบ เป็นปุ่มปมเล็ก
ๆ จ้านวนมากมายยื่นออกมาเรียกว่า วิลลัส (Villus)
 วิลลัส (Villus) ช่วยเพิ่มพื้นที่ ในการดูดซึมอาหาร
 ท้าหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อย
อาหารต่างกัน ได้แก่
 มอลเตส ย่อยน้้าตาลมอลโตส ได้กลูโคส
 ซูเครส ย่อยน้้าตาลทรายหรือน้้าตาลซูโครส ได้น้้าตาล
กลูโคส
 แลกเทส ย่อยน้้าตาลแลกโตส ได้กลูโคสกับกาแลกโตส
 อิเรฟซิน ย่อยเปปไทด์ ได้กรดอะมิโน
ตับอ่อน
ท้าหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิดแล้วส่งไปยังล้าไส้เล็ก
 ไลเปส ท้าหน้าที่ย่อยไขมัน ได้กรดไขมันและกลีเซอรอล
 อะไมเลส ท้าหน้าที่ย่อยแป้ง ได้น้้าตาลมอลโตส
 ทริปซิน ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะ
มิโน
ตับ
ท้าหน้าที่สร้างน้้าดีแล้วไปเก็บไว้ที่ถุงน้้าดี
 น้าดี จะช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ เพื่อให้
เอนไซม์ไลเปสที่สร้างจากตับอ่อนท้าหน้าที่ย่อยไขมันได้
ง่ายขึ้น
น้าดี (bile or gall) เป็นของเหลวสีเหลืองหรือ
เขียว มีรสขม หลั่งออกมาจากเซลล์ตับ
(hepatocyte) ที่อยู่ในตับของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังเกือบทุกชนิด ในสัตว์หลายชนิด น้าดีจะถูก
เก็บไว้ที่ถุงน้าดีในระหว่างมื้ออาหาร และเมื่อมี
การรับประทานอาหารน้าดีจะถูกปล่อยออกมา
เข้าสู่ลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ที่ซึ่งน้าดีจะ
ไปทาหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหารจาพวกลิพิด
6. ลาไส้ใหญ่
 มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร
 ที่ผนังล้าไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อย
อาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้า
แร่ธาตุ วิตามิน ออกจากกาก
อาหาร กลับเข้าสู่กระแสเลือด
ท้าให้กากอาหารเหนียว ข้น
และเป็นก้อน จากนั้นก็จะ
เคลื่อนที่ไปรวมกันที่ล้าไส้ใหญ่
ส่วนที่เรียกว่า ล้าไส้ตรง ซึ่งอยู่
เหนือทวารหนักและถูกขับถ่าย
ออกมาทางทวารหนักเป็น
อุจจาระ
สรุปได้ว่า
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน
และไขมัน จะถูกย่อยอย่างสมบูรณ์ที่ลาไส้
เล็ก จนได้อนุภาคที่เล็กที่สุด และสามารถซึม
ผ่านผนังลาไส้เล็กเข้าสู่หลอดเลือด จากนั้น
จะถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้
ส่วนกากอาหารที่เหลือจากการย่อยและ
ย่อยไม่ได้เช่น เซลลูโลส จะถูกส่งต่อไปยัง
ลาไส้ใหญ่
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3

More Related Content

What's hot

Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
 
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้าหน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
เซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้า
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร3

วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6issarayuth
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร DigestionAreeya Mungsachat
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4DK MK
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2Y'tt Khnkt
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร3 (18)

วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestion
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
สรุปวิชาชีววิทยา เรื่องการย่อยอาหาร ม.4
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
STB
STBSTB
STB
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (9)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

ระบบย่อยอาหาร3

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. อวัยวะที่เป็นทางเดินอาหารประกอบไปด้วย อวัยวะต่าง ๆ ได้แก่  ปาก  คอหอย  หลอดอาหาร  กระเพาะอาหาร  ลาไส้เล็ก  ลาไส้ใหญ่  ไส้ตรง  และทวารหนัก
  • 5. การย่อยอาหาร ของคนเรา แบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ 1. การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นการเปลี่ยนแปลงอาหารให้มีขนาด อนุภาคเล็กลง โดยการบดเคี้ยวของฟัน 2. การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion) เป็นการเปลี่ยนแปลงให้มีขนาดอนุภาค เล็กลงโดยอาศัยเอนไซม์หรือน้้าย่อย
  • 6. 1. ปาก มีการย่อยเชิงกลโดยการบด เคี้ยวของฟัน และมีการย่อยเชิงเคมีโดย เอนไซม์ในน้้าลาย ชื่อ อะไมเลส ซึ่ง ท้างานได้ดี ในสภาพเป็นเบสเล็กน้อย แป้ง -------> อะไมเลส -------> น้าตาลมอลโตส (ไทยาลิน)
  • 7. ฟัน (Teeth) ทาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาด เล็กลง ถือว่าเป็นการย่อยเชิงกล ฟันของคนมี 2 ชุด คือฟันน้านม (Temporary Teeth) มี 20 ซี่ ซึ่งจะเริ่มงอกเมื่อ อายุประมาณ 6 เดือน และจะเริ่มหักหรือหลุด ออกเมื่ออายุ 6 ปี ต่อจากนั้นจะมีฟันชุดที่ 2 คือ ฟันแท้ (Permanent Teeth) งอกขึ้นมาแทน ฟันแท้มี ทั้งสิ้น 32 ซี่
  • 8.
  • 9. ลิ้น (Tongue) เป็นกล้ามเนื้อซึ่งสามารถ เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วในหลายทิศทาง ทาหน้าที่ช่วยในการกลืน ลิ้นทาหน้าที่ในการ รับรสอาหาร เพราะที่ลิ้นมีปุ่มรับรส เรียกว่า Taste Bud อยู่ 4 ตาแหน่ง คือ รสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น รสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้น และข้างลิ้น รสเปรี้ยว อยู่บริเวณข้างลิ้น รสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น
  • 10. ต่อมน้าลาย ต่อมน้าลาย (Salivary Gland) เป็นต่อมมีท่อ ท้าหน้าที่ผลิตน้้าลาย (Saliva) ต่อมน้้าลายของคน มีอยู่ 3 คู่คือ 1. ต่อมน้้าลายใต้ลิ้น (Sublingual Gland) 1 คู่ 2. ต่อมน้้าลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1 คู่ 3. ต่อมน้้าลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่ ต่อมน้้าลายทั้ง 3 คู่นี้ ท้าหน้าที่สร้างน้้าลาย ที่มีน้้าย่อย อะไมเลส ซึ่งเป็นน้้าย่อยสารอาหาร จ้าพวกแป้งอยู่ด้วย
  • 11.  2. คอหอย เป็นทางผ่าน ของอาหาร ไม่มีการย่อยใด ๆ ทั้งสิ้น  3. หลอดอาหาร มี ลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบ มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบ ตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดิน อาหารเป็นช่วง ๆ เพื่อให้ อาหารเคลื่อนก่อนที่ลงสู่ กระเพาะอาหาร
  • 12. 4. กระเพาะอาหาร  มีขนาดประมาณ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่สามารถ ขยายได้อีก 10-40 เท่า เมื่อมีอาหารอยู่  มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาหาร  และมีการย่อยเชิงเคมี โดยเอนไซม์เปปซิน (Pepsin) เปปซินจะท้างานได้ดีในสภาพเป็นกรด ซึ่งกระเพาะ จะ สร้าง กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) ขึ้นมา และเปปซิน จะย่อยโปรตีนให้เป็นเปปไตด์ (Peptide) โปรตีน ------- เปปซิน -------> เปปไทด์  เอนไซม์เรนนิน (renin) ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้้านม
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. เป็นอวัยวะที่ยาวที่สุด มีลักษณะเป็นท่อขดไปมาอยู่ในช่อง ท้อง ยาวประมาณ 7-8 เมตร แบ่งเป็น 3 ตอน ล้าไส้ตอนต้น (Duodenum) ยาวประมาณ 30 ซม. มีรูปร่างเหมือนตัวยูคลุมอยู่รอบๆบริเวณส่วนหัวของตับอ่อน (Pancreas) ภายในดูโอดีนัมมีต่อมสร้างน้้าย่อยและเป็น ต้าแหน่งที่ของเหลวจากตับอ่อนและน้้าดีจากตับมาเปิดเข้า จึง เป็นต้าแหน่งที่มีการย่อยเกิดขึ้นมากที่สุด ล้าไส้ส่วนกลาง (Jejunum) ยาวประมาณ 2 ใน 6 ของล้าไส้เล็กหรือประมาณ 3-4 เมตร ล้าไส้ส่วนท้าย (Ileum) เป็นล้าไส้เล็กส่วนสุดท้ายปลายสุด ของไอเลียมต่อกับล้าไส้ใหญ่
  • 17.  ที่ผนังด้านในของล้าไส้เล็ก มีลักษณะ ไม่เรียบ เป็นปุ่มปมเล็ก ๆ จ้านวนมากมายยื่นออกมาเรียกว่า วิลลัส (Villus)  วิลลัส (Villus) ช่วยเพิ่มพื้นที่ ในการดูดซึมอาหาร  ท้าหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อย อาหารต่างกัน ได้แก่  มอลเตส ย่อยน้้าตาลมอลโตส ได้กลูโคส  ซูเครส ย่อยน้้าตาลทรายหรือน้้าตาลซูโครส ได้น้้าตาล กลูโคส  แลกเทส ย่อยน้้าตาลแลกโตส ได้กลูโคสกับกาแลกโตส  อิเรฟซิน ย่อยเปปไทด์ ได้กรดอะมิโน
  • 18.
  • 19.
  • 20. ตับอ่อน ท้าหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิดแล้วส่งไปยังล้าไส้เล็ก  ไลเปส ท้าหน้าที่ย่อยไขมัน ได้กรดไขมันและกลีเซอรอล  อะไมเลส ท้าหน้าที่ย่อยแป้ง ได้น้้าตาลมอลโตส  ทริปซิน ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะ มิโน ตับ ท้าหน้าที่สร้างน้้าดีแล้วไปเก็บไว้ที่ถุงน้้าดี  น้าดี จะช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ เพื่อให้ เอนไซม์ไลเปสที่สร้างจากตับอ่อนท้าหน้าที่ย่อยไขมันได้ ง่ายขึ้น
  • 21.
  • 22. น้าดี (bile or gall) เป็นของเหลวสีเหลืองหรือ เขียว มีรสขม หลั่งออกมาจากเซลล์ตับ (hepatocyte) ที่อยู่ในตับของสัตว์มีกระดูกสัน หลังเกือบทุกชนิด ในสัตว์หลายชนิด น้าดีจะถูก เก็บไว้ที่ถุงน้าดีในระหว่างมื้ออาหาร และเมื่อมี การรับประทานอาหารน้าดีจะถูกปล่อยออกมา เข้าสู่ลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ที่ซึ่งน้าดีจะ ไปทาหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหารจาพวกลิพิด
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. 6. ลาไส้ใหญ่  มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร  ที่ผนังล้าไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อย อาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้า แร่ธาตุ วิตามิน ออกจากกาก อาหาร กลับเข้าสู่กระแสเลือด ท้าให้กากอาหารเหนียว ข้น และเป็นก้อน จากนั้นก็จะ เคลื่อนที่ไปรวมกันที่ล้าไส้ใหญ่ ส่วนที่เรียกว่า ล้าไส้ตรง ซึ่งอยู่ เหนือทวารหนักและถูกขับถ่าย ออกมาทางทวารหนักเป็น อุจจาระ
  • 27. สรุปได้ว่า สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน จะถูกย่อยอย่างสมบูรณ์ที่ลาไส้ เล็ก จนได้อนุภาคที่เล็กที่สุด และสามารถซึม ผ่านผนังลาไส้เล็กเข้าสู่หลอดเลือด จากนั้น จะถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ส่วนกากอาหารที่เหลือจากการย่อยและ ย่อยไม่ได้เช่น เซลลูโลส จะถูกส่งต่อไปยัง ลาไส้ใหญ่