SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ความรู้ที่เกี่ยวกับภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย   ( conic section  หรือ  conic)  ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง  เส้นโค้ง ที่ได้จากการตัด พื้นผิวกรวย กลม ด้วย ระนาบ แบน ภาคตัดกรวยนี้ถูกตั้งเป็นหัวข้อศึกษาตั้งแต่สมัย  200  ปีก่อนคริสต์ศักราชโดย  อพอลโลเนียส  แห่ง  เพอร์ กา  ผู้ซึ่งศึกษาภาคตัดกรวยและค้นพบสมบัติหลายประการของภาคตัดกรวย ต่อมากรณีการศึกษาภาคตัดกรวยถูกนำไปใช้ประโยชน์หลายแบบ ได้แก่ ในปี พ . ศ . 2133 ( ค . ศ . 1590)  กาลิเลโอ กาลิเลอี พบว่าขีปนาวุธที่ยิงขึ้นไปในมุมที่กำหนดมีวิถีการเคลื่อนที่โค้งแบบพาราโบลา ,  ใน พ . ศ . 2152 ( ค . ศ . 1609)  โยฮันส์ เคปเลอร์ พบว่าวงโคจรของดาวเคราะห์รอบนอกเป็นรูปวงรี เป็นต้น
ชนิดของภาคตัดกรวย   วงกลม  และ  วงรี  คือ เส้นโค้งซึ่งได้จากการตัดกรวย ด้วยระนาบ ให้ได้ เส้นโค้งปิด   ( เป็นวง )  วงกลมนั้นถือเป็นกรณีพิเศษของวงรี โดยแนวของระนาบในการตัดนั้น ตั้งฉากกับแกนกลางของกรวย หากระนาบตัดกรวยในแนวขนานกับเส้นขอบของกรวย หรือเรียก เส้นกำเนิดกรวย  ( generator line)  จะได้เส้นโค้งเรียกว่า  พาราโบลา  หากระนาบไม่อยู่ในแนวขนานเส้นขอบ และตัด   กรวยได้เส้นโค้งเปิดไม่เป็นวง จะเรียกเส้นโค้งนี้ว่า  ไฮเพอร์โบลา  จะเห็นได้ว่าในกรณีนี้ระนาบจะตัดกรวยทั้งครึ่งบน และครึ่งล่าง ได้เป็นเส้นโค้งที่ขาดจากกันสองเส้น ในกรณีที่เรียกว่าในภาษาอังกฤษว่า ดีเจนเนอเรต ระนาบจะตัดผ่านจุดยอดของกรวย และได้ผลของการตัดเป็น  จุด   เส้นตรง  หรือ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน กรณีเหล่านี้ไม่ได้ถูกรวมไว้ในภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยจากทางเดินของจุด     แต่ละประเภทของภาคตัดกรวยนั้น สามารถนิยามโดยการใช้เส้นทางเดินของจุด โดยทุก ๆ จุด  P   บนเส้นทางเดิน จะต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะดังนี้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความเยื้อง  ( Eccentricity)  ค่าความเยื้อง หรือ ค่าความเบี่ยงเบนจากศูนย์กลาง  ( eccentricity)  ของภาคตัดกรวย เป็นค่าบ่งชี้ถึงความเบี้ยว หรือ เบี่ยงเบนไปจากความกลม โดยเมื่อความเยื้องมีค่าลดลง รูปร่างของภาคตัดกรวยที่ได้จะมีรูปร่างเข้าใกล้ทรงกลมมากขึ้น ถ้าเส้นตรง  L   คือไดเรกทริกซ์ และ  F   คือ จุดโฟกัส ค่าความเยื้อง หาได้จาก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],โดยที่
 
ภาคตัดกรวยกับเรขาคณิตวิเคราะห์     บน ระบบพิกัด คาร์ ทีเซียน  กราฟของสมการสองตัวแปร กำลังสอง   ( quadratic equation)  จะเป็นรูปภาคตัดกรวยเสมอ หากเราพิจารณาสมการที่อยู่ในรูป   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แล้ว :
รูปแสดงการตัดกรวยด้วยระนาดในแนวต่าง ๆ
เซมิเลตัสเรกตัม และ ระบบพิกัดเชิงขั้ว  ,[object Object],[object Object]
เซไมลาตัสเรกตัมของวงรี
คุณสมบัติทั่วไป ภาคตัดกรวยนั้นมีรูปร่างที่มนสม่ำเสมอ ไม่มี จุดเปลี่ยนโค้ง   ( inflection point)  ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มีความสำคัญต่อการใช้งานหลายประเภท เช่น การใช้งานเกี่ยวกับ แอโรไดนามิกส์  ซึ่งพื้นผิวนั้นจำเป็นต้องออกแบบเพื่อให้ของไหล ไหลผ่านอย่างสม่ำเสมอ  ( laminar   flow)  เพื่อป้องกันการเกิด การไหลทะลัก   ( turbulence)
การประยุกต์ใช้งาน   ภาคตัดกรวยนั้นได้มีความสำคัญต่อ ดาราศาสตร์  โดย วงโคจรของวัตถุสองชิ้นซึ่งมี แรงดึงดูด กระทำต่อกัน ตามกฏของ นิว ตัน  นั้นจะมีรูปร่างเป็นภาคตัดกรวย หาก จุดศูนย์กลางมวล   ( center of mass)  ร่วมของทั้งสองวัตถุนั้นอยู่นิ่ง หากทั้งสองนั้นถูกดึงดูดอยู่ด้วยกัน ทางเดินของทั้งสองนั้นจะเป็นรูปวงรี หากวัตถุทั้งสองวิ่งออกจากกัน ทางเดินจะเป็นรูปพาราโบลา หรือ ไฮเปอร์โบลา ดู  ปัญหาวัตถุ  N  ชิ้น
ใน เรขาคณิตเชิงภาพฉาย   ( projective geometry)  นั้น ภาพฉายบนระนาบ ของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้นจะเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉาย หรือที่เรียกว่า  การแปลงเชิงภาพฉาย   ( projective transformation) สำหรับการประยุกต์ใช้งานเฉพาะของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้น ดูที่บทความ  วงกลม   วงรี   พาราโบลา   ไฮเพอร์โบลา
ความรู้นี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขข้อมูลใหม่ ๆ

More Related Content

What's hot

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
krookay2012
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
kruyafkk
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
nutchaporn
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
Nan's Tippawan
 
ความแข็งแรง9 2
ความแข็งแรง9 2ความแข็งแรง9 2
ความแข็งแรง9 2
Pannathat Champakul
 

What's hot (18)

111
111111
111
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
Wan
WanWan
Wan
 
สูตรปริมาตรทรงกลม
สูตรปริมาตรทรงกลมสูตรปริมาตรทรงกลม
สูตรปริมาตรทรงกลม
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
พิกัด
พิกัดพิกัด
พิกัด
 
ความแข็งแรง9 2
ความแข็งแรง9 2ความแข็งแรง9 2
ความแข็งแรง9 2
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Viewers also liked

Suzuki Flow Distribution Experiment
Suzuki Flow Distribution ExperimentSuzuki Flow Distribution Experiment
Suzuki Flow Distribution Experiment
rbvilim
 
European Film
European FilmEuropean Film
European Film
Plantijn
 
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILEDIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
DIRK KOTZE
 
PresentacióN Roma
PresentacióN RomaPresentacióN Roma
PresentacióN Roma
Alba19
 
кризис культуры
кризис культурыкризис культуры
кризис культуры
guestf46da1c8
 
禪的祝福 (1)
禪的祝福 (1)禪的祝福 (1)
禪的祝福 (1)
leehh68
 

Viewers also liked (16)

Suzuki Flow Distribution Experiment
Suzuki Flow Distribution ExperimentSuzuki Flow Distribution Experiment
Suzuki Flow Distribution Experiment
 
European Film
European FilmEuropean Film
European Film
 
Some Ideas 01
Some Ideas 01Some Ideas 01
Some Ideas 01
 
адаптация
адаптацияадаптация
адаптация
 
Social media by the numbers
Social media by the numbersSocial media by the numbers
Social media by the numbers
 
Installazione Software Applicativo
Installazione Software ApplicativoInstallazione Software Applicativo
Installazione Software Applicativo
 
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILEDIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
DIRK KOTZE CORPORATE PROFILE
 
PresentacióN Roma
PresentacióN RomaPresentacióN Roma
PresentacióN Roma
 
Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125Social Network For Employee V1 0 20091125
Social Network For Employee V1 0 20091125
 
2008 11 Berlin
2008 11 Berlin2008 11 Berlin
2008 11 Berlin
 
핀테크뉴스레터(무료)- 2015년 4월 13일자
핀테크뉴스레터(무료)- 2015년 4월 13일자핀테크뉴스레터(무료)- 2015년 4월 13일자
핀테크뉴스레터(무료)- 2015년 4월 13일자
 
кризис культуры
кризис культурыкризис культуры
кризис культуры
 
禪的祝福 (1)
禪的祝福 (1)禪的祝福 (1)
禪的祝福 (1)
 
Website As A Product Product Camp Mn
Website As A Product   Product Camp MnWebsite As A Product   Product Camp Mn
Website As A Product Product Camp Mn
 
Kitale, Kenya School
Kitale, Kenya SchoolKitale, Kenya School
Kitale, Kenya School
 
Ignite workshop
Ignite workshopIgnite workshop
Ignite workshop
 

Similar to ภาคตัดกรวย (6)

Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 

More from guest00db6d99

ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิตยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิตยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 

More from guest00db6d99 (14)

ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิตยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
 
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิตยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
ยินดีต้อนรับสู่ความคิดทางเรขาคณิต
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่ยินดีต้อนรับสู่
ยินดีต้อนรับสู่
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
(อ.นิป)
(อ.นิป)(อ.นิป)
(อ.นิป)
 

ภาคตัดกรวย

  • 2. ภาคตัดกรวย ( conic section หรือ conic) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง เส้นโค้ง ที่ได้จากการตัด พื้นผิวกรวย กลม ด้วย ระนาบ แบน ภาคตัดกรวยนี้ถูกตั้งเป็นหัวข้อศึกษาตั้งแต่สมัย 200 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดย อพอลโลเนียส แห่ง เพอร์ กา ผู้ซึ่งศึกษาภาคตัดกรวยและค้นพบสมบัติหลายประการของภาคตัดกรวย ต่อมากรณีการศึกษาภาคตัดกรวยถูกนำไปใช้ประโยชน์หลายแบบ ได้แก่ ในปี พ . ศ . 2133 ( ค . ศ . 1590) กาลิเลโอ กาลิเลอี พบว่าขีปนาวุธที่ยิงขึ้นไปในมุมที่กำหนดมีวิถีการเคลื่อนที่โค้งแบบพาราโบลา , ใน พ . ศ . 2152 ( ค . ศ . 1609) โยฮันส์ เคปเลอร์ พบว่าวงโคจรของดาวเคราะห์รอบนอกเป็นรูปวงรี เป็นต้น
  • 3. ชนิดของภาคตัดกรวย วงกลม และ วงรี คือ เส้นโค้งซึ่งได้จากการตัดกรวย ด้วยระนาบ ให้ได้ เส้นโค้งปิด ( เป็นวง ) วงกลมนั้นถือเป็นกรณีพิเศษของวงรี โดยแนวของระนาบในการตัดนั้น ตั้งฉากกับแกนกลางของกรวย หากระนาบตัดกรวยในแนวขนานกับเส้นขอบของกรวย หรือเรียก เส้นกำเนิดกรวย ( generator line) จะได้เส้นโค้งเรียกว่า พาราโบลา หากระนาบไม่อยู่ในแนวขนานเส้นขอบ และตัด กรวยได้เส้นโค้งเปิดไม่เป็นวง จะเรียกเส้นโค้งนี้ว่า ไฮเพอร์โบลา จะเห็นได้ว่าในกรณีนี้ระนาบจะตัดกรวยทั้งครึ่งบน และครึ่งล่าง ได้เป็นเส้นโค้งที่ขาดจากกันสองเส้น ในกรณีที่เรียกว่าในภาษาอังกฤษว่า ดีเจนเนอเรต ระนาบจะตัดผ่านจุดยอดของกรวย และได้ผลของการตัดเป็น จุด เส้นตรง หรือ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน กรณีเหล่านี้ไม่ได้ถูกรวมไว้ในภาคตัดกรวย
  • 4. ภาคตัดกรวยจากทางเดินของจุด แต่ละประเภทของภาคตัดกรวยนั้น สามารถนิยามโดยการใช้เส้นทางเดินของจุด โดยทุก ๆ จุด P บนเส้นทางเดิน จะต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะดังนี้
  • 5.
  • 6. ความเยื้อง ( Eccentricity) ค่าความเยื้อง หรือ ค่าความเบี่ยงเบนจากศูนย์กลาง ( eccentricity) ของภาคตัดกรวย เป็นค่าบ่งชี้ถึงความเบี้ยว หรือ เบี่ยงเบนไปจากความกลม โดยเมื่อความเยื้องมีค่าลดลง รูปร่างของภาคตัดกรวยที่ได้จะมีรูปร่างเข้าใกล้ทรงกลมมากขึ้น ถ้าเส้นตรง L คือไดเรกทริกซ์ และ F คือ จุดโฟกัส ค่าความเยื้อง หาได้จาก
  • 7.
  • 8.  
  • 9.
  • 11.
  • 13. คุณสมบัติทั่วไป ภาคตัดกรวยนั้นมีรูปร่างที่มนสม่ำเสมอ ไม่มี จุดเปลี่ยนโค้ง ( inflection point) ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มีความสำคัญต่อการใช้งานหลายประเภท เช่น การใช้งานเกี่ยวกับ แอโรไดนามิกส์ ซึ่งพื้นผิวนั้นจำเป็นต้องออกแบบเพื่อให้ของไหล ไหลผ่านอย่างสม่ำเสมอ ( laminar flow) เพื่อป้องกันการเกิด การไหลทะลัก ( turbulence)
  • 14. การประยุกต์ใช้งาน ภาคตัดกรวยนั้นได้มีความสำคัญต่อ ดาราศาสตร์ โดย วงโคจรของวัตถุสองชิ้นซึ่งมี แรงดึงดูด กระทำต่อกัน ตามกฏของ นิว ตัน นั้นจะมีรูปร่างเป็นภาคตัดกรวย หาก จุดศูนย์กลางมวล ( center of mass) ร่วมของทั้งสองวัตถุนั้นอยู่นิ่ง หากทั้งสองนั้นถูกดึงดูดอยู่ด้วยกัน ทางเดินของทั้งสองนั้นจะเป็นรูปวงรี หากวัตถุทั้งสองวิ่งออกจากกัน ทางเดินจะเป็นรูปพาราโบลา หรือ ไฮเปอร์โบลา ดู ปัญหาวัตถุ N ชิ้น
  • 15. ใน เรขาคณิตเชิงภาพฉาย ( projective geometry) นั้น ภาพฉายบนระนาบ ของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้นจะเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉาย หรือที่เรียกว่า การแปลงเชิงภาพฉาย ( projective transformation) สำหรับการประยุกต์ใช้งานเฉพาะของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้น ดูที่บทความ วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอร์โบลา