SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
*อาชีพในฝัน
* นักบิน
ผูปฏิบติงานอาชีพนี้ ได้แก่ ผูขบเครื่ องบิน ผูควบคุม
             ้ ั                        ้ั              ้
การบิน ในระหว่างทาการบินรวมถึงการขับเครื่ องบินที่ใช้ในการ
ขนส่ งผูโดยสาร ไปรษณี ยภณฑ์หรื อสิ นค้า การขับเครื่ องบินเพื่อ
         ้                 ์ ั
วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่นทดสอบ ส่ งมอบ ฉีดยาฆ่าแมลงหรื อยา
ป้ องกันแมลง สารวจทางอากาศ ถ่ายภาพทางอากาศ และสอน
นักบินฝึ กหัดการควบคุมเส้นทางบินของการบิน การดูแล
เครื่ องบินระหว่างทาการบิน และให้คาแนะนา นักบินอื่นๆ
เกี่ยวกับการบินและเส้นทางการบิน
1. ขับเครื่ องบินที่ใช้ในการขนส่ งผูโดยสาร ไปรษณี ยภัณฑ์ หรื อสิ นค้า
                                      ้
                             ่
2. ควบคุมอากาศยานให้อยูในเส้นทาง ซึ่งทาการบินประจา หรื อใน
เที่ยวบินเช่าเหมา
3. สังเกตเครื่ องวัดมิเตอร์ และเครื่ องวัดประกอบการบินอื่นๆ ที่ใช้
ควบคุมอากาศยาน
4. ตรวจความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่ องยนต์ ใช้เครื่ องช่วยในการ
เดินอากาศสาหรับควบคุมเส้นทางบินของอากาศยาน
5. อาจเป็ นผูควบคุมอากาศยาน และรับผิดชอบในลูกเรื อทั้งหมด หรื อ
              ้
เป็ นนักบินผูช่วยและอาจทาการบินภายใต้การควบคุมของผูควบคุม
                ้                                            ้
อากาศยาน
1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี โดยมีหลักสูตรทาง วิชา
วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ หรื อคอมพิวเตอร์
2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสารได้ดี ควรมีความรู ้ทางด้าน
คณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ดีพอสมควร เพื่อใช้ในการศึกษา
และใช้ในการปฏิบติงาน   ั
3. รู ปร่ าง บุคลิกดี มีความสูงไม่นอยกว่า 165 ซ.ม. มีมนุษย
                                    ้
สัมพันธ์ดี มีปฏิภาณไหวพริ บดี มีสานึกในความปลอดภัย และมี
ความสามารถเป็ นทั้งผูนาและผูตาม
                          ้       ้
4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผูอื่นสูง มีความกล้าหาญ และ
                                      ้
มีความสามารถในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่าง
ถูกต้อง และรวดเร็ ว
5. มีความมันใจในตนเอง ละเอียดรอบคอบ มีความจาดี ช่าง
             ่
สังเกต
6. อายุไม่เกิน 38 ปี ไม่สายตาสั้น และต้องไม่ตาบอดสี
7. ในการสอบสัมภาษณ์มีท้ งการสอบภาษาไทย และสอบเชาว์
                            ั
ปัญญา (Aptitude Test)และมีการสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดย
ผูเ้ ชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ผูสมัครควรมีความรู ้ภาษาอังกฤษดี
                              ้
และมีความรู ้เรื่ องคอมพิวเตอร์ดวย
                                 ้
8. ในการขับเครื่ องบิน ต้องได้รับใบอนุญาตการบิน (Pilot
License) รวมทั้งต้องผ่านการตรวจ ร่ างกาย และทดสอบทางจิต
เวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบิน
*นางพยาบาล
นิ ยามอาชีพ
ผู้ปฏิบัตอาชีพพยาบาล ทาหน้ าทีให้ การรักษาพยาบาล และดูแล
          ิ                       ่
ผู้ป่วยทั้งทางกายและจิต ผู้ได้ รับบาดเจ็บ หรือทุพพลภาพ รักษา
และปองกันโรค และการส่ งเสริมสุ ขภาพ วางแผนและให้ บริการ
      ้
ด้ านพยาบาล และทาหน้ าที่ช่วยแพทย์ ในโรงพยาบาล หรือ
สถานพยาบาล
ลักษณะของงานที่ทา
         รักษา ดูแล และให้คาแนะนาเกี่ยวกับการพยาบาล เป็ นผูช่วย
                                                             ้
แพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงาน
ให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็ นทั้งร่ างกาย
อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้ นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้า
กับภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่ วย จัดให้คนไข้ มี
สิ่ งแวดล้อมที่ถูกสุ ขอนามัย ป้ องกันและควบคุมการเผยแพร่ ของ
โรคติดเชื้อ สอนคนไข้ และประชาชนทัวไปให้รู้จกการดูแล
                                        ่       ั
และส่ งเสริ ม สุ ขภาพวางแผน มอบหมาย สังการ ดูแล และ
                                            ่
ประเมินผลงาน ของผูช่วยพยาบาล และผูทาหน้าที่ประสาน
                        ้                 ้
งาน ร่ วมงานกับ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัย
แขนงอื่นๆ ในการบริ การ คนไข้
สภาพการทางาน
         ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานพยาบาล
(คลีนิค) สถานพักฟื้ น สถานฟื้ นฟู ดูแลรักษาสุ ขภาพ สถานสงเคราะห์
เด็ก หรือคนชรา สถานอนุบาลเด็กทารกหรือเด็กก่อนวัยเรียน สถาน
การศึกษา เช่ น โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย สถานที่ทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรม สถานีอนามัย/คลีนิคในชุ มชนพยาบาลประจาบ้ าน
หรือส่ วนบุคคล เป็ นต้ น
คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ
                        ้
1. สาเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่ อง หรือพยาบาลศาสตร์
2. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทังร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ
                           ้
ปราศจากโรค (อันเป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบติงาน)        ั
3. มีจิตใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ไม่รงเกียจผูเ้ จ็บป่ วย มีความเมตตา และมี
                                  ั
ความรักในเพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี
4. มีความอดทน อดกลัน และมีความกล้าในการตัดสินใจ
                             ้
5. มีความคล่องตัวในการปฏิบติงาน     ั
6. มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผูคนในชุมชนทัว  ้         ่
ประเทศ
*ครู
นิ ยามอาชีพ
        ครู คือบุคคลทีมีหน้ าที่ หรือมีอาชีพในการสอน นักเรียน
                       ่
เกียวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและ
   ่
แนวทางในการทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่ างกันออกไปโดย
คานึงถึงพืนฐานความรู้ ความสามารถ และเปาหมายของนักเรียนแต่
           ้                                 ้
ละคน
* ทันตแพทย์
นิ ยามอาชีพ
        ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ได้ แก่ผู้ให้ การรักษาโรคและความผิดปกติ
ของฟันและช่ องปากด้ วยการศัลยกรรม ให้ ยา และวิธีการอืนๆ ควบคุม
                                                           ่
โรคในช่ องปากของผู้ป่วย และควบคุมบริการทันตสุ ขภาพ รวมถึงการ
ตรวจฟันและปากของผู้ป่วย และใส่ ฟันปลอม ร่ วมในการวางแผน จัด
ระบบงาน และดาเนินงานให้ เป็ นไปตาม โครงการทันตสุ ขภาพของ
หน่ วยงานสาธารณสุ ข
สภาพการทางาน
          ทันตแพทย์ทวไปจะทางานในห้องตรวจฟันซึ่งมีอุปกรณ์ในการตรวจ
                       ั่
และรักษาฟัน เช่น เครื่ องมือต่างๆ เพื่อการขูดหิ นปูน ถอนฟัน ฉี ดยาชา และ
เก้าอี้สาหรับผูป่วย และทันตแพทย์ โดยจะต้องมี ไฟส่ องสว่างเพื่อช่วยในการ
               ้
ตรวจฟันในปาก โดยทัวไปทันตแพทย์จะมีผช่วยทันตแพทย์ในการตรวจรักษา
                          ่                  ู้
ผูป่วยโดยจะช่วยในการหยิบส่ งอุปกรณ์ในการตรวจรักษาฟัน ในบางครั้ง
  ้
          ู้                                       ่
อาจจะมีผป่วยที่เป็ นเด็ก ซึ่งการตรวจรักษาอาจจะยุงยากกว่าผูใหญ่เนื่องจาก
                                                           ้
เด็กจะมีความกลัวและไม่ให้ความร่ วมมือในการตรวจฟัน ทันตแพทย์ตองมี     ้
จิตวิทยาในการหลอกล่อเด็กให้ความร่ วมมือโดยการอ้าปาก เพื่อทาการตรวจ
รักษา รวมทั้งต้องระวังการถูกกัดนิ้วมือขณะทาการตรวจรักษาให้เด็กที่กาลัง
กลัวและโกรธ
คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ
                   ้
1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางทันตแพทย์
2. มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเป็ นอย่ างดี
3. มีความรู้ในการค้ นและการประดิษฐ์
4. มีสุขภาพแข็งแรง บุคลิกดี รู้หลักจิตวิทยา คล่องแคล่ว พูดจาเก่ง
5. มีฐานะทางการเงินดีพอสมควร
6. มีความซื่อสั ตย์ ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริยธรรมทาง
การแพทย์ ไม่ ใช้ ความรู้ทางวิชาการของตนไปหลอกลวงหรือทาลายผู้อื่
* กุก,พ่อครัว,แม่ครัว
    ๊
นิ ยามอาชีพ
              ผู้ประกอบอาหาร,พ่อครัว หรือแม่ ครัวในภาษาอังกฤษเรียกทับศัพท์
ว่ า กุ๊ก (cook) เป็ นผู้รับผิดชอบในการเตรียมอาหารและทาอาหาร สาหรับ
"หัวหน้ าพ่อครัว" หรือ "เชฟ" (chef) จะทาหน้ าทีรวมไปถึงคิดสู ตรทาอาหาร
                                                   ่
และการคิดรายการอาหาร รวมทั้งการจัดการในครัวคาว่ า เชฟ มาจากคาใน
ภาษาฝรั่งเศสว่ า "chef de cuisine" ซึ่งหมายถึงหัวหน้ าในการทาอาหาร
ผู้ปฏิบตงานอาชีพนี้ ทางานเกียวกับทาอาหารให้ เป็ นทีพอใจของลูกค้ าโดยวาง
          ั ิ                     ่                   ่
แผนการประกอบอาหาร คิดรายการอาหาร จัดหา หรือสั่ งให้ จัดหาเครื่องปรุง
อาหาร เตรียมอาหาร และประกอบอาหารในธุรกิจร้ านอาหารส่ วนตัวโรงแรม
ภัตตาคาร สถานบริการอาหารทัวไป และธุรกิจประกอบอาหารสาเร็จรู ปส่ ง
                                    ่
ลูกค้ า
ลักษณะของงานที่ทา
          ผู้ประกอบอาชีพนี้ อาจได้ รับการเรียกว่ า "พ่อครัว" หรือ "แม่
ครัว" ต้ องมีความรู้ในการทาหรือปรุงอาหารไทย อาหารฝรั่ง หรืออาหาร
จีนรวมทั้งการทาของหวาน หรืออาจมีความรู้ในการประกอบอาหารอย่ าง
ใดอย่ างหนึ่ง ตามทีกล่าวมา ซึ่งต้ องทาหน้ าทีและมีความรู้หลักดังนี้
                   ่                          ่
1. วางแผนออกรายการประกอบอาหารต่ อมือ หรือรายวัน อาจเป็ น
                                            ้
รายการอาหารไทย หรืออาหารเทศและของหวาน
2. กาหนดรายการเครื่องประกอบอาหารซึ่งอาจจะต้ องพิจารณาให้
เหมาะสมกับฤดูกาลสาหรับเครื่องปรุงบางประเภทเช่ น ผักสด ปลา
เนือสั ตว์ ผลไม้
   ้
ลักษณะของงานที่ทา
          3. จัดทางบประมาณค่ าใช้ จ่ายตามรายการที่กาหนดเป็ นรายวัน
หรือตามระยะเวลา ทีเ่ หมาะสม เช่ น 2 วัน 3 วัน เป็ นต้ น จัดซื้อหรือสั่ ง
การซื้อรายการเครื่องประกอบอาหารวัสดุอุปกรณ์ ประกอบอาหาร
เครื่องปรุงอาหาร และเก็บอาหาร ถนอมอาหารแต่ ละประเภท ให้
เหมาะสม
4. จัดการเตรียมส่ วนประกอบอาหาร เพือพร้ อมปรุง เช่ น หั่นเนือสั ตว์
                                       ่                            ้
หั่นผัก เตรียมเครื่อง ปรุงรส
5. ถ้ าประกอบอาหารไทยต้ องปรุงรสและปรุงอาหารไทยด้ วยกรรมวิธี
แตกต่ างกันไป เช่ น แกงจืด แกงเผ็ด ต้ มยา ผัดต้ ม ย่ าง อบ ปิ้ ง นึ่ง ทอด
เจียว ตุ๋น นาพริก หลน ยา ปรุงอาหารตาม ใบสั่ ง ปรุงอาหารเป็ นชุ ด หรือ
             ้
ปรุงอาหารจานเดียว
ลักษณะของงานที่ทา
6. ในการทาของหวานอาจเป็ นผลไม้ ซึ่งต้ องจัดและปอกผลไม้
ชิมรสของหวานหรือขนม และจัดแต่ งให้ สวยงาม
7. ให้ คาแนะนาผู้ช่วยปรุงอาหาร ควบคุมปริมาณ และควบคุมการ
ล้ างจานและสิ่ งที่ใช้ บริโภคอืนๆ
                               ่
8. อาจทาหน้ าที่คดเลือกคนงาน และแนะนาวิธีเสริฟอาหาร
                   ั
9. อาจจัดเก็บข้ อมูลคุณค่าอาหารทางโภชนาการของแต่ ละชนิด
และข้ อมูลฤดูกาลของอาหาร และผลไม้ สด ไว้ เป็ นหมวดหมู่ เพือ
                                                          ่
สะดวกต่ อการจัดหาและการเก็บถนอม
สภาพการทางาน
ผู้ปฏิบัตงานในอาชีพนีต้องเข้ าใจถึงธรรมชาติของอาชีพนี้ ไม่ ว่า
         ิ             ้
จะปฏิบัตหน้ าทีอยู่ใน ภัตตาคารของ โรงแรม ภัตตาคาร
           ิ    ่
ห้ องอาหาร ร้ านอาหารธรรมดา หรือ ประกอบเป็ นอาชีพส่ วนตัว
คือต้ องทางานหนัก ต้ องอยู่ในครัว และหน้ าเตาประกอบอาหาร
เผชิญกับความร้ อน กลินอาหารทั้ง ของสด หรือขณะกาลังปรุ ง
                         ่
และต้ องอยู่ในครัวในช่ วงเช้ ามืดเพือเตรียมและประกอบ อาหาร
                                    ่
เช้ า กลางวัน และเย็น หรือออกไปตลาดสดเพือเลือกซื้ออาหารสด
                                             ่
ด้ วยตนเอง
คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ
                     ้
1. ต้ องมีความรู้และความสามารถในการประกอบอาหาร เฉพาะอย่ างใด
อย่ างหนึ่ง หรือหลายอย่ างเช่ น อาหารไทย อาหารฝรั่ง อาหารจีน การทา
ขนมหรือของหวาน
2. มีใจรักการทาอาหารและการบริการ
3. มีความอดทน สามารถทางานได้ ใต้ สภาวะความกดดันตามความต้ องการ
ของลูกค้ า
4. ร่ างกาย สุ ขภาพแข็งแรง
5. เป็ นคนใจกว้ าง สามารถยอมรับคาติชมจากลูกค้ าได้ พยายามเสาะแสวงหา
ความรู้ และประสบการณ์ ให้ มากขึน   ้
6. เป็ นคนมีไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ า
7. ซื่อสั ตย์ ขยัน และรักความสะอาด
อาชีพในฝัน

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 

What's hot (20)

ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Viewers also liked

ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
Wanlop Chimpalee
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัว
Wanlop Chimpalee
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
Wanlop Chimpalee
 
มารยาทการรับประทานอาหาร
มารยาทการรับประทานอาหารมารยาทการรับประทานอาหาร
มารยาทการรับประทานอาหาร
Wanlop Chimpalee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
nunun1361
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
Wanlop Chimpalee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
pantiluck
 

Viewers also liked (20)

หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบินหนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัว
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
มารยาทการรับประทานอาหาร
มารยาทการรับประทานอาหารมารยาทการรับประทานอาหาร
มารยาทการรับประทานอาหาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนามแผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
 

Similar to อาชีพในฝัน

ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3
thkitiya
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
tanong2516
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
tanong2516
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
teeradejmwk
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
1707253417072534
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
Suwakhon Phus
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
tualekdm
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
Chok Ke
 

Similar to อาชีพในฝัน (20)

แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 9
 

More from Wanlop Chimpalee

มารยาทในการรับแขก
มารยาทในการรับแขกมารยาทในการรับแขก
มารยาทในการรับแขก
Wanlop Chimpalee
 
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้าการดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
Wanlop Chimpalee
 
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้าเคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
Wanlop Chimpalee
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
Wanlop Chimpalee
 
มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1
Wanlop Chimpalee
 
ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่อง
Wanlop Chimpalee
 
การติดตั้ง
การติดตั้งการติดตั้ง
การติดตั้ง
Wanlop Chimpalee
 

More from Wanlop Chimpalee (11)

มารยาทในการรับแขก
มารยาทในการรับแขกมารยาทในการรับแขก
มารยาทในการรับแขก
 
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้าการดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้าเคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
เคล็ดลับการขจัดรอยเปื้อนบนเสื้อผ้า
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
 
มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1
 
04028 683
04028 68304028 683
04028 683
 
ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่อง
 
ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่อง
 
การติดตั้ง
การติดตั้งการติดตั้ง
การติดตั้ง
 
เกมพละ11
เกมพละ11เกมพละ11
เกมพละ11
 
test
testtest
test
 

อาชีพในฝัน

  • 3. ผูปฏิบติงานอาชีพนี้ ได้แก่ ผูขบเครื่ องบิน ผูควบคุม ้ ั ้ั ้ การบิน ในระหว่างทาการบินรวมถึงการขับเครื่ องบินที่ใช้ในการ ขนส่ งผูโดยสาร ไปรษณี ยภณฑ์หรื อสิ นค้า การขับเครื่ องบินเพื่อ ้ ์ ั วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่นทดสอบ ส่ งมอบ ฉีดยาฆ่าแมลงหรื อยา ป้ องกันแมลง สารวจทางอากาศ ถ่ายภาพทางอากาศ และสอน นักบินฝึ กหัดการควบคุมเส้นทางบินของการบิน การดูแล เครื่ องบินระหว่างทาการบิน และให้คาแนะนา นักบินอื่นๆ เกี่ยวกับการบินและเส้นทางการบิน
  • 4. 1. ขับเครื่ องบินที่ใช้ในการขนส่ งผูโดยสาร ไปรษณี ยภัณฑ์ หรื อสิ นค้า ้ ่ 2. ควบคุมอากาศยานให้อยูในเส้นทาง ซึ่งทาการบินประจา หรื อใน เที่ยวบินเช่าเหมา 3. สังเกตเครื่ องวัดมิเตอร์ และเครื่ องวัดประกอบการบินอื่นๆ ที่ใช้ ควบคุมอากาศยาน 4. ตรวจความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่ องยนต์ ใช้เครื่ องช่วยในการ เดินอากาศสาหรับควบคุมเส้นทางบินของอากาศยาน 5. อาจเป็ นผูควบคุมอากาศยาน และรับผิดชอบในลูกเรื อทั้งหมด หรื อ ้ เป็ นนักบินผูช่วยและอาจทาการบินภายใต้การควบคุมของผูควบคุม ้ ้ อากาศยาน
  • 5. 1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี โดยมีหลักสูตรทาง วิชา วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ หรื อคอมพิวเตอร์ 2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่ อสารได้ดี ควรมีความรู ้ทางด้าน คณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ดีพอสมควร เพื่อใช้ในการศึกษา และใช้ในการปฏิบติงาน ั 3. รู ปร่ าง บุคลิกดี มีความสูงไม่นอยกว่า 165 ซ.ม. มีมนุษย ้ สัมพันธ์ดี มีปฏิภาณไหวพริ บดี มีสานึกในความปลอดภัย และมี ความสามารถเป็ นทั้งผูนาและผูตาม ้ ้ 4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผูอื่นสูง มีความกล้าหาญ และ ้ มีความสามารถในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่าง ถูกต้อง และรวดเร็ ว
  • 6. 5. มีความมันใจในตนเอง ละเอียดรอบคอบ มีความจาดี ช่าง ่ สังเกต 6. อายุไม่เกิน 38 ปี ไม่สายตาสั้น และต้องไม่ตาบอดสี 7. ในการสอบสัมภาษณ์มีท้ งการสอบภาษาไทย และสอบเชาว์ ั ปัญญา (Aptitude Test)และมีการสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดย ผูเ้ ชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ผูสมัครควรมีความรู ้ภาษาอังกฤษดี ้ และมีความรู ้เรื่ องคอมพิวเตอร์ดวย ้ 8. ในการขับเครื่ องบิน ต้องได้รับใบอนุญาตการบิน (Pilot License) รวมทั้งต้องผ่านการตรวจ ร่ างกาย และทดสอบทางจิต เวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบิน
  • 8. นิ ยามอาชีพ ผู้ปฏิบัตอาชีพพยาบาล ทาหน้ าทีให้ การรักษาพยาบาล และดูแล ิ ่ ผู้ป่วยทั้งทางกายและจิต ผู้ได้ รับบาดเจ็บ หรือทุพพลภาพ รักษา และปองกันโรค และการส่ งเสริมสุ ขภาพ วางแผนและให้ บริการ ้ ด้ านพยาบาล และทาหน้ าที่ช่วยแพทย์ ในโรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล
  • 9. ลักษณะของงานที่ทา รักษา ดูแล และให้คาแนะนาเกี่ยวกับการพยาบาล เป็ นผูช่วย ้ แพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงาน ให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็ นทั้งร่ างกาย อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้ นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้า กับภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่ วย จัดให้คนไข้ มี สิ่ งแวดล้อมที่ถูกสุ ขอนามัย ป้ องกันและควบคุมการเผยแพร่ ของ โรคติดเชื้อ สอนคนไข้ และประชาชนทัวไปให้รู้จกการดูแล ่ ั และส่ งเสริ ม สุ ขภาพวางแผน มอบหมาย สังการ ดูแล และ ่ ประเมินผลงาน ของผูช่วยพยาบาล และผูทาหน้าที่ประสาน ้ ้ งาน ร่ วมงานกับ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัย แขนงอื่นๆ ในการบริ การ คนไข้
  • 10. สภาพการทางาน ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานพยาบาล (คลีนิค) สถานพักฟื้ น สถานฟื้ นฟู ดูแลรักษาสุ ขภาพ สถานสงเคราะห์ เด็ก หรือคนชรา สถานอนุบาลเด็กทารกหรือเด็กก่อนวัยเรียน สถาน การศึกษา เช่ น โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย สถานที่ทางานใน โรงงานอุตสาหกรรม สถานีอนามัย/คลีนิคในชุ มชนพยาบาลประจาบ้ าน หรือส่ วนบุคคล เป็ นต้ น
  • 11. คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ ้ 1. สาเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่ อง หรือพยาบาลศาสตร์ 2. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทังร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ้ ปราศจากโรค (อันเป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบติงาน) ั 3. มีจิตใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ไม่รงเกียจผูเ้ จ็บป่ วย มีความเมตตา และมี ั ความรักในเพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี 4. มีความอดทน อดกลัน และมีความกล้าในการตัดสินใจ ้ 5. มีความคล่องตัวในการปฏิบติงาน ั 6. มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผูคนในชุมชนทัว ้ ่ ประเทศ
  • 13. นิ ยามอาชีพ ครู คือบุคคลทีมีหน้ าที่ หรือมีอาชีพในการสอน นักเรียน ่ เกียวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและ ่ แนวทางในการทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่ างกันออกไปโดย คานึงถึงพืนฐานความรู้ ความสามารถ และเปาหมายของนักเรียนแต่ ้ ้ ละคน
  • 15. นิ ยามอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ได้ แก่ผู้ให้ การรักษาโรคและความผิดปกติ ของฟันและช่ องปากด้ วยการศัลยกรรม ให้ ยา และวิธีการอืนๆ ควบคุม ่ โรคในช่ องปากของผู้ป่วย และควบคุมบริการทันตสุ ขภาพ รวมถึงการ ตรวจฟันและปากของผู้ป่วย และใส่ ฟันปลอม ร่ วมในการวางแผน จัด ระบบงาน และดาเนินงานให้ เป็ นไปตาม โครงการทันตสุ ขภาพของ หน่ วยงานสาธารณสุ ข
  • 16. สภาพการทางาน ทันตแพทย์ทวไปจะทางานในห้องตรวจฟันซึ่งมีอุปกรณ์ในการตรวจ ั่ และรักษาฟัน เช่น เครื่ องมือต่างๆ เพื่อการขูดหิ นปูน ถอนฟัน ฉี ดยาชา และ เก้าอี้สาหรับผูป่วย และทันตแพทย์ โดยจะต้องมี ไฟส่ องสว่างเพื่อช่วยในการ ้ ตรวจฟันในปาก โดยทัวไปทันตแพทย์จะมีผช่วยทันตแพทย์ในการตรวจรักษา ่ ู้ ผูป่วยโดยจะช่วยในการหยิบส่ งอุปกรณ์ในการตรวจรักษาฟัน ในบางครั้ง ้ ู้ ่ อาจจะมีผป่วยที่เป็ นเด็ก ซึ่งการตรวจรักษาอาจจะยุงยากกว่าผูใหญ่เนื่องจาก ้ เด็กจะมีความกลัวและไม่ให้ความร่ วมมือในการตรวจฟัน ทันตแพทย์ตองมี ้ จิตวิทยาในการหลอกล่อเด็กให้ความร่ วมมือโดยการอ้าปาก เพื่อทาการตรวจ รักษา รวมทั้งต้องระวังการถูกกัดนิ้วมือขณะทาการตรวจรักษาให้เด็กที่กาลัง กลัวและโกรธ
  • 17. คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ ้ 1. สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางทันตแพทย์ 2. มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเป็ นอย่ างดี 3. มีความรู้ในการค้ นและการประดิษฐ์ 4. มีสุขภาพแข็งแรง บุคลิกดี รู้หลักจิตวิทยา คล่องแคล่ว พูดจาเก่ง 5. มีฐานะทางการเงินดีพอสมควร 6. มีความซื่อสั ตย์ ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริยธรรมทาง การแพทย์ ไม่ ใช้ ความรู้ทางวิชาการของตนไปหลอกลวงหรือทาลายผู้อื่
  • 19. นิ ยามอาชีพ ผู้ประกอบอาหาร,พ่อครัว หรือแม่ ครัวในภาษาอังกฤษเรียกทับศัพท์ ว่ า กุ๊ก (cook) เป็ นผู้รับผิดชอบในการเตรียมอาหารและทาอาหาร สาหรับ "หัวหน้ าพ่อครัว" หรือ "เชฟ" (chef) จะทาหน้ าทีรวมไปถึงคิดสู ตรทาอาหาร ่ และการคิดรายการอาหาร รวมทั้งการจัดการในครัวคาว่ า เชฟ มาจากคาใน ภาษาฝรั่งเศสว่ า "chef de cuisine" ซึ่งหมายถึงหัวหน้ าในการทาอาหาร ผู้ปฏิบตงานอาชีพนี้ ทางานเกียวกับทาอาหารให้ เป็ นทีพอใจของลูกค้ าโดยวาง ั ิ ่ ่ แผนการประกอบอาหาร คิดรายการอาหาร จัดหา หรือสั่ งให้ จัดหาเครื่องปรุง อาหาร เตรียมอาหาร และประกอบอาหารในธุรกิจร้ านอาหารส่ วนตัวโรงแรม ภัตตาคาร สถานบริการอาหารทัวไป และธุรกิจประกอบอาหารสาเร็จรู ปส่ ง ่ ลูกค้ า
  • 20. ลักษณะของงานที่ทา ผู้ประกอบอาชีพนี้ อาจได้ รับการเรียกว่ า "พ่อครัว" หรือ "แม่ ครัว" ต้ องมีความรู้ในการทาหรือปรุงอาหารไทย อาหารฝรั่ง หรืออาหาร จีนรวมทั้งการทาของหวาน หรืออาจมีความรู้ในการประกอบอาหารอย่ าง ใดอย่ างหนึ่ง ตามทีกล่าวมา ซึ่งต้ องทาหน้ าทีและมีความรู้หลักดังนี้ ่ ่ 1. วางแผนออกรายการประกอบอาหารต่ อมือ หรือรายวัน อาจเป็ น ้ รายการอาหารไทย หรืออาหารเทศและของหวาน 2. กาหนดรายการเครื่องประกอบอาหารซึ่งอาจจะต้ องพิจารณาให้ เหมาะสมกับฤดูกาลสาหรับเครื่องปรุงบางประเภทเช่ น ผักสด ปลา เนือสั ตว์ ผลไม้ ้
  • 21. ลักษณะของงานที่ทา 3. จัดทางบประมาณค่ าใช้ จ่ายตามรายการที่กาหนดเป็ นรายวัน หรือตามระยะเวลา ทีเ่ หมาะสม เช่ น 2 วัน 3 วัน เป็ นต้ น จัดซื้อหรือสั่ ง การซื้อรายการเครื่องประกอบอาหารวัสดุอุปกรณ์ ประกอบอาหาร เครื่องปรุงอาหาร และเก็บอาหาร ถนอมอาหารแต่ ละประเภท ให้ เหมาะสม 4. จัดการเตรียมส่ วนประกอบอาหาร เพือพร้ อมปรุง เช่ น หั่นเนือสั ตว์ ่ ้ หั่นผัก เตรียมเครื่อง ปรุงรส 5. ถ้ าประกอบอาหารไทยต้ องปรุงรสและปรุงอาหารไทยด้ วยกรรมวิธี แตกต่ างกันไป เช่ น แกงจืด แกงเผ็ด ต้ มยา ผัดต้ ม ย่ าง อบ ปิ้ ง นึ่ง ทอด เจียว ตุ๋น นาพริก หลน ยา ปรุงอาหารตาม ใบสั่ ง ปรุงอาหารเป็ นชุ ด หรือ ้ ปรุงอาหารจานเดียว
  • 22. ลักษณะของงานที่ทา 6. ในการทาของหวานอาจเป็ นผลไม้ ซึ่งต้ องจัดและปอกผลไม้ ชิมรสของหวานหรือขนม และจัดแต่ งให้ สวยงาม 7. ให้ คาแนะนาผู้ช่วยปรุงอาหาร ควบคุมปริมาณ และควบคุมการ ล้ างจานและสิ่ งที่ใช้ บริโภคอืนๆ ่ 8. อาจทาหน้ าที่คดเลือกคนงาน และแนะนาวิธีเสริฟอาหาร ั 9. อาจจัดเก็บข้ อมูลคุณค่าอาหารทางโภชนาการของแต่ ละชนิด และข้ อมูลฤดูกาลของอาหาร และผลไม้ สด ไว้ เป็ นหมวดหมู่ เพือ ่ สะดวกต่ อการจัดหาและการเก็บถนอม
  • 23. สภาพการทางาน ผู้ปฏิบัตงานในอาชีพนีต้องเข้ าใจถึงธรรมชาติของอาชีพนี้ ไม่ ว่า ิ ้ จะปฏิบัตหน้ าทีอยู่ใน ภัตตาคารของ โรงแรม ภัตตาคาร ิ ่ ห้ องอาหาร ร้ านอาหารธรรมดา หรือ ประกอบเป็ นอาชีพส่ วนตัว คือต้ องทางานหนัก ต้ องอยู่ในครัว และหน้ าเตาประกอบอาหาร เผชิญกับความร้ อน กลินอาหารทั้ง ของสด หรือขณะกาลังปรุ ง ่ และต้ องอยู่ในครัวในช่ วงเช้ ามืดเพือเตรียมและประกอบ อาหาร ่ เช้ า กลางวัน และเย็น หรือออกไปตลาดสดเพือเลือกซื้ออาหารสด ่ ด้ วยตนเอง
  • 24. คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ ้ 1. ต้ องมีความรู้และความสามารถในการประกอบอาหาร เฉพาะอย่ างใด อย่ างหนึ่ง หรือหลายอย่ างเช่ น อาหารไทย อาหารฝรั่ง อาหารจีน การทา ขนมหรือของหวาน 2. มีใจรักการทาอาหารและการบริการ 3. มีความอดทน สามารถทางานได้ ใต้ สภาวะความกดดันตามความต้ องการ ของลูกค้ า 4. ร่ างกาย สุ ขภาพแข็งแรง 5. เป็ นคนใจกว้ าง สามารถยอมรับคาติชมจากลูกค้ าได้ พยายามเสาะแสวงหา ความรู้ และประสบการณ์ ให้ มากขึน ้ 6. เป็ นคนมีไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ า 7. ซื่อสั ตย์ ขยัน และรักความสะอาด