SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ
      ทางการเคลื่อนไหว



              โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019
ความเปนมาของโครงการ
พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมี
ประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมใน
แตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่ง
ทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แต
ทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด
ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแต
ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการ
แพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีจะเห็นไดวาศูนยฟนฟูยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่มากขึ้นทุกป
วัตถุประสงคของโครงการ

1.เพื่อรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป

2.ใหบริการทางดานวิชาการและเปนศูนยกลางในการรักษา

3. เปนสถานฟนฟูที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ
วัตถุประสงคของการศึกษา
1.เพื่อศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพื่อตอบสนองตอ
ความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพื่อนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนอง
ตอความตองการของผูใช

2.เพื่อศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการ
เคลื่อนไหว ในปจจุบันเพื่อเปนแนวทางการจัดตั้งโครงการ

3.เพื่อศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพื่อใหเกิด
บรรยายการที่ดีในการฟนฟู

4. เพื่อศึกษาแนวทางการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพและรักษาสภาพแวดลอม
ขอบเขตโครงการ
เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวตั้งแตอายุ 3-6 ขวบ

1.ศึกษาขอมูลพื้นฐานทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหการออกแบบ

1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ
1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว
1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพื่อนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ
1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตราฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ
1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ตั้ง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพื้นที่เพื่อในมาประกอบ
ในการออกแบบ
1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ
1.7 ศึกษาความตองการทั้งกายภาพและจิตใจของผูพิการทางการเคลื่อนไหว
1.8 ศึกษางานสถาปตยกรรมพิเศษที่ตองใชในการออกแบบ
2.ศึกษางานวางผังบริเวณขนาดใหญ

2.1 ศึกษาการใชที่ดินและการวางตําแหนงของอาคาร
2.2 ศึกษาระบบการสัญจร
2.3 ศึกษาระบบการระบายน้ํา
2.4 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ

3.ศึกษางานวางผังบริเวณ

3.1 สวนบริหารและอํานวยการ
3.2 สวนบําบัดฟนฟู
3.3สวนนันทนาการ
3.4สวนบริการและซอมบํารุง
3.5สวนลานจอดรถ
4.ศึกษางานออกแบบรายละเอียด
4.1 ออกแบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม
4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา
4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง
4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ
ขั้นตอนและวิธีดําเนินการศึกษา
แบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ
งานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล
      1.ศึกษาขอมูลของโครงการ
            1.สภาพการณ ปญหา และความตองการที่เกี่ยวของกับคนพิการ
            2.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ
            3.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม
            4.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
            5.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว
            6.ศึกษาพฤติกรรม ความตองการ ลักษณะของการพิการใชชีวิตประจําวัน การใชเวลาวาง
            การใชพื้นที่ภายนอกอาคาร
            7.มาตรฐานของ Human scale ในสวนของคนพิการที่จะนํามาใชในการออกแบบ
            8.ศึกษาถึงกีฬาและนันทนาการที่มีสวนในการชวยพัฒนาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
            9.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
            10.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ
1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ
             1.2.1 ศึกษาถึงประโยชนโครงการตอสาธารณชน
            1.2.2 ศึกษาถึงนโยบายของรัฐที่สนับสนุนและเกี่ยวของ
            1.2.3 ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ
1.3 ศึกษาที่ตั้งของโครงการ
            1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม
            1.3.2 ที่ตั้งโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ
พื้นที่ ฯลฯ
             1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ
ใชที่ดินพืชพันธใน                                                       ทองถิ่น
ทัศนียภาพ
             1.3.4 สภาพทั่วไปทางเศรษฐศาสตร เชน สภาพทางเศรษฐกิจ ที่มาของงบประมาณ
หรือเงินทุนสนับสนุน
              1.3.5 โครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
ระบบกําจัดขยะ ระบบระบายน้ํา กฎหมายและเทศบัญญัติ
1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพื่อนําขอมูลมาใชในการออกแบบ อันไดแก
           1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ
           1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ
           1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ
           1.4.4 โครงสรางการบริหาร

1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน
องคประกอบหลักของอาคาร
•สวนการฟนฟู
   •   สวน OUTDOOR LEARNING
   •   สวนกลางการศึกษา
   •    สวนที่ใหบริการการสอนตางๆ
   •    หองคอมพิวเตอร
• สวนบําบัดรักษา
    • หองกายภาพ
    • หองธาราบําบัด
    • หองจิตบําบัด
    • หองกายอุปกรณ


• สวนกีฬาและสวนนันทนาการ
•   สระวายน้ํา
•   สนามกีฬากลางแจง
• สวนบริหารและอํานวยการ
  •    ฝายบริหาร
  •    ฝายธุระการ
  •    ฝายการเงิน
  •    ฝายพัสดุ
  •    ฝายวิชาการ
  •    ฝายทะเบียน
  •    ฝายประสานงานและติดตอ

• สวนบริการและบํารุง
   •    สวนซักรีด
   •    สวนซอมบํารุง
ลูกบอล(Blowster ball)
  ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกลิ้ง
การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพิ่มความ
แข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการ
ทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง



                                                                          ราวฝกเดิน
                                     ใชฝกการทรงตัวซึ่งมีความมั่นคงมากกวาอุปกรณ
                                    ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน
                                    ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพื่อกระตุนพัฒนาการ
                                                ทางดานการเคลื่อนไหว ฝกการทรงตัว
ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag)
      ใชฝกรวมกับอุปกรณอื่นไดโดยมีน้ําหนักตั้งแต
0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพื่อใชถวงน้ําหนัก
ในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพื่อเปนการ
ฝกการทรงตัว เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อแขน
และขา
                                                                    กระดานฝกกลามเนื้อขา
                                                  อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอน
                                         บนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยู
                                         ตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณ
                                         โดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิม
                                          การเพิ่มระดับความยาก และเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ
                                         สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพิ่มขนาด
                                         น้ําหนักของถุงทราย หรือเพิ่มจํานวนครั้งของการยก
การวิเคราะหโครงการ
โครงการประเภทเดียวกันในประเทศ
   ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ
    National Rehabittation Center For Disable
    Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center
ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

ที่ตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บริเวณ
กระทรวงสาธารณสุข

พื้นที่ : 33 ไร

ลักษณะโครงการ
ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง
สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของภาครัฐใน
การรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพื่อพัฒนางานฟนฟูสมรรถภาพผูปวย
และผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคม
แหงชาติ และ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ
ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ
•การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟู
สมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย

•การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพื่อการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพ
ผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพื่อใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการที่
ตองการรับบริการสามารถเขาถึงได
เทาเทียมกัน ทั่วประเทศ
สวนประกอบโครงการ
•สวนอาคารผูปวยนอก
    สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร

 -โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ             -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด
 -สวนอาชีวะบําบัด                      -สวนกายอุปกรณ
 -งานวิชาการ                            -หอพักผูปวยหญิง
 -หอพักผูปวยชาย                       -อาคารโภชนาการกลาง
 -อาคารซอมบํารุง                       -หองเครื่องอาคารเก็บของ
 -อาคารซักฟอก                           -หองเก็บศพ
 -อาคารกีฬาในรม                        -สนามฟุตบอล
ลักษณะการวางผัง
 มีการจัดแบงพื้นที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดย
แบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ
เชน สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอื่น ๆ
กอน
จัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเชื่อมถึงกันโดยไมผานทางรถ
(ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการ
สัญจรของผูใช
    ( Wheelchair ) มีการเชื่อมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สราง
มุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพื้นที่พักผอน อาน
หนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่
ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกล
ผูปวยเกินไป
รูปแบบการสัญจร
      ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตใน
แงการติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลา
      การขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1
และ 2 แตทDrop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซึ่งไมสัมพันธกัน และ
             ี่
ramp ที่ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพื้นที่เผื่อ
ไว
      การสัญจรทางตั้งระหวางชั้น และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซึ่งอยู
กึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เชื่อมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช
wheelchair ที่ผึกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเมื่อสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับ
เปนคนปกติมากกวา
      อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไมดี
ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคาร
อาคารสวนใหญสูง 2 ชั้น วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายใน
อาคารยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนัก
ลักษณะอาคาร ที่ทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของ
ผูปวย อาคารที่พักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาติ พื้นที่ชั้นหนึ่ง
สูงขึ้นจากพื้น 1 เมตร เพื่อปองกันน้ําทวม ทําใหดูตัดขาดจากพื้นดิน ผูปวยไม
สามารถ ลงไปที่สนามที่เห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงที่อาคาร
กีฬาในรม
       การใชพื้นที่วางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียง
เพื่อการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได
ปญหาที่เกิดขึ้นในโครงการ

       สวนใหญเปนปญหาเรื่องการใชงานที่แตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair
ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลังและ ผูปวยที่ใชไมเทา เชน
       ระดับ dimension ของผูปวยที่นั่งเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกติ ทําใหการ
ออกแบบเฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ที่ต่ํากวาปกติ สรางปญหาให
ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลัง ที่ไมสามารถกมตัวได
       การออกแบบพื้นที่เปลี่ยนระดับ ควรตองมีทั้ง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน
เพราะผูปวยที่ใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp
โครงการในตางประเทศ
                    National Rehabittion Center For Disable
ที่ตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan
พื้นที่ : 140 ไร
ลักษณะโครงการ
เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญี่ปุน โดยมีกิจกรรมที่ใหบริการแบง
ออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ
1. Comprehensive Rehabittation Services
การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเชี่ยวชาญทางดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
กับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซึ่งรวมทั้งคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก
เปนใบ จุดประสงคเพื่อใหสามารถกลับเขาสูสังคม
ได (Re – Entry into Society )
โดยสามารถแบงการบริการไดเปน 2 ประเภท คือ
โรงพยาบาล ผูปวยแบบ Nursing 200 เตียง
ศูนยฝก ฝกอาชีพ 210 คน ฝกกิจวัตรประจําวัน 40 คน
สวนตรวจรักษาทางการแพทย
การฝกอาชีพทั่วไป เชน หัตกรรม ซักรีด การหัดขับรถ
กายภาพบําบัด
การฝกการใชชีวิตประจําวัน ของคนตาบอดโดยเฉพาะ
อรรถบําบัด
การฝกทางดานการกีฬาของผูพิการ
จักษุบําบัด
สวนผูปวยใน
2.Research and Development of Rehabittation Technique

สวนวิทยบริการ มีหนาที่ทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ที่จะชวยในการ
    ฟนฟูผูพิการ

3.Training of Professional Staff

สวนของวิทยาลัย ทําหนาที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย ที่เกี่ยวของกับผูพิการ

• Infotmation Service
เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญี่ปุนและประเทศ
     ตาง ๆ ทั่วโลก
สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเนื้อที่ (ตารางเมตร)

สวนโรงพยาบาล (Nursing )                13,087

สวนงานวิจัย                            3,108
ศูนยฝก                                7,655
วิทยาลัย                                2,314
หอพักผูฝก (Non – nursing)             17,064
หอพักนักศึกษา                           3,768
โรงยิมเนเซียมและสระวายน้ําในรม        2,919
สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ            22,050
สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต        1,339
รูปแบบการวางผัง
           มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดับ
การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พื้นที่ Public (Admin) Semi – public
(hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing
dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวน
Service ที่สามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางทั่วถึง สวนของที่พัก staff ที่จัดให
ใกลสวนที่พักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณีตอง
ชวยผูใชซึ่งเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ที่สะดวกตอ
ผูใชพิการและ ความเชื่อมโยงกับสวนบําบัด
           เนื่องจากสภาพพื้นที่ลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพื้นที่โดยกันสวนที่พัก
ผูปวยและสวนการบําบัดซึ่งตองการความสงบมากที่สุด ใหอยูหางจากถนนดวยพื้นที่ใช
สอยอื่นจัดสวน sport rectation ซึ่งเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมี
ความสัมพันธกับ พื้นที่ขาง ๆ ที่เปน Open space ผืนใหญใหตอเนื่องกัน
รูปแบบการสัญจร
       เนื่องจากพื้นที่ขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ
จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมาก
มีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะ
เชื่อมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซึ่งอาจ
เกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งจะสะดวกตอผูใช wheelchair
ผูพิการทางตา
ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร
สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลทั่วไป ใชลิฟทในการ
สัญจรทางตั้ง เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซึ่งอาจไมคอยเหมาะสมในแงการ
ฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ
open space อยางตอเนื่อง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space
สีเขียวผืนใหญ ซึ่งเปนการเปดมุมมองที่ดีใหผูใชที่อยูในอาคาร
Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

ที่ตั้ง : downtown Knoxville Tenessee

พื้นที่ : 1,300 ตรม

ลักษณะโครงการ
เปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพื่อการบําบัด ที่ชวยสงเสริม
การฟนฟูสภาพผูปวย โดย
มีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย
รวมทั้งญาติครอบครัวและเจาหนาที่ในโรงพยาบาล
สวนประกอบโครงการ
มีการแบงพื้นที่หลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ที่มีความหลากหลายตางกัน เพื่อใหมี
space ที่หลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเชื่อมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน
ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซึ่งแตละ spaceสามารถเชื่อมถึงกันดวยสายตาได โดย
การออกแบบที่คํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเลื่อนเปนหลัก โดยมี sequence
ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซึ่งมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ
ลดความ active ลงมาเรื่อย ๆ
การแกปญหาในงานออกแบบ
1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความมั่นคงของโครงสราง โดยการ
วางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว
2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา ทอพรุง
และ
การระบายน้ําออกจากผิวพื้นโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการ
ใหน้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพื่อควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับ
ตนไม

การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ชั้น จึงตองมีการเลือกใชพืช
พรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาใน
สวนที่รับแสงนอย

พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซึ่งนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความ
เคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา
รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช
โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ
1. คนไข Patient             ไดแก Out-patient ผูปวยนอก


2. เจาหนาที่ Staff                   ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและ
                                       กายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาที่ทั่วไป


3. ผูมาเยี่ยม Visitor                 ไดแก   ผูมาเยี่ยมผูปวย ผูมาติดตองานทั่วไป
1. คนไข Patient
      ประเภทของคนไข คนไขที่มาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูที่มีความเสื่อม หรือ
      สูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตางๆ เชน โรคภัยไขเจ็บ การ
      ผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซึ่งตองการการบําบัดเพื่อฟนฟูสมรรถภาพใหใช
      การไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกติ อาจเปนผูพิการจริงหรือผูที่มีความบกพรองทาง
      รางกายและอวัยวะเปนการชั่วคราวที่สามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยทั้งผูปวยใน
      และนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวย
      ความจําเสื่อม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว
เมื่อดูจากสถิติ 10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรนทรเพื่อการฟนฟูฯ
                                                                  ิ
      แลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญนั้นเปนผูที่มีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลัก
      เชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเนื้อ ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ครึ่ง
      ทอนและทั้งตัว และผูพิการแขนขาขาด ซึ่งเปนประเภทที่มากที่สุดของผูพิการใน
      ภาคกลาง
ประเภทของผูปวยนอก
     ผูปวยนอกสวนใหญคือผูที่อยูในจังหวัดกรุงเทพหรือจังหวัดใกลเคียงที่สามารถ
เดินทางไปกลับไดมาทําการบําบัดตามโปรแกรมที่ทีมแพทยกําหนดไว เชนการทํา
กายภาพบําบัดแบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการตรวจวินิจฉัยผูปวยนอกใหม
เฉพาะชวงเวลาเชา 8.00-12.00 น. และมีการจัดการเวลานัดมาทํา
กายภาพบําบัดอยางแนนอน รวมถึงมีการจํากัดปริมาณของผูปวยใหเหมาะสมกับ
การรองรับของเจาหนาที่ และ facility ที่มี คือประมาณ 70 คน ตอวัน เพื่อไมให
กระทบกับการบําบัดผูปวยใน ประเภทผูปวยนอกสวนใหญมภาวะการเจ็บปวยของ
                                                            ี
กระดูกและกลามเนื้อที่ไมจําเปนตองรักษาดวยการผาตัด ภาวะอัมพาจครึ่งซีก ผูมา
ทําแขน ขาเทียมโรคปวดหลัง เปนตน
ประเภทผูปวยใน
     ประเภทผูปวยใน เปนผูปวยที่พักอาศัยภายในโครงการ โดยทําการบําบัดตาม
โปรแกรมการรักษาจากทีมแพทย โดยมีจํานวนวันพักเฉลี่ย 20 คนตอวัน หรือสูงสุด
ประมาณ 1 ป ประเภทของผูปวยในสวนใหญมีภาวะที่มีผลพวงจากระบบประสาท เชน
อัมพาตครึ่งทอน อัมพาตทั้งตัว ผูพิการแขนขาขาด และผูปวยในระบบกระดูกและ
กลามเนื้อ เปนตน
     สาเหตุที่จําเปนตองมีที่พักผูปวยใน ไดแก
          - มีความจําเปนตองควบคุมสภาพแวดลอมกิจวัตรประจําวันและการ
บําบัดรักษาอยางตอเนื่อง
          - การติดตอรายวันทําไมไดเนื่องจากอยูไกลและมีอุปสรรคทางการเดินทาง
          - ปญหาทางสภาพแวดลอมที่บานหรือที่พักใกลศูนยไมเหมาะสมกับผูปวย
          - ตองการฝกสภาพจิตใจในการอยูรวมกับคนหมูมากเพื่อที่จะเรียนรูที่จะ
                                                                         
ออกไปใชชีวิตอยางสมบูรณ และชวยใหมีการดูแลซึ่งกันและกัน
กลุมอายุคนไข พิจารณาจากสถิติของผูพิการ ที่จะเปนผูใชหลักในโครงการ
               ซึ่งจากตาราง สรุปไดวากลุมผูใชเปนเด็กทีมีอายุตั้งแต 3-6ป เปนหลัก


       2. เจาหนาที่ Staff
           การบําบัดรักษาจําเปนตองมีกลุมบุคลากรซึ่งเรียกวากลุมเวชศาสตรฟนฟู
  ทํางานรวมกันในการบําบัดรักษา
ผูมาเยี่ยม Visitor
          เปนกลุมที่มาใชเปนครั้งคราว ในชวงเวลาสั้นๆ มีจุดประสงคของการมา
ตางๆกันโดยแยกประเภทเปน
          - ผูมายี่ยมผูปวย ไดแกบรรดาญาติมิตรของผูปวย ซึ่งมักจะมาเยี่ยมผูปวย
ในชวงเย็น หรือวันหยุด เสาร
จํานวนผูใช
•คนไข โครงการจําเปนตองเจาะจงใหชัดเจนเพื่อประสิทธิภาพและความคุมคาที่ดี
ที่สุดของโครงการ โดยพิจารณาตามความสามารถในการรองรับในดานบุคคลากร
เครื่องมือเครื่องใชในการรักษา และพื้นที่ในการรองรับ
- คนไขใน ปจจัยในการรับจํานวนคนมีเกณฑดังนี้
1. ความตองการของการฟนฟู
โดยเทียบจากจํานวนของคนพิการซึ่งเปนผูใชหลัก ซึ่งจํานวนผูปวยในที่ควรรองรับได
คิดเปนอัตรา 2.4 % ของผูพิการ (เทียบกับอัตรารองรับของแผนการสงเคราะหและ
ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ) ดังนั้นจํานวนผูปวยที่ควรรองรับไดคือ
        จํานวนผูพิการในภาคกลาง x2.4% = 248,100 x 0.024 = ประมาณ 60 คน
2. จํานวนบุคลากรที่ทําการรักษา
ตองมีจํานวนบุคลากรมากพอกับจํานวนผูปวยที่จะรับ ซึ่งจะมีสวนแปรผัน
ตามจํานวนผูปวยที่รองรับเปนอัตรามาตรฐาน เชน

แพทยเวชศาสตรฟนฟู                1 : 15
นักกายภาพบําบัดตอผูปวย           1:8
ผูชวยนักกายภาพบําบัดตอผูปวย    1:1
นักกิจกรรมบําบัดตอผูปวย          1 : 8-16

3.ปริมาณพื้นที่ในสวนการบําบัดรักษาตอจํานวนผูปวย

4.ปริมาณเนื้อที่ของโครงการตอจํานวนผูปวย
รายละเอียดดานหนาที่ใชสอย
ในโครงการมีสวนประกอบดานหนาที่ใชสอยหลายสวน ซึ่งสามารถแยกโครงสรางใหชัดเจนไดดังนี้

สวนกลางและสวนบริหาร
              เปนสวนกลางในดานการบริหารทั้งหมดของโครงการ ทั้งในดานฝายธุรการ และบริหาร สวนนี้
มักใชเนื้อที่ใชสอยอยูสวนหนาของโครงการ แยกเปนอาคารออกมา เพื่อใหสะดวกตอการติดตอ
ประสานงาน ซึ่งจะประกอบดวย หองผูบริหารระดับตางๆ หองประชุมยอย หองธุรการ หองพัสดุกลาง หอง
โถงตอนรับ และหองประชาสัมพันธเปนตน

สวนพัฒนาวิชาการ
          มีหนาที่รับผิดชอบงานดานวิชาการ การวางแผนงาน งานทะเบียนและสถิติ งานประชุม การ
ฝกอบรมสัมมนา และติดตามประมวลผลผูเขารับการฟนฟูดานหองสมุด รวมถึงการวิจัยคนควาเพื่อการ
พัฒนางานฟนฟูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรจัดวางพื้นที่ไวใกลสวนบริหารเพื่อความสะดวกในการติดตอ
งานทั้งภายในและภายนอก
สวนฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย
                มีหนาที่รับผิดชอบในเรื่องการตรวจสภาพความพิการ และความสามารถของอวัยวะ
ที่เหลืออยู วางแผนการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ใหบริการบําบัดดานตางๆ ประสานงานกับ
โรงพยาบาลในการสงตอผูปวยรับการฟนฟู รวมถึงดานการปฐมพยาบาลเบื้องตนดวย สามารถ
แบงสวนตางๆออกเปน

สวนผูปวยนอก
            มีหนาที่ใหบริการผูปวยและประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจโรค ทั่วไป หรือโรค
เฉพาะทาง จะ
ประสานงานกับฝายอื่นๆของศูนยเพื่อการตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพโดยจะ
ประกอบดวยหองทําบัตร หองรอตรวจ หองจายยา หองเก็บเงิน หองแสดงนิทรรศการ และ
หองอาหารสําหรับผูปวยนอก
สวนรักษาทางการแพทย
               ประกอบไปดวยหองสําหรับตรวจผูปวย หองผาตัดยอย หองพยาบาล มีโถงพักคอย
เชื่อมตอกับสวนผูปวยนอก
สวนงานกายภาพบําบัด
เปนการบําบัดรักษาและฟนฟูสภาพรางกายใหเปนปกติมากที่สุด ดวยวิธีตางๆเชน การใช
ความรอน ความเย็น น้ํา แสง ไฟฟา พรอมการออกกําลังกาย ตานทานน้ําหนัก การจัด
เนื้อที่แบงเปน 2 สวน คือ
สวนภายในอาคาร ประกอบดวย
              หองตรวจ หองบําบัดดวยอุปกรณไฟฟา
              หองออกกําลังกาย (คลายฟตเนส) สําหรับการบําบัดทั้งเดี่ยวและกลุม
              หองธาราบําบัด ซึ่งมีเครื่องมือสําหรับแชรางกายบางสวน และอางที่แช
รางกายไดทั้งตัว ซึ่งมีการออกแบบใหผูปวยโดยเฉพาะ
              สระบําบัด มี 2 ขนาด คือ 7x15 m. 2.4x4 m. (สระนวด) ซึ่งมีอุปกรณ
อํานวยความสะดวกใหผูปวยขึ้นลงไดสะดวก เชน ramp และราวจับ ตองมีการจัดเตรียม
อุปกรณตางๆเชน เครื่องทําความรอน เครื่องฆาเชื้อโรค เครื่องกรอง เครื่องปม ซึ่งสามารถ
ใชสระรวมกับสวนของ Recreation ไดดวย โดยการบริหารเวลาใหเหมาะสม
สวนภายนอกอาคาร
      ประกอบไปดวยพื้นที่ทํากายภาพบําบัดเชน พื้นที่หัดเดิน ซึ่งอาจใชวัสดุตางๆกัน เชน พื้นทราย
, พื้นหญา พื้นที่ออกกําลังกายดวยเครื่องมือเฉพาะคลายสวนสุขภาพ โดยในสวนนี้ ตองการรมเงา
คอนขางมาก เพื่อใหสะดวกสบายตอผูปวย
     สวนงานกิจกรรมบําบัด
       เปนสวนที่ชวยปรับปรุงสภาพจิตใจและรางกายผูพิการ ใหสอดคลองกับสภาพการใชงาน โดย
การสอนใหผูพิการสามารถทํากิจวัตรประจําวันไดตามปกติ โดยในการบําบัด อาจแบงไดเปน 2
รูปแบบ คือการฝกกิจวัตรประจําวัน ไดแก อาบน้ํา นอน ทําครัว แตงตัว และทักษะการหยิบจับตางๆ
เปนตนการทํากิจกรรมตางๆรวมกัน เพื่อเปนการฝกฝนการเขาสังคม โดยมีทั้งกิจกรรมภายใน
โครงการ เชน กิจกรรมประกอบเพลง กิจกรรมการพัฒนาภูมิทัศน และกิจกรรมภายนอก เชน การพา
ผูปวยออกนอกสถานที่เชน ไปตลาด ไปทองเที่ยวตามที่ตางๆโดยสวนของอาคารควรมี
สภาพแวดลอมที่เงียบสงบ เพื่อใหผูฝกมีสมาธิในการฝกมากที่สุดและมีบรรยากาศเปนธรรมชาติเพื่อ
ความผอนคลาย และควรมีสวนฝกทํากิจกรรมตางๆภายนอกอาคารเชน การทําสวนปลูกฝก และ
ลานประกอบกิจกรรมรวมกัน
สวนอรรถบําบัด
            หมายถึงการชวยบําบัดผูปวยบางรายที่มีปญหาทางการไดยินมีผลทางปญหาการพูด
ประกอบดวยหองทดสอบการไดยิน หองบําบัดแบบเดี่ยวและหองบําบัดแบบกลุม โดยจะตองมีการควบคุม
เสียงใหเงียบและกันเสียงรบกวนเพื่อเกิดสมาธิมากที่สุด ภายนอกอาคารควรมีสวนสําหรับทําการบําบัด
แบบกลุมเชนที่นั่งพักผอนพูดคุยที่สงบและรมรื่น
     สวนจิตบําบัด
           หมายถึงการรักษาทางสภาพจิตใจ โดยการใหการรักษา ใหคําแนะนํา กําลังใจ เพื่อใหผูปวยมี
จิตใจ ผอนคลาย สดชื่น มีความหวัง มีกําลังใจ โดยอาจรวมเปนสวนหนึ่งอยูในอรรถบําบัดไดเนื่องจากการ
ใชงานใกลเคียงกัน
     สวนกายอุปกรณเทียม
            คือสวนที่ผลิตเครื่องชวยเหลือผูพิการในแงแขนขา เทียม เกาอี้ลอเลื่อนโดยจะประกอบดวย
            หองทดลอง คือหองทําการวัดและลองอุปกรณ รวมถึงการถอดอวัยวะเทียมหรือเครื่องชวย
ภายในมีอุปกรณทดสอบการหัดเดิน บันไดลาด ลักษณะเปนหองโลงคลายโรงยิม
            โรงงาน คือสถานที่ลิต และเก็บอุปกรณเชนเกาอี้ลอเลื่อน มีการใชอุปกรณขนาดใหญ และมักมี
เสียงดังจากการผลิต จึงควรมีการแยกโรงงานเพื่อเปนการลดเสียง และอันตรายที่อาจเกิดจากไฟไหม โดย
อาจมีพื้นที่นอกอาคารซึ่งเปนลานสําหรับทดลองเกาอี้ลอเลื่อนที่สะดวกและกวางขวางกวาในอาคาร

More Related Content

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
Mam Chongruk
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
Anchalee Tanphet
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
Mam Chongruk
 
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
kruuni
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
supap6259
 

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5 (20)

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
5
55
5
 

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5

  • 1. ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ทางการเคลื่อนไหว โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019
  • 2. ความเปนมาของโครงการ พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมี ประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมใน แตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่ง ทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แต ทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแต ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการ แพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีจะเห็นไดวาศูนยฟนฟูยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่มากขึ้นทุกป
  • 4. วัตถุประสงคของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพื่อตอบสนองตอ ความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพื่อนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนอง ตอความตองการของผูใช 2.เพื่อศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการ เคลื่อนไหว ในปจจุบันเพื่อเปนแนวทางการจัดตั้งโครงการ 3.เพื่อศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพื่อใหเกิด บรรยายการที่ดีในการฟนฟู 4. เพื่อศึกษาแนวทางการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพและรักษาสภาพแวดลอม
  • 5. ขอบเขตโครงการ เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวตั้งแตอายุ 3-6 ขวบ 1.ศึกษาขอมูลพื้นฐานทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหการออกแบบ 1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ 1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว 1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพื่อนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ 1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตราฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ 1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ตั้ง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพื้นที่เพื่อในมาประกอบ ในการออกแบบ 1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ 1.7 ศึกษาความตองการทั้งกายภาพและจิตใจของผูพิการทางการเคลื่อนไหว 1.8 ศึกษางานสถาปตยกรรมพิเศษที่ตองใชในการออกแบบ
  • 6. 2.ศึกษางานวางผังบริเวณขนาดใหญ 2.1 ศึกษาการใชที่ดินและการวางตําแหนงของอาคาร 2.2 ศึกษาระบบการสัญจร 2.3 ศึกษาระบบการระบายน้ํา 2.4 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ 3.ศึกษางานวางผังบริเวณ 3.1 สวนบริหารและอํานวยการ 3.2 สวนบําบัดฟนฟู 3.3สวนนันทนาการ 3.4สวนบริการและซอมบํารุง 3.5สวนลานจอดรถ
  • 7. 4.ศึกษางานออกแบบรายละเอียด 4.1 ออกแบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม 4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา 4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง 4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ
  • 8. ขั้นตอนและวิธีดําเนินการศึกษา แบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ งานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล 1.ศึกษาขอมูลของโครงการ 1.สภาพการณ ปญหา และความตองการที่เกี่ยวของกับคนพิการ 2.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ 3.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม 4.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 5.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว 6.ศึกษาพฤติกรรม ความตองการ ลักษณะของการพิการใชชีวิตประจําวัน การใชเวลาวาง การใชพื้นที่ภายนอกอาคาร 7.มาตรฐานของ Human scale ในสวนของคนพิการที่จะนํามาใชในการออกแบบ 8.ศึกษาถึงกีฬาและนันทนาการที่มีสวนในการชวยพัฒนาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 9.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 10.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ
  • 9. 1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ 1.2.1 ศึกษาถึงประโยชนโครงการตอสาธารณชน 1.2.2 ศึกษาถึงนโยบายของรัฐที่สนับสนุนและเกี่ยวของ 1.2.3 ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ 1.3 ศึกษาที่ตั้งของโครงการ 1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม 1.3.2 ที่ตั้งโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ พื้นที่ ฯลฯ 1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ ใชที่ดินพืชพันธใน ทองถิ่น ทัศนียภาพ 1.3.4 สภาพทั่วไปทางเศรษฐศาสตร เชน สภาพทางเศรษฐกิจ ที่มาของงบประมาณ หรือเงินทุนสนับสนุน 1.3.5 โครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบกําจัดขยะ ระบบระบายน้ํา กฎหมายและเทศบัญญัติ
  • 10. 1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพื่อนําขอมูลมาใชในการออกแบบ อันไดแก 1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ 1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ 1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ 1.4.4 โครงสรางการบริหาร 1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน
  • 11. องคประกอบหลักของอาคาร •สวนการฟนฟู • สวน OUTDOOR LEARNING • สวนกลางการศึกษา • สวนที่ใหบริการการสอนตางๆ • หองคอมพิวเตอร
  • 12. • สวนบําบัดรักษา • หองกายภาพ • หองธาราบําบัด • หองจิตบําบัด • หองกายอุปกรณ • สวนกีฬาและสวนนันทนาการ • สระวายน้ํา • สนามกีฬากลางแจง
  • 13. • สวนบริหารและอํานวยการ • ฝายบริหาร • ฝายธุระการ • ฝายการเงิน • ฝายพัสดุ • ฝายวิชาการ • ฝายทะเบียน • ฝายประสานงานและติดตอ • สวนบริการและบํารุง • สวนซักรีด • สวนซอมบํารุง
  • 14. ลูกบอล(Blowster ball) ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกลิ้ง การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพิ่มความ แข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการ ทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง ราวฝกเดิน ใชฝกการทรงตัวซึ่งมีความมั่นคงมากกวาอุปกรณ ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพื่อกระตุนพัฒนาการ ทางดานการเคลื่อนไหว ฝกการทรงตัว
  • 15. ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag) ใชฝกรวมกับอุปกรณอื่นไดโดยมีน้ําหนักตั้งแต 0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพื่อใชถวงน้ําหนัก ในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพื่อเปนการ ฝกการทรงตัว เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อแขน และขา กระดานฝกกลามเนื้อขา อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอน บนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยู ตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณ โดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิม การเพิ่มระดับความยาก และเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพิ่มขนาด น้ําหนักของถุงทราย หรือเพิ่มจํานวนครั้งของการยก
  • 16. การวิเคราะหโครงการ โครงการประเภทเดียวกันในประเทศ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ National Rehabittation Center For Disable Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center
  • 17. ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ที่ตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บริเวณ กระทรวงสาธารณสุข พื้นที่ : 33 ไร ลักษณะโครงการ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของภาครัฐใน การรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพื่อพัฒนางานฟนฟูสมรรถภาพผูปวย และผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคม แหงชาติ และ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ
  • 18. ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ •การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟู สมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย •การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพื่อการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพ ผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพื่อใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการที่ ตองการรับบริการสามารถเขาถึงได เทาเทียมกัน ทั่วประเทศ
  • 19. สวนประกอบโครงการ •สวนอาคารผูปวยนอก สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร -โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด -สวนอาชีวะบําบัด -สวนกายอุปกรณ -งานวิชาการ -หอพักผูปวยหญิง -หอพักผูปวยชาย -อาคารโภชนาการกลาง -อาคารซอมบํารุง -หองเครื่องอาคารเก็บของ -อาคารซักฟอก -หองเก็บศพ -อาคารกีฬาในรม -สนามฟุตบอล
  • 20. ลักษณะการวางผัง มีการจัดแบงพื้นที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดย แบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ เชน สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอื่น ๆ กอน จัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเชื่อมถึงกันโดยไมผานทางรถ (ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการ สัญจรของผูใช ( Wheelchair ) มีการเชื่อมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สราง มุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพื้นที่พักผอน อาน หนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่ ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกล ผูปวยเกินไป
  • 21. รูปแบบการสัญจร ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตใน แงการติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลา การขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1 และ 2 แตทDrop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซึ่งไมสัมพันธกัน และ ี่ ramp ที่ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพื้นที่เผื่อ ไว การสัญจรทางตั้งระหวางชั้น และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซึ่งอยู กึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เชื่อมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช wheelchair ที่ผึกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเมื่อสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับ เปนคนปกติมากกวา อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไมดี
  • 22. ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคาร อาคารสวนใหญสูง 2 ชั้น วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายใน อาคารยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนัก ลักษณะอาคาร ที่ทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของ ผูปวย อาคารที่พักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาติ พื้นที่ชั้นหนึ่ง สูงขึ้นจากพื้น 1 เมตร เพื่อปองกันน้ําทวม ทําใหดูตัดขาดจากพื้นดิน ผูปวยไม สามารถ ลงไปที่สนามที่เห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงที่อาคาร กีฬาในรม การใชพื้นที่วางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียง เพื่อการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได
  • 23. ปญหาที่เกิดขึ้นในโครงการ สวนใหญเปนปญหาเรื่องการใชงานที่แตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลังและ ผูปวยที่ใชไมเทา เชน ระดับ dimension ของผูปวยที่นั่งเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกติ ทําใหการ ออกแบบเฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ที่ต่ํากวาปกติ สรางปญหาให ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลัง ที่ไมสามารถกมตัวได การออกแบบพื้นที่เปลี่ยนระดับ ควรตองมีทั้ง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน เพราะผูปวยที่ใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp
  • 24. โครงการในตางประเทศ National Rehabittion Center For Disable ที่ตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan พื้นที่ : 140 ไร ลักษณะโครงการ เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญี่ปุน โดยมีกิจกรรมที่ใหบริการแบง ออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ 1. Comprehensive Rehabittation Services การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเชี่ยวชาญทางดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซึ่งรวมทั้งคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก เปนใบ จุดประสงคเพื่อใหสามารถกลับเขาสูสังคม ได (Re – Entry into Society )
  • 25. โดยสามารถแบงการบริการไดเปน 2 ประเภท คือ โรงพยาบาล ผูปวยแบบ Nursing 200 เตียง ศูนยฝก ฝกอาชีพ 210 คน ฝกกิจวัตรประจําวัน 40 คน สวนตรวจรักษาทางการแพทย การฝกอาชีพทั่วไป เชน หัตกรรม ซักรีด การหัดขับรถ กายภาพบําบัด การฝกการใชชีวิตประจําวัน ของคนตาบอดโดยเฉพาะ อรรถบําบัด การฝกทางดานการกีฬาของผูพิการ จักษุบําบัด สวนผูปวยใน
  • 26. 2.Research and Development of Rehabittation Technique สวนวิทยบริการ มีหนาที่ทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ที่จะชวยในการ ฟนฟูผูพิการ 3.Training of Professional Staff สวนของวิทยาลัย ทําหนาที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย ที่เกี่ยวของกับผูพิการ • Infotmation Service เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญี่ปุนและประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลก
  • 27. สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเนื้อที่ (ตารางเมตร) สวนโรงพยาบาล (Nursing ) 13,087 สวนงานวิจัย 3,108 ศูนยฝก 7,655 วิทยาลัย 2,314 หอพักผูฝก (Non – nursing) 17,064 หอพักนักศึกษา 3,768 โรงยิมเนเซียมและสระวายน้ําในรม 2,919 สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ 22,050 สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต 1,339
  • 28. รูปแบบการวางผัง มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดับ การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พื้นที่ Public (Admin) Semi – public (hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวน Service ที่สามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางทั่วถึง สวนของที่พัก staff ที่จัดให ใกลสวนที่พักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณีตอง ชวยผูใชซึ่งเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ที่สะดวกตอ ผูใชพิการและ ความเชื่อมโยงกับสวนบําบัด เนื่องจากสภาพพื้นที่ลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพื้นที่โดยกันสวนที่พัก ผูปวยและสวนการบําบัดซึ่งตองการความสงบมากที่สุด ใหอยูหางจากถนนดวยพื้นที่ใช สอยอื่นจัดสวน sport rectation ซึ่งเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมี ความสัมพันธกับ พื้นที่ขาง ๆ ที่เปน Open space ผืนใหญใหตอเนื่องกัน
  • 29. รูปแบบการสัญจร เนื่องจากพื้นที่ขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมาก มีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะ เชื่อมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซึ่งอาจ เกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งจะสะดวกตอผูใช wheelchair ผูพิการทางตา
  • 30. ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลทั่วไป ใชลิฟทในการ สัญจรทางตั้ง เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซึ่งอาจไมคอยเหมาะสมในแงการ ฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ open space อยางตอเนื่อง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space สีเขียวผืนใหญ ซึ่งเปนการเปดมุมมองที่ดีใหผูใชที่อยูในอาคาร
  • 31. Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center ที่ตั้ง : downtown Knoxville Tenessee พื้นที่ : 1,300 ตรม ลักษณะโครงการ เปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพื่อการบําบัด ที่ชวยสงเสริม การฟนฟูสภาพผูปวย โดย มีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย รวมทั้งญาติครอบครัวและเจาหนาที่ในโรงพยาบาล
  • 32. สวนประกอบโครงการ มีการแบงพื้นที่หลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ที่มีความหลากหลายตางกัน เพื่อใหมี space ที่หลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเชื่อมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซึ่งแตละ spaceสามารถเชื่อมถึงกันดวยสายตาได โดย การออกแบบที่คํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเลื่อนเปนหลัก โดยมี sequence ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซึ่งมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ ลดความ active ลงมาเรื่อย ๆ
  • 33.
  • 34. การแกปญหาในงานออกแบบ 1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความมั่นคงของโครงสราง โดยการ วางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว 2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา ทอพรุง และ การระบายน้ําออกจากผิวพื้นโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการ ใหน้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพื่อควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับ ตนไม การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ชั้น จึงตองมีการเลือกใชพืช พรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาใน สวนที่รับแสงนอย พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซึ่งนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความ เคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา
  • 35. รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ 1. คนไข Patient ไดแก Out-patient ผูปวยนอก 2. เจาหนาที่ Staff ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและ กายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาที่ทั่วไป 3. ผูมาเยี่ยม Visitor ไดแก ผูมาเยี่ยมผูปวย ผูมาติดตองานทั่วไป
  • 36. 1. คนไข Patient ประเภทของคนไข คนไขที่มาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูที่มีความเสื่อม หรือ สูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตางๆ เชน โรคภัยไขเจ็บ การ ผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซึ่งตองการการบําบัดเพื่อฟนฟูสมรรถภาพใหใช การไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกติ อาจเปนผูพิการจริงหรือผูที่มีความบกพรองทาง รางกายและอวัยวะเปนการชั่วคราวที่สามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยทั้งผูปวยใน และนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวย ความจําเสื่อม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว เมื่อดูจากสถิติ 10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรนทรเพื่อการฟนฟูฯ ิ แลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญนั้นเปนผูที่มีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลัก เชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเนื้อ ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ครึ่ง ทอนและทั้งตัว และผูพิการแขนขาขาด ซึ่งเปนประเภทที่มากที่สุดของผูพิการใน ภาคกลาง
  • 37. ประเภทของผูปวยนอก ผูปวยนอกสวนใหญคือผูที่อยูในจังหวัดกรุงเทพหรือจังหวัดใกลเคียงที่สามารถ เดินทางไปกลับไดมาทําการบําบัดตามโปรแกรมที่ทีมแพทยกําหนดไว เชนการทํา กายภาพบําบัดแบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการตรวจวินิจฉัยผูปวยนอกใหม เฉพาะชวงเวลาเชา 8.00-12.00 น. และมีการจัดการเวลานัดมาทํา กายภาพบําบัดอยางแนนอน รวมถึงมีการจํากัดปริมาณของผูปวยใหเหมาะสมกับ การรองรับของเจาหนาที่ และ facility ที่มี คือประมาณ 70 คน ตอวัน เพื่อไมให กระทบกับการบําบัดผูปวยใน ประเภทผูปวยนอกสวนใหญมภาวะการเจ็บปวยของ ี กระดูกและกลามเนื้อที่ไมจําเปนตองรักษาดวยการผาตัด ภาวะอัมพาจครึ่งซีก ผูมา ทําแขน ขาเทียมโรคปวดหลัง เปนตน
  • 38. ประเภทผูปวยใน ประเภทผูปวยใน เปนผูปวยที่พักอาศัยภายในโครงการ โดยทําการบําบัดตาม โปรแกรมการรักษาจากทีมแพทย โดยมีจํานวนวันพักเฉลี่ย 20 คนตอวัน หรือสูงสุด ประมาณ 1 ป ประเภทของผูปวยในสวนใหญมีภาวะที่มีผลพวงจากระบบประสาท เชน อัมพาตครึ่งทอน อัมพาตทั้งตัว ผูพิการแขนขาขาด และผูปวยในระบบกระดูกและ กลามเนื้อ เปนตน สาเหตุที่จําเปนตองมีที่พักผูปวยใน ไดแก - มีความจําเปนตองควบคุมสภาพแวดลอมกิจวัตรประจําวันและการ บําบัดรักษาอยางตอเนื่อง - การติดตอรายวันทําไมไดเนื่องจากอยูไกลและมีอุปสรรคทางการเดินทาง - ปญหาทางสภาพแวดลอมที่บานหรือที่พักใกลศูนยไมเหมาะสมกับผูปวย - ตองการฝกสภาพจิตใจในการอยูรวมกับคนหมูมากเพื่อที่จะเรียนรูที่จะ  ออกไปใชชีวิตอยางสมบูรณ และชวยใหมีการดูแลซึ่งกันและกัน
  • 39. กลุมอายุคนไข พิจารณาจากสถิติของผูพิการ ที่จะเปนผูใชหลักในโครงการ ซึ่งจากตาราง สรุปไดวากลุมผูใชเปนเด็กทีมีอายุตั้งแต 3-6ป เปนหลัก 2. เจาหนาที่ Staff การบําบัดรักษาจําเปนตองมีกลุมบุคลากรซึ่งเรียกวากลุมเวชศาสตรฟนฟู ทํางานรวมกันในการบําบัดรักษา
  • 40. ผูมาเยี่ยม Visitor เปนกลุมที่มาใชเปนครั้งคราว ในชวงเวลาสั้นๆ มีจุดประสงคของการมา ตางๆกันโดยแยกประเภทเปน - ผูมายี่ยมผูปวย ไดแกบรรดาญาติมิตรของผูปวย ซึ่งมักจะมาเยี่ยมผูปวย ในชวงเย็น หรือวันหยุด เสาร
  • 41. จํานวนผูใช •คนไข โครงการจําเปนตองเจาะจงใหชัดเจนเพื่อประสิทธิภาพและความคุมคาที่ดี ที่สุดของโครงการ โดยพิจารณาตามความสามารถในการรองรับในดานบุคคลากร เครื่องมือเครื่องใชในการรักษา และพื้นที่ในการรองรับ - คนไขใน ปจจัยในการรับจํานวนคนมีเกณฑดังนี้ 1. ความตองการของการฟนฟู โดยเทียบจากจํานวนของคนพิการซึ่งเปนผูใชหลัก ซึ่งจํานวนผูปวยในที่ควรรองรับได คิดเปนอัตรา 2.4 % ของผูพิการ (เทียบกับอัตรารองรับของแผนการสงเคราะหและ ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ) ดังนั้นจํานวนผูปวยที่ควรรองรับไดคือ จํานวนผูพิการในภาคกลาง x2.4% = 248,100 x 0.024 = ประมาณ 60 คน
  • 42. 2. จํานวนบุคลากรที่ทําการรักษา ตองมีจํานวนบุคลากรมากพอกับจํานวนผูปวยที่จะรับ ซึ่งจะมีสวนแปรผัน ตามจํานวนผูปวยที่รองรับเปนอัตรามาตรฐาน เชน แพทยเวชศาสตรฟนฟู 1 : 15 นักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1:8 ผูชวยนักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1:1 นักกิจกรรมบําบัดตอผูปวย 1 : 8-16 3.ปริมาณพื้นที่ในสวนการบําบัดรักษาตอจํานวนผูปวย 4.ปริมาณเนื้อที่ของโครงการตอจํานวนผูปวย
  • 43. รายละเอียดดานหนาที่ใชสอย ในโครงการมีสวนประกอบดานหนาที่ใชสอยหลายสวน ซึ่งสามารถแยกโครงสรางใหชัดเจนไดดังนี้ สวนกลางและสวนบริหาร เปนสวนกลางในดานการบริหารทั้งหมดของโครงการ ทั้งในดานฝายธุรการ และบริหาร สวนนี้ มักใชเนื้อที่ใชสอยอยูสวนหนาของโครงการ แยกเปนอาคารออกมา เพื่อใหสะดวกตอการติดตอ ประสานงาน ซึ่งจะประกอบดวย หองผูบริหารระดับตางๆ หองประชุมยอย หองธุรการ หองพัสดุกลาง หอง โถงตอนรับ และหองประชาสัมพันธเปนตน สวนพัฒนาวิชาการ มีหนาที่รับผิดชอบงานดานวิชาการ การวางแผนงาน งานทะเบียนและสถิติ งานประชุม การ ฝกอบรมสัมมนา และติดตามประมวลผลผูเขารับการฟนฟูดานหองสมุด รวมถึงการวิจัยคนควาเพื่อการ พัฒนางานฟนฟูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรจัดวางพื้นที่ไวใกลสวนบริหารเพื่อความสะดวกในการติดตอ งานทั้งภายในและภายนอก
  • 44. สวนฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย มีหนาที่รับผิดชอบในเรื่องการตรวจสภาพความพิการ และความสามารถของอวัยวะ ที่เหลืออยู วางแผนการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ใหบริการบําบัดดานตางๆ ประสานงานกับ โรงพยาบาลในการสงตอผูปวยรับการฟนฟู รวมถึงดานการปฐมพยาบาลเบื้องตนดวย สามารถ แบงสวนตางๆออกเปน สวนผูปวยนอก มีหนาที่ใหบริการผูปวยและประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจโรค ทั่วไป หรือโรค เฉพาะทาง จะ ประสานงานกับฝายอื่นๆของศูนยเพื่อการตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพโดยจะ ประกอบดวยหองทําบัตร หองรอตรวจ หองจายยา หองเก็บเงิน หองแสดงนิทรรศการ และ หองอาหารสําหรับผูปวยนอก สวนรักษาทางการแพทย ประกอบไปดวยหองสําหรับตรวจผูปวย หองผาตัดยอย หองพยาบาล มีโถงพักคอย เชื่อมตอกับสวนผูปวยนอก
  • 45. สวนงานกายภาพบําบัด เปนการบําบัดรักษาและฟนฟูสภาพรางกายใหเปนปกติมากที่สุด ดวยวิธีตางๆเชน การใช ความรอน ความเย็น น้ํา แสง ไฟฟา พรอมการออกกําลังกาย ตานทานน้ําหนัก การจัด เนื้อที่แบงเปน 2 สวน คือ สวนภายในอาคาร ประกอบดวย หองตรวจ หองบําบัดดวยอุปกรณไฟฟา หองออกกําลังกาย (คลายฟตเนส) สําหรับการบําบัดทั้งเดี่ยวและกลุม หองธาราบําบัด ซึ่งมีเครื่องมือสําหรับแชรางกายบางสวน และอางที่แช รางกายไดทั้งตัว ซึ่งมีการออกแบบใหผูปวยโดยเฉพาะ สระบําบัด มี 2 ขนาด คือ 7x15 m. 2.4x4 m. (สระนวด) ซึ่งมีอุปกรณ อํานวยความสะดวกใหผูปวยขึ้นลงไดสะดวก เชน ramp และราวจับ ตองมีการจัดเตรียม อุปกรณตางๆเชน เครื่องทําความรอน เครื่องฆาเชื้อโรค เครื่องกรอง เครื่องปม ซึ่งสามารถ ใชสระรวมกับสวนของ Recreation ไดดวย โดยการบริหารเวลาใหเหมาะสม
  • 46. สวนภายนอกอาคาร ประกอบไปดวยพื้นที่ทํากายภาพบําบัดเชน พื้นที่หัดเดิน ซึ่งอาจใชวัสดุตางๆกัน เชน พื้นทราย , พื้นหญา พื้นที่ออกกําลังกายดวยเครื่องมือเฉพาะคลายสวนสุขภาพ โดยในสวนนี้ ตองการรมเงา คอนขางมาก เพื่อใหสะดวกสบายตอผูปวย สวนงานกิจกรรมบําบัด เปนสวนที่ชวยปรับปรุงสภาพจิตใจและรางกายผูพิการ ใหสอดคลองกับสภาพการใชงาน โดย การสอนใหผูพิการสามารถทํากิจวัตรประจําวันไดตามปกติ โดยในการบําบัด อาจแบงไดเปน 2 รูปแบบ คือการฝกกิจวัตรประจําวัน ไดแก อาบน้ํา นอน ทําครัว แตงตัว และทักษะการหยิบจับตางๆ เปนตนการทํากิจกรรมตางๆรวมกัน เพื่อเปนการฝกฝนการเขาสังคม โดยมีทั้งกิจกรรมภายใน โครงการ เชน กิจกรรมประกอบเพลง กิจกรรมการพัฒนาภูมิทัศน และกิจกรรมภายนอก เชน การพา ผูปวยออกนอกสถานที่เชน ไปตลาด ไปทองเที่ยวตามที่ตางๆโดยสวนของอาคารควรมี สภาพแวดลอมที่เงียบสงบ เพื่อใหผูฝกมีสมาธิในการฝกมากที่สุดและมีบรรยากาศเปนธรรมชาติเพื่อ ความผอนคลาย และควรมีสวนฝกทํากิจกรรมตางๆภายนอกอาคารเชน การทําสวนปลูกฝก และ ลานประกอบกิจกรรมรวมกัน
  • 47. สวนอรรถบําบัด หมายถึงการชวยบําบัดผูปวยบางรายที่มีปญหาทางการไดยินมีผลทางปญหาการพูด ประกอบดวยหองทดสอบการไดยิน หองบําบัดแบบเดี่ยวและหองบําบัดแบบกลุม โดยจะตองมีการควบคุม เสียงใหเงียบและกันเสียงรบกวนเพื่อเกิดสมาธิมากที่สุด ภายนอกอาคารควรมีสวนสําหรับทําการบําบัด แบบกลุมเชนที่นั่งพักผอนพูดคุยที่สงบและรมรื่น สวนจิตบําบัด หมายถึงการรักษาทางสภาพจิตใจ โดยการใหการรักษา ใหคําแนะนํา กําลังใจ เพื่อใหผูปวยมี จิตใจ ผอนคลาย สดชื่น มีความหวัง มีกําลังใจ โดยอาจรวมเปนสวนหนึ่งอยูในอรรถบําบัดไดเนื่องจากการ ใชงานใกลเคียงกัน สวนกายอุปกรณเทียม คือสวนที่ผลิตเครื่องชวยเหลือผูพิการในแงแขนขา เทียม เกาอี้ลอเลื่อนโดยจะประกอบดวย หองทดลอง คือหองทําการวัดและลองอุปกรณ รวมถึงการถอดอวัยวะเทียมหรือเครื่องชวย ภายในมีอุปกรณทดสอบการหัดเดิน บันไดลาด ลักษณะเปนหองโลงคลายโรงยิม โรงงาน คือสถานที่ลิต และเก็บอุปกรณเชนเกาอี้ลอเลื่อน มีการใชอุปกรณขนาดใหญ และมักมี เสียงดังจากการผลิต จึงควรมีการแยกโรงงานเพื่อเปนการลดเสียง และอันตรายที่อาจเกิดจากไฟไหม โดย อาจมีพื้นที่นอกอาคารซึ่งเปนลานสําหรับทดลองเกาอี้ลอเลื่อนที่สะดวกและกวางขวางกวาในอาคาร