SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง
    วิชาสุขศึกษา ( พ 33101 )
        ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
   เรื่อง อารมณกบความเครียด
                   ั




              จัดทําโดย
       นางทัศนีย ไชยเจริญ
      ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
คํานํา

         การศึกษาเรื่องอารมณใหเขาใจกอใหเกิดความสามารถในการยอมรับและแกไข
ขอบกพรองทั้งของตนเองและผูที่อยูรอบขางใหเปนไปในทางที่ดี ในวิชาสุขศึกษานั้นเปน
พื้นฐานในการปฏิบัติตนเพื่อใหเปนผูที่มีอารมณที่แจมใส หลีกเลี่ยงความเครียดและ
สามารถนําไปใชใหเกิกประโยชนตอชีวิตประจําวันได รวมทังสามารถแนะนําใหผูอื่นหรือ
                                                               ้
บุคคลในครอบครัวไดรูจักวิธีการผอนคลายอารมณที่เกิดจากความเครียด อันเนื่องมาจากการ
ทํางาน การเรียนหนังสือ หรือความวิตกกังวลมากเกินไป ผูจัดทําจึงไดทําชุดฝกซอมเสริม
ดวยตนเองเรื่อง อารมณกับความเครียดในระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดมี
                                                     ้
ทักษะในการนําความรูที่ไดรับและการฝกปฏิบัติไปใชใหเกิดความชํานาญไดดียิ่งขึ้น
         ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารเลมนี้คงจะอํานวยประโยชนกับผูอานไดเปน
อยางดี และหากมีขอบกพรองประการใดผูจัดทําขอรับคําเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงตอไป
ผูจัดทําขอขอบพระคุณผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดทําเอกสารนี้มา ณ โอกาสนี้

                                                    นางทัศนีย ไชยเจริญ
                                                          ผูจัดทํา
สารบัญ

       เรื่อง                                  หนา
วัตถุประสงค                                    ก
คําแนะนําการใชชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง      ข
แบบฝกที่ 1 มารูจักอารมณกันเถอะ               1
แบบฝกที่ 2 ภัยแหงความเครียด                   3
แบบฝกที่ 3 ผักผอนหยอนใจ                      5
เฉลยแบบฝก 1 – 3                                7
สรุปผลการปฏิบัติแบบฝก                          8
แบบทดสอบกอนและหลังเรียน                        9
เฉลยแบบทดสอบ                                    11
บรรณานุกรม
ก

                          วัตถุประสงค

1. รูความหมายของอารมณไดอยางถูกตอง
2. ตระหนักถึงโทษที่เกิดจากความเครียดไดเปนอยางดี
3. ปฏิบัติตนในการผอนคลายความเครียดไดอยางเหมาะสม
ข


          คําแนะนําสําหรับการใชชดฝกสงเสิมความรูดวยตนเอง
                                 ุ

1.   นักเรียนอานคําชี้แจงใหเขาใจ
2.   ศึกษาเนื้อหาความรู
3.   ทํากิจกรรมในแบบฝกใหครบ
4.   ทบทวนและสรุปกิจกรรม
5.   ทําแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนเสริมดวยตนเอง
1
                                          แบบฝกที่ 1

                                  มารูจักอารมณกันเถอะ
คําชี้แจง นักเรียนอาน/ศึกษาเนื้อหาเรื่องอารมณพรอมทั้งตอบคําถาม
                           ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
                                   ความหมายของอารมณ

                                           อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลง
                                           ไปเมื่อมีสิ่งตางๆมากระทบจิตใจ จะกอใหเกิด
                                                            ความรูสึกตางๆ


อารมณ มี 2 ประเภท
              1. อารมณที่มีความสุข เชน รัก ดีใจ เปนตน
              2. อารมณที่มีความทุกข เชน กลัว เศรา เปนตน
                      อารมณสามารถทําใหเกิดความรูสึกตาง ๆ ไดดังนี้
       1. ความกลัว เกิดจากความตื่นเตนภายในและตองการที่จะหลบใหพน     
       2. ความกังวลใจ เกิดจากความนึกคิดไวลวงหนาในทางที่ไมคอยดีนัก
       3. ความโกรธ เกิดจากไมไดดั่งใจ ไมสมปารถนา
       4. ความรัก เปนอารมณที่มีคุณคาเกิดจากความอบอุนใจ
       5. ความอิจฉาริษยา เปนอารมณวูบหนึ่งที่ผสมกันระหวาง ความโกรธ และ ความกลัว
       6. ความอยากรูอยากเห็น มีในตัวทุกคน ทั้งในทางที่ดและไมดี
                                                         ี
2


                                    สิ่งที่มีอิทธิพลตอจิตใจ
                    ตัวคน                                     สิ่งแวดลอม
   บุคลิกภาพดี จะเปนผูมีจิตใจดี และอารมณ     ครอบครัว ทําใหเกิดความอบอุนและ
   มั่นคง                                       ความสุขในชีวต ถึงแมจะไมรวยลนฟาก็ตาม
                                                               ิ
   การเลี้ยงดูดี มีครอบครัวอบอุนจะเปนเด็กที่  เพื่อน กอใหเกิดความรูสึกเปนกลุมเดียวกัน
   เจริญเติบโตอยางมีความสุข                    มีการยอมรับกัน
                                                สังคม กอใหเกิดความคิด ความกลา
                                                แสดงออก
  ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
  นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน
  หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข
                        ี่

                        เศราหมอง                                      ไมหยุดนิ่ง

                        ความสงบ                                        ไมสงบ

                        ฟุงซาน                                       รัก

                        เบิกบาน                                        กลัว

                        กังวล                                          โกรธ

                        ยินดี                                          อิจฉาริษยา

                        ดีใจ                                           เสียใจ



                                                                                 (เฉลยหนา…7….)
3
                                        แบบฝกที่ 2

                                   ภัยแหงความเครียด
คําชี้แจง นักเรียนศึกษาขอมูลแลวนําขอความรูจากขอมูลแสดงความคิดเห็นจากคําถามใหถูกตอง


            ความเครียด คือความรูสึกกดดัน ไมสบายใจ เปน
           ความวุนวายทางจิตใจ ความอึดอัด ความกังวล โกรธ
            แคน ไมพอใจ ผิดหวัง ซึ่งมนุษยมกพบเสมออยูใน
                                            ั
            ชีวิตประจําวัน เราจึงควรหาทางแกเพื่อใหสามารถ
          ปรับตนเองใหเขากับสิ่งแวดลอม และสังคมรอบตัวได
                             อยางมีความสุข




                                                   สาเหตุความเครียด
                              1. ความเครียดจากรางกาย เชน ทํางานหนักเกินไป สุขภาพออนแอ ความ
                                 พิการ หรือ บุคลิกภาพของแตละบุคคล เชน ชอบแขงขัน เปนคน
                                 กาวราว ขาดความอดทน
                              2. ความเครียดจากจิตใจ เชน ความวิตกกังวล ความหวาดระแวง การ
                                 ตัดสินใจ การตองการการยอมรับ สูญเสียของมีคา อยากมีชื่อเสียง
                              3. ความเครียดจากสิ่งแวดลอม เชน เสียงดัง น้ําทวม ไฟไหม เพื่อนฝูง
                              4. งานในหนาทีที่ตองรับผิดชอบ สภาพแวดลอมในการทํางาน ปริมาณ
                                              ่
                                 งานที่ตองรับผิดชอบ การเรียน
4
                ผลกระทบความเครียด
    ทางดานรางกาย จะแสดงออกคือ ปวดศรีษะขางเดียว
    บอยๆ หายใจไมออก หายใจถี่ เหนื่อยงาย ทองเสีย
    ทองผูก นอนไมหลับ เปนสม คลื่นไส เบื่ออาหาร
    ทางดานจิตใจ จะแสดงออก คือ หงุดหงิด รําคาญ
    เบื่อหนาย ทอถอย เครงเครียด เก็บกด อดทนตอ
    ปญหานอยลง รูสึกวาตนเองไรคุณคา ขาดสมาธิ
    แยกตัวจากสังคม ลังเลในการตัดสินใจ ไรอารมณขัน



                               นักเรียนชวยแสดงความคิดเห็น
  สภาพแวดลอม และงานในหนาที่ที่ตองรับผิดชอบ เปนสาเหตุใหเกิดความเครียดในวันรุนได
  อยางไร ยกตัวอยางมาพอเขาใจ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
  ความเครียดมีผลตอการดําเนินชีวิตของนักเรียนและครอบครัวอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
  ความเครียดหากเกิดขึนบอยๆจะเกิดผลเสียตอสุขภาพอยางไร
                      ้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
  เมื่อตนเองเกิดความเครียดจะมีอาการเชนใด คิดวามีผลเสียกับบุคคลรอบขางหรือไม อยางไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
5

                                       แบบฝกที่ 3

                                    พักผอนหยอนใจ
คําชี้แจง นักเรียนศึกษาหลักการปองกันและจัดการอารมณความเครียดเพื่อเปนแนวทางใน
การปฏิบัติตนไดอยางถูกตอง
                                      การปองกันความเครียด
         1.   รักษาสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรงอยูเสมอ
         2.   นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ เพื่อใหรางกายสดชื่น
         3.   ควรหลีกเลี่ยงการเขาไปอยูในสภาวะแวดลอมที่ตื่นเตน เชน ความกดดันจากการ
              แขงขัน
         4.   รูจักมองโลกในแงดี อยาคิดในดานราย ทั้งตนเองและผูอน
                                                                    ื่
         5.   ฝกตนเองใหเปนคนเขมแข็ง อดทน ทํางานอยางมีแบบแผน เปาหมาย ทํางานดวย
              ความสนุก รูจกแบงเวลา ไมเครงเครียดกับเรื่องใดนานเกินไป
                           ั

                                 เมื่อมีความเครียดควร
   จัดการกับความเครียด เราสามารถทําไดหลายวิธี เชน การฝกสมาธิ การฝกหายใจ การเลน
   กีฬา ออกกําลังกาย การรวมกิจกรรมนันทนาการ การฟงเพลง การรองเพลง การอาน
   หนังสือ การฝกโยคะ การรดน้ําตนไม การเลี้ยงสัตว การไปเที่ยวพักผอน การนอนหลับ
   การจัดเวลาในการทํางาน พูดคุยปรึกษาคนที่ไวใจ หลีกเลี่ยงเหตุการณที่ทําใหระงับอารมณ
   ไมอยู เปนตน ซึ่งกอใหเกิดผลดีกับตนเองและบุคคลรอบขาง
6



                                     คําถาม
                     หากนักเรียนมีความเครียดเกิดขึ้น นักเรียนจะมี
                 วิธีการจัดการกับความเครียดอยางไร จึงจะเหมาะสม




        คําตอบ
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
7


                                         เฉลยแบบฝก

คําชี้แจง นักเรียนเฉลยแบบฝกที่ 1 ถึง แบบฝกที่ 3 ใหถูกตอง
เฉลยแบบฝกที่ 1
ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีสิ่งตางๆมา
กระทบจิตใจ จะกอใหเกิดความรูสึกตางๆ
    นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน
    หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข
                          ี่

                       เศราหมอง                                       ไมหยุดนิ่ง

                       ความสงบ                                         ไมสงบ

                       ฟุงซาน                                        รัก

                       เบิกบาน                                         กลัว

                       กังวล                                           โกรธ

                       ยินดี                                           อิจฉาริษยา

                       ดีใจ                                            เสียใจ

เฉลยแบบฝกที่ 2 – 3

                        *หมายเหตุ* คําตอบอยูในดุลพินิจครูผูสอน
8

                                     สรุปผลการปฏิบัติ

คําชี้แจง สรุปคะแนนจากการปฏิบัติแบบฝก

                         แบบฝก                             คะแนน
แบบฝกที…1…..
          ่
 เรื่อง…มารูจักอารมณกนเถอะ..
                       ั
แบบฝกที…2…..
            ่
เรื่อง…ภัยแหงความเครียด……
แบบฝกที…3….. ่
 เรื่อง…พักผอนหยอนใจ…
                          รวมคะแนน
                            รอยละ
                 สรุปผลการประเมิน                 ผาน        ไมผาน


                                                         ผูสอน…………………..
9

                                          สอบประเมินผล
                                    เรื่อง อารมณกับความเครียด
                        สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต
    คําชี้แจง ใหนกเรียนเลือกตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
                  ั
1. ขอใด ไมได หมายถึง อารมณ                          5. วัยรุนมักมีปญหาดานอารมณกับใครมากที่สุด
   ก. ขาวดุ                                                ก. ครู
   ข. ดํายิ้ม                                              ข. พอแม
   ค. แดงเดิน                                              ค. เพื่อน
   ง. เขียวทอแท                                          ง. ตัววัยรุนเอง
                                                        6. ใครสามารถหลีกเลี่ยงความรุนแรงไดดที่สุดเมื่อ
                                                                                                ี
2.เมื่อมีอารมณโกรธ วันรุนจะขาดอะไรมากที่สุด
                          
                                                        มีอารมณโกรธ
   ก. การควบคุมตนเอง
                                                           ก. แดงทําความสะอาดบาน
   ข. ความมีเหตุผล
                                                           ข. ดําไปดื่มสุรากับเพื่อน
   ค. ความระมัดระวัง
                                                           ค. เขียวไปซื้อของ
   ง. ความละเอียดรอบคอบ
                                                           ง. ขาวไปแขงกีฬากับเพื่อน
3. ใครไดรับผลกระทบทางอารมณมากที่สด       ุ            7. ทําไมจึงไมควร แสดงอารมณตอเรื่องที่ไมรุนแรง
   ก. ขาวถูกแมตําหนิบอย                                  ก. ใหสะสมเอาไวกอน
   ข. ดีชอบทะเลาะกับเพื่อน                                 ข. สามารถตกลงกันได
   ค. แดงถูเพื่อนแกลงเสมอ                                 ค. อาจเปนเรื่องใหญได
   ง. ดํามีความเห็นไมตรงกับครู                            ง. อาจมีคนไมเห็นดวย
4. ขอใดไมใช ลักษณะอารมณของวัยรุน
                                                        8. บุคคลในขอใดกําลังมีความวิตกกังวล
   ก. รุนแรง
                                                           ก. แดงกลัววาจะไดรางวัลที่ 1
   ข. สับสน
                                                           ข. ดํากลัววาจะมีคนมารัก
   ค. ออนไหว
                                                           ค. เขียวกลัววาจะถูกไลออกจากงาน
   ง. มั่นคง
                                                           ง. ขาวคาดวาจะสอบไดคะแนนสูง
10
9. ขอใดกลาวถึงความโกรธไดถูกตอง             10. เมื่อเกิดความเครียด ขอใดตอไปนี้ ควรกระทํา
   ก. คนนิ่งเงียบมักไมโกรธ                    มากที่สุด
   ข. คนโกรธไมมีใครอยากคบ                        ก. ฟงเพลง รองเพลง
   ค. โกรธเมื่อไดสิ่งที่ตองการมากไป             ข. ระบายใหเพื่อนทุกๆคนฟง
   ง. คนโกรธเปนอันตรายตอผูอื่นอยูเสมอ         ค. ตะโกนใสผูอื่น
                                                  ง. ดื่มสุราแกกลุม



     รวมคะแนน = ……….... รอยละ………….                    ผาน           ไมผาน

                            เกณฑตัดสินการสอบผานรอยละ 80
11

                                                                 เฉลยสอบประเมินผล

                                                            เรื่อง อารมณกับความเครียด
                                      สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต

,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,


                                                              1. ค
                                                              2. ข
                                                              3. ก
                                                              4. ง
                                                              5. ข
                                                              6. ก
                                                              7. ข
                                                              8. ค
                                                              9. ง
                                                              10. ก


                                   ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
บรรณานุกรม

        นพ.ธงชัย ทวิชาชาติ , หนังสือเรียนสมบูรณแบบ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1(พ011)
                  บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2537
        ดร.สมหมาย แตงสกุล , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1
                  บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2546
        ดร.พรสุข หุนนิรันดร , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1
                  อักษรเจริญทัศน 2546
        สุปราถนา ยุกตะนันท , หนังสือคูมือครู และแผนการจัดการเรียนรูสขศึกษาม.1
                                                                         ุ
                  อักษรเจริญทัศน 2546

More Related Content

What's hot

ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 

What's hot (20)

ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 

Viewers also liked

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียด
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียดบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียด
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ฉันในอดีต
ฉันในอดีตฉันในอดีต
ฉันในอดีตmindmindmind
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพณัฐะ หิรัญ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (16)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียด
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียดบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียด
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
วิธีจัดการความเครียด
วิธีจัดการความเครียดวิธีจัดการความเครียด
วิธีจัดการความเครียด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ฉันในอดีต
ฉันในอดีตฉันในอดีต
ฉันในอดีต
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : เส้นทางสู่อาชีพ
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด

Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 

Similar to ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด (20)

04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
51105
5110551105
51105
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Eq1
Eq1Eq1
Eq1
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 

More from tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนtassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์tassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1tassanee chaicharoen
 

More from tassanee chaicharoen (20)

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 

ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด

  • 1. ชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง วิชาสุขศึกษา ( พ 33101 ) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่อง อารมณกบความเครียด ั จัดทําโดย นางทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
  • 2. คํานํา การศึกษาเรื่องอารมณใหเขาใจกอใหเกิดความสามารถในการยอมรับและแกไข ขอบกพรองทั้งของตนเองและผูที่อยูรอบขางใหเปนไปในทางที่ดี ในวิชาสุขศึกษานั้นเปน พื้นฐานในการปฏิบัติตนเพื่อใหเปนผูที่มีอารมณที่แจมใส หลีกเลี่ยงความเครียดและ สามารถนําไปใชใหเกิกประโยชนตอชีวิตประจําวันได รวมทังสามารถแนะนําใหผูอื่นหรือ ้ บุคคลในครอบครัวไดรูจักวิธีการผอนคลายอารมณที่เกิดจากความเครียด อันเนื่องมาจากการ ทํางาน การเรียนหนังสือ หรือความวิตกกังวลมากเกินไป ผูจัดทําจึงไดทําชุดฝกซอมเสริม ดวยตนเองเรื่อง อารมณกับความเครียดในระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดมี ้ ทักษะในการนําความรูที่ไดรับและการฝกปฏิบัติไปใชใหเกิดความชํานาญไดดียิ่งขึ้น ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารเลมนี้คงจะอํานวยประโยชนกับผูอานไดเปน อยางดี และหากมีขอบกพรองประการใดผูจัดทําขอรับคําเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงตอไป ผูจัดทําขอขอบพระคุณผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดทําเอกสารนี้มา ณ โอกาสนี้ นางทัศนีย ไชยเจริญ ผูจัดทํา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา วัตถุประสงค ก คําแนะนําการใชชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง ข แบบฝกที่ 1 มารูจักอารมณกันเถอะ 1 แบบฝกที่ 2 ภัยแหงความเครียด 3 แบบฝกที่ 3 ผักผอนหยอนใจ 5 เฉลยแบบฝก 1 – 3 7 สรุปผลการปฏิบัติแบบฝก 8 แบบทดสอบกอนและหลังเรียน 9 เฉลยแบบทดสอบ 11 บรรณานุกรม
  • 4. วัตถุประสงค 1. รูความหมายของอารมณไดอยางถูกตอง 2. ตระหนักถึงโทษที่เกิดจากความเครียดไดเปนอยางดี 3. ปฏิบัติตนในการผอนคลายความเครียดไดอยางเหมาะสม
  • 5. คําแนะนําสําหรับการใชชดฝกสงเสิมความรูดวยตนเอง ุ 1. นักเรียนอานคําชี้แจงใหเขาใจ 2. ศึกษาเนื้อหาความรู 3. ทํากิจกรรมในแบบฝกใหครบ 4. ทบทวนและสรุปกิจกรรม 5. ทําแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนเสริมดวยตนเอง
  • 6. 1 แบบฝกที่ 1 มารูจักอารมณกันเถอะ คําชี้แจง นักเรียนอาน/ศึกษาเนื้อหาเรื่องอารมณพรอมทั้งตอบคําถาม ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,, ความหมายของอารมณ อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลง ไปเมื่อมีสิ่งตางๆมากระทบจิตใจ จะกอใหเกิด ความรูสึกตางๆ อารมณ มี 2 ประเภท 1. อารมณที่มีความสุข เชน รัก ดีใจ เปนตน 2. อารมณที่มีความทุกข เชน กลัว เศรา เปนตน อารมณสามารถทําใหเกิดความรูสึกตาง ๆ ไดดังนี้ 1. ความกลัว เกิดจากความตื่นเตนภายในและตองการที่จะหลบใหพน  2. ความกังวลใจ เกิดจากความนึกคิดไวลวงหนาในทางที่ไมคอยดีนัก 3. ความโกรธ เกิดจากไมไดดั่งใจ ไมสมปารถนา 4. ความรัก เปนอารมณที่มีคุณคาเกิดจากความอบอุนใจ 5. ความอิจฉาริษยา เปนอารมณวูบหนึ่งที่ผสมกันระหวาง ความโกรธ และ ความกลัว 6. ความอยากรูอยากเห็น มีในตัวทุกคน ทั้งในทางที่ดและไมดี ี
  • 7. 2 สิ่งที่มีอิทธิพลตอจิตใจ ตัวคน สิ่งแวดลอม บุคลิกภาพดี จะเปนผูมีจิตใจดี และอารมณ ครอบครัว ทําใหเกิดความอบอุนและ มั่นคง ความสุขในชีวต ถึงแมจะไมรวยลนฟาก็ตาม ิ การเลี้ยงดูดี มีครอบครัวอบอุนจะเปนเด็กที่ เพื่อน กอใหเกิดความรูสึกเปนกลุมเดียวกัน เจริญเติบโตอยางมีความสุข มีการยอมรับกัน สังคม กอใหเกิดความคิด ความกลา แสดงออก ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข ี่ เศราหมอง ไมหยุดนิ่ง ความสงบ ไมสงบ ฟุงซาน รัก เบิกบาน กลัว กังวล โกรธ ยินดี อิจฉาริษยา ดีใจ เสียใจ (เฉลยหนา…7….)
  • 8. 3 แบบฝกที่ 2 ภัยแหงความเครียด คําชี้แจง นักเรียนศึกษาขอมูลแลวนําขอความรูจากขอมูลแสดงความคิดเห็นจากคําถามใหถูกตอง ความเครียด คือความรูสึกกดดัน ไมสบายใจ เปน ความวุนวายทางจิตใจ ความอึดอัด ความกังวล โกรธ แคน ไมพอใจ ผิดหวัง ซึ่งมนุษยมกพบเสมออยูใน ั ชีวิตประจําวัน เราจึงควรหาทางแกเพื่อใหสามารถ ปรับตนเองใหเขากับสิ่งแวดลอม และสังคมรอบตัวได อยางมีความสุข สาเหตุความเครียด 1. ความเครียดจากรางกาย เชน ทํางานหนักเกินไป สุขภาพออนแอ ความ พิการ หรือ บุคลิกภาพของแตละบุคคล เชน ชอบแขงขัน เปนคน กาวราว ขาดความอดทน 2. ความเครียดจากจิตใจ เชน ความวิตกกังวล ความหวาดระแวง การ ตัดสินใจ การตองการการยอมรับ สูญเสียของมีคา อยากมีชื่อเสียง 3. ความเครียดจากสิ่งแวดลอม เชน เสียงดัง น้ําทวม ไฟไหม เพื่อนฝูง 4. งานในหนาทีที่ตองรับผิดชอบ สภาพแวดลอมในการทํางาน ปริมาณ ่ งานที่ตองรับผิดชอบ การเรียน
  • 9. 4 ผลกระทบความเครียด ทางดานรางกาย จะแสดงออกคือ ปวดศรีษะขางเดียว บอยๆ หายใจไมออก หายใจถี่ เหนื่อยงาย ทองเสีย ทองผูก นอนไมหลับ เปนสม คลื่นไส เบื่ออาหาร ทางดานจิตใจ จะแสดงออก คือ หงุดหงิด รําคาญ เบื่อหนาย ทอถอย เครงเครียด เก็บกด อดทนตอ ปญหานอยลง รูสึกวาตนเองไรคุณคา ขาดสมาธิ แยกตัวจากสังคม ลังเลในการตัดสินใจ ไรอารมณขัน นักเรียนชวยแสดงความคิดเห็น สภาพแวดลอม และงานในหนาที่ที่ตองรับผิดชอบ เปนสาเหตุใหเกิดความเครียดในวันรุนได อยางไร ยกตัวอยางมาพอเขาใจ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ความเครียดมีผลตอการดําเนินชีวิตของนักเรียนและครอบครัวอยางไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ความเครียดหากเกิดขึนบอยๆจะเกิดผลเสียตอสุขภาพอยางไร ้ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… เมื่อตนเองเกิดความเครียดจะมีอาการเชนใด คิดวามีผลเสียกับบุคคลรอบขางหรือไม อยางไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
  • 10. 5 แบบฝกที่ 3 พักผอนหยอนใจ คําชี้แจง นักเรียนศึกษาหลักการปองกันและจัดการอารมณความเครียดเพื่อเปนแนวทางใน การปฏิบัติตนไดอยางถูกตอง การปองกันความเครียด 1. รักษาสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรงอยูเสมอ 2. นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ เพื่อใหรางกายสดชื่น 3. ควรหลีกเลี่ยงการเขาไปอยูในสภาวะแวดลอมที่ตื่นเตน เชน ความกดดันจากการ แขงขัน 4. รูจักมองโลกในแงดี อยาคิดในดานราย ทั้งตนเองและผูอน ื่ 5. ฝกตนเองใหเปนคนเขมแข็ง อดทน ทํางานอยางมีแบบแผน เปาหมาย ทํางานดวย ความสนุก รูจกแบงเวลา ไมเครงเครียดกับเรื่องใดนานเกินไป ั เมื่อมีความเครียดควร จัดการกับความเครียด เราสามารถทําไดหลายวิธี เชน การฝกสมาธิ การฝกหายใจ การเลน กีฬา ออกกําลังกาย การรวมกิจกรรมนันทนาการ การฟงเพลง การรองเพลง การอาน หนังสือ การฝกโยคะ การรดน้ําตนไม การเลี้ยงสัตว การไปเที่ยวพักผอน การนอนหลับ การจัดเวลาในการทํางาน พูดคุยปรึกษาคนที่ไวใจ หลีกเลี่ยงเหตุการณที่ทําใหระงับอารมณ ไมอยู เปนตน ซึ่งกอใหเกิดผลดีกับตนเองและบุคคลรอบขาง
  • 11. 6 คําถาม หากนักเรียนมีความเครียดเกิดขึ้น นักเรียนจะมี วิธีการจัดการกับความเครียดอยางไร จึงจะเหมาะสม คําตอบ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………
  • 12. 7 เฉลยแบบฝก คําชี้แจง นักเรียนเฉลยแบบฝกที่ 1 ถึง แบบฝกที่ 3 ใหถูกตอง เฉลยแบบฝกที่ 1 ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีสิ่งตางๆมา กระทบจิตใจ จะกอใหเกิดความรูสึกตางๆ นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข ี่ เศราหมอง ไมหยุดนิ่ง ความสงบ ไมสงบ ฟุงซาน รัก เบิกบาน กลัว กังวล โกรธ ยินดี อิจฉาริษยา ดีใจ เสียใจ เฉลยแบบฝกที่ 2 – 3 *หมายเหตุ* คําตอบอยูในดุลพินิจครูผูสอน
  • 13. 8 สรุปผลการปฏิบัติ คําชี้แจง สรุปคะแนนจากการปฏิบัติแบบฝก แบบฝก คะแนน แบบฝกที…1….. ่ เรื่อง…มารูจักอารมณกนเถอะ.. ั แบบฝกที…2….. ่ เรื่อง…ภัยแหงความเครียด…… แบบฝกที…3….. ่ เรื่อง…พักผอนหยอนใจ… รวมคะแนน รอยละ สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน ผูสอน…………………..
  • 14. 9 สอบประเมินผล เรื่อง อารมณกับความเครียด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต คําชี้แจง ใหนกเรียนเลือกตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ั 1. ขอใด ไมได หมายถึง อารมณ 5. วัยรุนมักมีปญหาดานอารมณกับใครมากที่สุด ก. ขาวดุ ก. ครู ข. ดํายิ้ม ข. พอแม ค. แดงเดิน ค. เพื่อน ง. เขียวทอแท ง. ตัววัยรุนเอง 6. ใครสามารถหลีกเลี่ยงความรุนแรงไดดที่สุดเมื่อ ี 2.เมื่อมีอารมณโกรธ วันรุนจะขาดอะไรมากที่สุด  มีอารมณโกรธ ก. การควบคุมตนเอง ก. แดงทําความสะอาดบาน ข. ความมีเหตุผล ข. ดําไปดื่มสุรากับเพื่อน ค. ความระมัดระวัง ค. เขียวไปซื้อของ ง. ความละเอียดรอบคอบ ง. ขาวไปแขงกีฬากับเพื่อน 3. ใครไดรับผลกระทบทางอารมณมากที่สด ุ 7. ทําไมจึงไมควร แสดงอารมณตอเรื่องที่ไมรุนแรง ก. ขาวถูกแมตําหนิบอย ก. ใหสะสมเอาไวกอน ข. ดีชอบทะเลาะกับเพื่อน ข. สามารถตกลงกันได ค. แดงถูเพื่อนแกลงเสมอ ค. อาจเปนเรื่องใหญได ง. ดํามีความเห็นไมตรงกับครู ง. อาจมีคนไมเห็นดวย 4. ขอใดไมใช ลักษณะอารมณของวัยรุน 8. บุคคลในขอใดกําลังมีความวิตกกังวล ก. รุนแรง ก. แดงกลัววาจะไดรางวัลที่ 1 ข. สับสน ข. ดํากลัววาจะมีคนมารัก ค. ออนไหว ค. เขียวกลัววาจะถูกไลออกจากงาน ง. มั่นคง ง. ขาวคาดวาจะสอบไดคะแนนสูง
  • 15. 10 9. ขอใดกลาวถึงความโกรธไดถูกตอง 10. เมื่อเกิดความเครียด ขอใดตอไปนี้ ควรกระทํา ก. คนนิ่งเงียบมักไมโกรธ มากที่สุด ข. คนโกรธไมมีใครอยากคบ ก. ฟงเพลง รองเพลง ค. โกรธเมื่อไดสิ่งที่ตองการมากไป ข. ระบายใหเพื่อนทุกๆคนฟง ง. คนโกรธเปนอันตรายตอผูอื่นอยูเสมอ ค. ตะโกนใสผูอื่น ง. ดื่มสุราแกกลุม รวมคะแนน = ……….... รอยละ…………. ผาน ไมผาน เกณฑตัดสินการสอบผานรอยละ 80
  • 16. 11 เฉลยสอบประเมินผล เรื่อง อารมณกับความเครียด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,, 1. ค 2. ข 3. ก 4. ง 5. ข 6. ก 7. ข 8. ค 9. ง 10. ก ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
  • 17. บรรณานุกรม นพ.ธงชัย ทวิชาชาติ , หนังสือเรียนสมบูรณแบบ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1(พ011) บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2537 ดร.สมหมาย แตงสกุล , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2546 ดร.พรสุข หุนนิรันดร , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 อักษรเจริญทัศน 2546 สุปราถนา ยุกตะนันท , หนังสือคูมือครู และแผนการจัดการเรียนรูสขศึกษาม.1 ุ อักษรเจริญทัศน 2546