SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
กรวรรณ สังขกร
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อบรม “ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
ณ สานักบริการวิชาการ (UNISERV) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2556
ตลาด ความต้องการ และการรองรับ
• ตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 ประชากรผู้สูงอายุจะมีจานวนเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากกลุ่มประชากรที่
เกิดในช่วง baby boom ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของโลกได้เข้าสู่ช่วงสูงอายุ ทาให้
ประชากรโลกที่อายุ 60 ปีขึ้นไปมีประมาณ 40% ของประชากรโลกทั้งหมด
• วิทยาการทางการแพทย์ที่ก้าวหน้าขึ้น ประชากรโลกมีอายุขัยเฉลี่ยที่สูงขึ้นและมีสุขภาพ
สมบูรณ์แข็งแรง
• ในประเทศที่พัฒนาแล้วมีอัตราค่าครองชีพสูง จึงมีแนวคิดส่งเสริมให้ผู้สูงอายุของตน
ออกไปใช้ชีวิตในต่างประเทศที่มีค่าครองชีพที่เหมาะสมและยังคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี
• ประชากรของโลกมีช่วงอายุการทางานที่ลดลง มีการเกษียณอายุการทางานเร็วกว่าใน
อดีต ทาให้สามารถใช้เวลาในการเดินทางท่องเที่ยวได้มากขึ้น
• ผู้เกษียณอายุจากการทางานมีสวัสดิการหรือเงินบานาญ มีเงินเก็บสะสมส่วนตัว ทาให้
นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีกาลังในการใช้จ่ายสูง และสามารถเข้ามาพานักในระยะยาวได้ ทา
ให้เกิดระยะเวลาในการใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นด้วย
Population by age groups and sex 1950 – 2100
Source: UN, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2011):
World Population Prospects: The 2010 Revision. New York
วิวัฒนาการของประชากรโลก
อายุต่ากว่า 15 และ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
Source: UN Population Division Department of Economic and Social Affairs
Number of International Tourists and International
Senior Tourists to Thailand (2002 – 2011)
สถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุ (+55) ของโลกปี
คศ.1997 (เฉพาะตลาดหลัก)
ที่มา : US Bureau of the Census, International Data Base.
ประเทศ ประชากรรวม ประชากรสูงอายุ อัตราส่วนผู้สูงอายุ
( ร้อยละ )
สหรัฐอเมริกา 267,955,000 55,913,000 20.9
ญี่ปุ่น 125,717,000 35,221,000 28.0
เยอรมัน 84,068,000 23,846,000 28.4
อังกฤษ 58,610,000 14,971,000 25.5
ฝรั่งเศษ 58,470,000 14,678,000 25.1
อิตาลี 57,534,000 16,559,000 28.8
สเปน 39,244,000 10,257,000 26.1
เนเธอร์แลนด์ 15,653,000 3,603,000 23.0
แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวพานักระยะยาว
• มีมานานแล้ว เกิดขึ้นจากประเทศตะวันตก ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้จะแสวงหา
ความสุขให้ตนเองด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งภายในประเทศของตนเองและ
ต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลาอันยาวนานและนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบ
เป็นชมรม (club) แต่พวกที่นิยมไปอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง การเดินทางไป
ท่องเที่ยวระยะยาวแต่ละครั้งนั้นจะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน
• ในระยะหลังๆ long Stay ได้พัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวหลายรูปแบบที่เป็นการพัก
อาศัยนานวันแต่ก็ยังคงยึดแนวคิดหลักอันเดิม คือการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อ
การใดการหนึ่งโดยเฉพาะ
• การท่องเที่ยวแบบ long Stay จึงมีความหมายกว้างขวางในยุคปัจจุบันครอบคลุมถึง
การท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ ที่มิใช่ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว
ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ สาหรับระยะเวลานั้น ขึ้นอยู่กับ
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์แต่ละวัตถุประสงค์
Long stay คือ...???
• การท่องเที่ยวพานักระยะยาว Long stay tourism
– มีวิวัฒนาการจากความต้องการของนักท่องเที่ยว การพักผ่อน
หย่อนใจ (Recreation)
– เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society)
– มีการพยากรณ์ในปี พ.ศ. 2568 จะมีประชากรที่เป็นผู้สูงอายุใน
โลก 340 ล้านคน
– ยุค “Baby Boomer” หรือ “Gen X“
– คนกลุ่มนี้ในปัจจุบันเป็นกลุ่มคนที่เกษียณอายุจากการทางานมี
ความสามารถในใช้จ่ายเงินเพื่อการพักผ่อน
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางให้
นักท่องเที่ยวมาอาศัยอยู่เป็นเวลานาน ซึ่งหมายถึง ระยะเวลา
ตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2-3 เดือน หรือ 2-3 ปี
เป็นการท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้เกษียณอายุ
หรือผู้ที่มีฐานะดี
บริษัท Northern Heritage Valley, www2.tat.or.th
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว ( Long-stay and Health Care ) เป็นการ
ให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนสวยงามทั่ว
ประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ให้บริการพักผ่อนระยะยาวพร้อมทั้งบริการ
ด้านสุขภาพอย่างครบวงจร ให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
ผู้สูงอายุชาวต่างประเทศแบบ Long Stay
ไม่ได้หมายความถึง การไปอยู่อาศัยเป็นการถาวรในประเทศนั้นๆ
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ หรือวัยเกษียณอายุ ส่วนใหญ่ประสบความสาเร็จในชีวิต
การทางาน มีกาลังซื้อสูง สามารถเดินทางออกนอกประเทศเป็นเวลานานๆ ต้องการหลบ
เลี่ยงอากาศหนาวจัดในฤดูหนาวมาพักในประเทศที่อบอุ่นกว่า มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการ
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีกับประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ
เป็นครั้งคราว รวมทั้งต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเจ็บป่วยก็ได้รับการ
ดูแลรักษาอย่างมีมาตรฐาน
กรมส่งเสริมการส่งออก
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
นักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทย
เกิน 30 วันขึ้นไป โดยจาแนกเป็น 4 ประเภท คือ
1) นักท่องเที่ยวพานักระยะยาว โดยเฉพาะฤดูหนาว ผู้ที่ต้องการหลบสภาพ
อากาศที่รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง เช่น ร้อนจัด หนาวจัด รวมทั้ง
ผู้ที่มารักษาสุขภาพในเมืองไทยเป็นครั้งคราว
2) นักท่องเที่ยวกลุ่มหลังเกษียณที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป โดยเน้นกลุ่มที่มี
สุขภาพดีและช่วยเหลือตนเองได้
3) กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาที่มาศึกษาภายในประเทศไทย และผู้เข้าอบรม
ในหลักสูตรระยะสั้น นักเรียนแลกเปลี่ยนตามโครงการต่างๆ
4) กลุ่มนักกีฬาที่เข้ามาเก็บตัวฝึกซ้อมในประเทศไทย ได้แก่ นักกีฬาที่เข้า
เก็บตัวฝึกซ้อมก่อนการแข่งขัน กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเรียนและฝึกหัดกีฬา
บางประเภท เช่น กีฬากอล์ฟ มวยไทย ฯลฯ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป
และได้วีซ่า O-A
กระทรวงการต่างประเทศ
วีซ่าพิเศษ (O-A)
สานักงานตรวจคนเข้าเมืองออกให้แก่ชาวต่างประเทศที่มีอายุ
ตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่ประสงค์เข้ามาพานักในประเทศไทยระยะยาว
คราวละไม่เกิน 1 ปี ต่ออายุวีซ่าได้
โดยมีหลักฐานการฝากเงินกับธนาคารพาณิชย์ไทยไม่น้อยกว่า 800,000 บาท หรือ
หลักฐานการมีรายได้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 65,000 บาท/เดือน หรือ
มีเงินฝากและเงินได้รวมทั้งปีไม่น้อยกว่า 800,000 บาท
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
• คาจากัดความ Long stay ของญี่ปุ่น
– เป็นการพานักระยะยาวไม่ใช่ การย้ายถิ่นแบบถาวร เป็นการพานักตั้งแต่ 2
อาทิตย์ขึ้นไป และท้ายสุดกลับมายังประเทศญี่ปุ่น
– ครอบครองหรือเช่าที่พักในต่างประเทศ ไม่รวมโรงแรมสาหรับนักท่องเที่ยว
ระยะสั้น แต่หมายถึงการเช้าหรืออาคารที่พักที่มีอุปกรณ์จาเป็นสาหรับดารง
ชีวิตประจาวัน
– มีวัตถุประสงค์เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การใช้เวลาว่างในต่างประเทศเพื่อการ
พักผ่อน มีการคบหาคนท้องถิ่น อาทิ เรียนภาษา ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม
หรือเป็นอาสาสมัคร
– เน้นการใช้ชีวิตประจาวันมากกว่าการท่องเที่ยว
– มีแหล่งเงินทุนในการอยู่พานักจาก เงินเดือน บานาญ ดอกเบี้ยธนาคาร ไม่ใช่
เงินจากการมาทางาน
– มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ได้ปลดเกษียณจากการทางาน
พนิดา อนันตนาคม, 2556
การพักผ่อนระยะเวลานานในต่างประเทศ ซึ่งไม่ใช่การอพยพย้ายถิ่น หรือไปมีถิ่นฐานที่
ถาวรในต่างประเทศลักษณะโดยทั่วไปของ Long Stay คือ
• ต้องอาศัยอยู่เป็นระยะเวลานาน คือ จะอยู่นานกว่าการอยู่ในต่างประเทศโดยทั่วไป แต่
ต้องกลับมายังประเทศญี่ปุ่น
• มีจุดมุ่งหมายที่จะทากิจกรรมเพื่อเป็นการพักผ่อน
• เน้นการอาศัยอยู่กับที่มากกว่าการเดินทางท่องเที่ยว โดยการเดินทางท่องเที่ยว
ต่างประเทศคือ การหาประสบการณ์ ในต่างประเทศที่ไม่สามารถพบได้ใน
ชีวิตประจาวัน ในขณะที่ Long Stay คือ การหาประสบการณ์ที่พบได้ใน
ชีวิตประจาวันซึ่งจะมีลักษณะที่เหมือนกับการใช้ชีวิตประจาวันในต่างประเทศ
• ต้องมีหรือเช่าที่พักในต่างประเทศเพื่ออยู่อาศัยในชีวิตประจาวัน ไม่ใช่อยู่โรงแรมแบบ
นักท่องเที่ยวทั่วไป
• ต้องมีเงินทุนในประเทศญี่ปุ่นเพียงพอที่จะอาศัยอยู่ในต่างประเทศ ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับรายได้
ที่ได้รับจากต่างประเทศเท่านั้น
Long Stay Foundation Japan, www2.tat.or.th
การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
Long stay in Thailand
• ประเทศเป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบพานักยาวของนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น
• นักท่องเที่ยวญี่ปุ่นเลือกพักในจังหวัดเชียงใหม่มากที่สุด
เนื่องจาก
– มีกลุ่มองค์กรกลางในการประสานงานของกลุ่ม Long stay
– มีกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
– เชียงใหม่มีค่าครองชีพถูกกว่า กทม.
– อากาศเย็นสบาย
– เป็นเมืองที่ใกล้ญี่ปุ่น เดินทางไปมาสะดวก
Long stay in Thailand
• จากสถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุที่เดินทางมาประเทศไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่าน
มา พบว่ามีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี
• ในส่วนของผู้ที่เกษียณอายุการทางานและเดินทางเข้าท่องเที่ยวใน
ประเทศไทยนั้น พบว่ามีอัตราการขยายตัวที่ดีเช่นกัน โดยเฉลี่ยร้อยละ
5.33 ต่อปี
• นักท่องเที่ยวสูงอายุส่วนใหญ่จะมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันประมาณ
44 เหรียญสหรัฐ ซึ่งแม้จะมีอัตราที่ต่ากว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของ
นักท่องเที่ยวทั่วไป แต่การพานักที่นานวันกว่าก็สามารถนารายได้เข้า
มาได้เป็นจานวนมาก
..ต้องมีการพัฒนาสิ่งเหล่านี้เพิ่มขึ้น..
• การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่ได้มาตรฐานสากล และมีราคาไม่แพงมาก
จนเกินไป
• การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่เพียบพร้อมไปด้วยเครื่องอานวยความ
สะดวกที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่พานักระยะยาว
• การจัดเตรียมและการรวบรวมเครื่องอานวยความสะดวกด้านการดูแล
สุขภาพ
• กิจกรรมต่างๆ ที่ไม่เพียงแค่เพื่อการพักผ่อน และการสร้างสรรค์สิ่ง
ใหม่ๆ แต่เพื่อจิตใจ ร่างกาย และจิตวิญญาณด้วย
• สนับสนุนการพานักระยะยาวในเรื่อง การคมนาคม ภาษา การสื่อสาร
วีซ่า การธนาคาร การซื้อของ และการพัฒนาตนเอง
กลุ่มประเทศเป้าหมาย
สาหรับการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น
เยอรมัน
อังกฤษ & ฝรั่งเศส
จากสถิตินักท่องเที่ยวผู้สูงอายุของโลก พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ให้ความสนใจในการเดินทางไปพานัก
ระยะยาวในต่างประเทศมักจะอยู่ในประเทศ ที่มีค่าครองชีพสูง
กลุ่มประเทศเป้าหมาย
• นักท่องเที่ยวสหรัฐอเมริกาเป็นกลุ่มตลาดใหญ่ที่สุด รองลงมา
ได้แก่ญี่ปุ่น เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส ตามลาดับ
• กลุ่มผู้สูงอายุที่ให้ความสนใจในการเดินทางไปพานักระยะยาว
ในต่างประเทศมักจะอยู่ในประเทศที่มีค่าครองชีพค่อนข้างสูง
• ประเทศเหล่านี้จะมีเงินสวัสดิการให้แก่ผู้เกษียณอายุ ได้แก่ เงิน
บานาญ เงินประกันสังคม ฯลฯ โดยจ่ายให้เป็นจานวน
ค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับอัตราค่าครองชีพของประเทศอื่นๆทา
ให้ประชาชนในประเทศอื่นๆทาให้ประชาชนในประเทศดังกล่าว
มีกาลังทรัพย์ในการไปพานักประเทศอื่นเป็นระยะเวลานานได้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน้าที่สนับสนุนโครงการส่งเสริม
และพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาว
หน่วยงาน หน้าที่
1. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การศึกษาข้อมูล การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการตลาดการพัฒนามาตรฐานการ
บริการ และการประสานงานในฐานะฝ่ายเลขาคณะอนุกรรมการ
2. กระทรวงต่างประเทศ
การประชาสัมพันธ์ การอานวยความสะดวกในการตรวจลงตรา / ขยายระยะเวลาอยู่ต่อ
และการจัดทาระบบการตรวจสอบนักท่องเที่ยว
3.กระทรวงสาธารณสุข การกากับดูแลมาตรฐานสถานบริการต่างๆ
4. สานักงานตรวจคนเข้าเมือง
การอานวยความสะดวกในการตรวจลงตรา และจัดทาระบบการตรวจสอบนักท่องเที่ยว
5. กระทรวงมหาดไทย
การพัฒนาเพื่อรองรับและดูแลความปลอดภัยของสถานที่พัก การออกระเบียบเพื่อ
สนับสนุน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และการจัดทาระบบการตรวจสอบ
มาตรฐานสถานบริการที่พัก
6. กระทรวงการคลัง/ธปท. การอานวยความสะดวกในการปริวรรตเงินตรา และการนาเข้า และส่งออกอุปกรณ์
เครื่องมือที่จาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย
7. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
การจัดทามาตรฐานบุคลากรและระบบการตรวจสอบ การฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน้าที่สนับสนุนโครงการส่งเสริม
และพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาว
หน่วยงาน หน้าที่
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สถานที่พัก และสถานที่ท่องเที่ยว
9.คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
สนับสนุนกิจการที่ให้บริการนักท่องเที่ยวกลุ่ม Long Stay โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจ SME
10. NECTEC E-Commerce
11.กรมส่งเสริมการส่งออก
ร่วมกาหนดมาตรฐาน และระบบการตรวจสอบสถานบริการ / ทาการประชาสัมพันธ์
12. กรมประชาสัมพันธ์ ทาการประชาสัมพันธ์
13. ทบวงมหาวิทยาลัย/
กระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทาหลักสูตรให้แก่สถาบันการศึกษา และจัดทาระบบการตรวจสอบมาตรฐาน
14. สานักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดหมู่บ้านวัฒนธรรม
15. สภาพัฒน์/สภาวิจัย จัดทาระบบการติดตามและประเมินผล
16. กระทรวงอุตสาหกรรม
นาโครงการ 1 ตาบล 1 ผลิตภัณฑ์ มาสนับสนุนและโครงการ SME
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มี
คุณภาพ
ความมั่นใจด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและ
สุขภาพ
ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี
กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นกิจกรรมเชิงผจญภัย และการ
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่
บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่
แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว
ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมาก
นัก แต่ซื้อง่าย
กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา
ความต้องการของตลาด
กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา
• มีแนวโน้มดีมาก ปัจจุบันสถานศึกษาของไทยมีการทาการส่งเสริมและ
ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาต่างชาติเข้ามาศึกษามากยิ่งขึ้น เนื่องจาก
ระบบการศึกษาของไทยค่อนข้างมีมาตรฐาน
• นักเรียนและนักศึกษาได้รับประสบการณ์ในต่างแดน ทั้งการใช้ชีวิตและ
การเดินทางท่องเที่ยว
โรงแรมและรีสอร์ท
อพาร์ตเมนท์ อาคารชุด
และบ้านจัดสรร
ที่พักซึ่งสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดจากกลุ่มประเทศต่าง ๆ
ที่พัก
• โรงแรมและรีสอร์ท ที่สร้างไว้แล้วและยังเหลือจาหน่ายหรือให้เช่า
ประเภทนี้เหมาะกับตลาดระดับสูงซึ่งมีกาลังใช้จ่ายมาก และต้องการ
ความสะดวกสบายเพราะมีบริการที่พร้อมสรรพอยู่แล้ว
• อพาร์ตเม้นท์ อาคารชุด และบ้านจัดสรร ที่สร้างไว้แล้วและยังเหลือ
จาหน่ายหรือให้เช่า ซึ่งอาจต้องปรับปรุงบางส่วนให้มีสภาพสอดคล้อง
กับความต้องการของตลาด เพื่อช่วยกระตุ้นให้มีการจาหน่ายหรือให้
เช่าได้เพิ่มมากขึ้น
• ที่พักซึ่งสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดจาก
กลุ่มประเทศต่างๆ
บริการและกิจกรรม
การเข้าเมือง การสื่อสาร ความปลอดภัย ความสะดวกต่างๆ ใน
การดารงชีวิต กิจกรรมต้องมีความหลากหลายเพื่อให้อยู่ได้นานวัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของการบริการจะต้องจัดให้มี
ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Service Center
One Stop Service Center
ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ
ทาหน้าที่ให้ข้อมูล และประสานงานติดต่อกับหน้วยงานต่างๆเพื่ออานวย
ความสะดวกให้แก่ผู้เข้ามาพานักระยะยาวแบบครบวงจร เช่น การจัดหาที่
พักที่ได้มาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า การติดต่อกับสานักงาน
ตรวจคนเข้าเมืองเพื่อขอขยายระยะเวลาในการพานักต่อ การประสานงาน
ธนาคารพาณิชย์เพื่อเปิดบัญชี ฯลฯ โดยคณะอนุกรรมการนโยบายและ
แผนธุรกิจ ภายใต้คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพานัก
ระยะยาวแห่งชาติ จะเป็นผู้พิจารณากาหนดโครงสร้างและแนวทางการ
ทางานของศูนย์ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดาเนินการ
บุคลากร
ต้องมีทักษะและความพร้อม โดยเฉพาะเรื่อง
ภาษาต่างประเทศ รวมถึงการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ
แหล่งท่องเที่ยวพานักระยะยาวในประเทศไทย
พบว่า พื้นที่และจังหวัดที่มีศักยภาพในการส่งเสริมให้เป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวพานักระยะยาวในประเทศไทย ในช่วงแรก มีความพร้อมใน
การเป็นแหล่งท่องเที่ยวพานักระยะยาว รวมถึงการประเมินใน
ภาพรวมของทรัพยากร (Resource) ความสามารถในการแข่งขัน
(Competitive Advantage) ได้แก่
เชียงใหม่
หัวหิน - ชะอา กาญจนบุรี
หนองคาย
เชียงใหม่ หันหิน-ชะอา
กาญจนบุรี หนองคาย
ค่าครองชีพโดย
รวมอยู่ในระดับที่
เหมาะสม
การเดินทาง
สะดวกสบาย
มีโรงพยาบาล รวมทั้ง
ที่พัก โรงแรมที่หาได้
ง่าย
มีการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวที่ดีมาก
ชายหาดหัวหิน-ชะอา
สะอาด น้าทะเลใส และ
มีอากาศดีตลอดทั้งปี
การเดินทางสะดวก
ค่าครองชีพไม่สูง
มีที่พักให้เลือก
หลากหลาย
มีความหลากหลาย
ของกิจกรรมและแหล่ง
ท่องเที่ยวทั้งป่าเขา
น้าตก แม่น้า อุทยาน
ประวัติศาสตร์ เป็นต้น
การเดินทางสะดวก
และไม่ไกลจากกรุงเทพฯ
มากนัก
มีภาพลักษณ์ที่ดี
สาหรับความเป็นเมือง
น่าอยู่
ค่าที่พัก ค่าอาหาร
ค่าบริการ ค่าเดินทาง
อยู่ในระดับราคาที่น่า
พอใจ
เป็นแหล่งอารยะธรรม
ไทย-ลาว ที่สมบูรณ์ที่สุด
อีกแห่งหนึ่ง
ความเป็นไปได้ที่ประเทศไทย
จะเป็นแหล่งผู้พานักระยะยาว
จุดแข็ง
• ระบบกฎหมายและรัฐธรรมนูญไทยที่มีความมั่นคงและเสถียรภาพเพราะเป็น
ประเทศประชาธิปไตย
• วัฒนธรรมไทยอันดีงามที่ตกทอดสืบมา
• ทรัพยากรธรรมชาติที่มีมากมายและหลากหลายเป็นที่น่าสนใจในสายตาของ
ชาวต่างชาติ
• ความเป็นมิตร เอื้อเฟื้อ ยิ้มง่าย และนิสัยต้อนรับขับสู้ของคนไทย
• ค่าครองชีพที่ไม่แพงมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเงินตราต่างประเทศ
• ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
• การยอมรับความแตกต่างเพราะโดยพื้นฐานประเทศไทยเป็นสังคมเปิดไม่กีดกัน
ศาสนา และสีผิว
• อุปกรณ์ทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานสากล
• การแพทย์ทางเลือกใหม่ที่ชาวต่างชาติให้ความสนใจกันมาก
• อาหารไทยที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
จุดแข็ง
• มีอุปกรณ์อานวยความสะดวกด้านที่พักมากมาย
• การได้รับการสนับสนุนโครงการจากรัฐบาล
• เป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทาให้เหมาะในการเดินทางไป
ท่องเที่ยวยังประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ
• เป็นศูนย์กลางการบินนานาชาติ
• มีปริมาณบุคคลากรด้านการท่องเที่ยวจานวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งมีทรัพยากร
หนุ่มสาวที่พร้อมจะให้บริการผู้สูงอายุ
• มีสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมและได้มาตรฐาน เช่น ที่พัก
สถานพยาบาล เป็นต้น
• มีประวัติความสัมพันธ์ที่ดีกับต่างประเทศ
• เป็นสังคมที่มีระเบียบ
• การได้รับการสนับสนุนโครงการจากรัฐบาล
จุดอ่อน
- ความสามารถทางด้านภาษาเพราะผู้ทีมีความสามารถในการสื่อสาร
ภาษาต่างประเทศได้ดีมีอยู่น้อย
- การคมนามคมเพื่อสาธารณะยังไม่ดีพอ
- ด้านการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่นการสื่อสารผ่านทางดาวเทียม การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การเข้าถึงระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ได้ล่าช้า
และป้ายประกาศส่วนใหญ่จะเป็น ภาษาไทยเท่านั้น
- ระบบการทางานของฝ่ายราชการและระเบียบการในการติดต่อกับทาง
ราชการล่าช้าและซับซ้อน เช่น ปัญหาต่าง ๆ ที่มักจะเกิดในกระบวนการขอ
วีซ่า การขอใบอนุญาตทางาน การโอนเงินข้ามประเทศ การประกันภัย
และการจัดเก็บภาษีอากร
จุดอ่อน
- การประกอบอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องยังขาดความเข้าใจและทิศทางใน
การดาเนินงาน รวมทั้งขาดความรู้ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของ
กลุ่มเป้าหมายของตน
- ขีดความสามารถของบุคลากรยังต่า
- ขาดการประชาสัมพันธ์ที่เพียงพอ
-มาตรฐานด้านการให้บริการและสิ่งอานวยความสะดวกยังไม่ได้มาตรฐาน
- ขาด One Stop Service Center
- ขาดการศึกษาด้านการจัดการและการพัฒนาเพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมาย
อย่างเป็นระบบ
- ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา และ
ควบคุมดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการดาเนินได้ล่าช้า
โอกาส
- มีทรัพย์สินมากมายที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น อสังหาริมทรัพย์
ต่างๆ จะก่อให้เกิดการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการท่องเที่ยวพานักระยะยาวในรูปแบบใหม่ ๆ เช่น ชุมชนเพื่อ
ผู้เกษียณอายุ และบ้านพักเพื่อดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น
- ความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่
ไม่ได้มีเป้าหมาย ในการทาโครงการนี้ เช่นประเทศสิงค์โปร์
- ช่วยนาเงินตราต่างประเทศเข้าสู่ประเทศมากขึ้น
โอกาส
- เป็นการกระจายรายได้สู่ชนบท
-สภาพเศรษฐกิจของโลกมีการชะลอตัว ประชาชนที่อาศัยอยู่ในประเทศที่มี
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แต่มีค่าครองชีพสูงเกิดความต้องการเดินทางไป
พานักยังประเทศที่มีค่าครองชีพเหมาะสม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
- ชาวตะวันตกให้ความสนใจกับวัฒนธรรมของโลกตะวันออกมากขึ้น ทั้ง
ทางด้านศาสนา วิถีการดารงชีวิต วิธีการออกกาลังกาย ศิลปะ เป็นต้น ทา
ให้เกิดแนวโน้มการเดินทางมายังประเทศ ทางซีกโลกตะวันออกมากขึ้น
อุปสรรค/ความเสี่ยง
- เกิดความไม่พอใจของประชาชนท้องถิ่น เนื่องจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
และการเสียสิทธิประโยชน์ที่ตนควรได้ให้แก่ Longstayer
- การกระทาผิดศีลธรรมของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การหลอกลวง การโกง ผู้
ที่มีแนวโน้มจะเป็น Longstayer ในอนาคตและความเป็นไปได้ที่
Longstayer จะหลอกลวงผู้ประกอบการ หรือผู้ที่
- การแข่งขันระหว่างประเทศเพื่อนบ้านเช่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และ
อินโดนีเซีย ที่มีทรัพยากรและศักยภาพ ใกล้เคียงและสามารถแข่งขันกับ
ประเทศไทยได้
อุปสรรค/ความเสี่ยง
- ลักษณะอุปนิสัยของคนไทยที่ไม่คุ้นเคยกับนโยบายเชิงรุก
- หากจัดสิ่งอานวยความสะดวกที่รองรับความต้องการไม่ได้ตามที่
กลุ่มเป้าหมายคาดหวัง จะเกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของโครงการ
และส่งผลกระทบทาให้โครงการล้มเหลวได้
- ความเปราะบางทางความคิดในเชิงสังคมของคนไทยบางกลุ่มที่มีตอง
โครงการ
- ความผันผวนทางเศรษฐกิจภายในประเทศกลุ่มเป้าหมายซึ่งอาจจะทาให้
แนวโน้มเปลี่ยนแปลงได้
- การนามาซึ่งโรคติดต่อจากต่างถิ่นที่ไม่เคยมีในประเทศมาก่อน
- การแฝงตัวเข้ามาของกลุ่มอาชญากรรข้ามชาติและการค้ายาเสพย์ติด
“Best Country Brand for Value for Money”
according to the 2008 Country Brand Index (CBI)
“Best Tourist Country 2011”
by the Swedish travel industry
“The World’s Best Tourist Country”
by the Norwegian travel trade in 2012
(Tourism Authority of Thailand, 2012)
รางวัลด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
• Chiang Mai City of Long Stay
• http://www.youtube.com/watch?v=YfrrbmNL
N3M
การดาเนินงานของหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่
วิเคราะห์ความสาคัญของ Long Stay เชียงใหม่
• เมืองน่าอยู่ จุดแข็งของกลุ่มจังหวัด
• รายได้มีความยั่งยืน
• รายรับ 300,000 บาทต่อคนต่อปี
• เกื้อหนุนอุตสาหกรรมอื่น อสังหาริมทรัพย์ ค้าปลีก
ภัตตาคาร สุขภาพ
ศักยภาพกลุ่มจังหวัดฯ จุดแข็ง
• สังคมที่เอื้ออาทร ไม่แออัด สังคมพุทธ มีวัฒนธรรม
ปลอดภัยจาก อาชญากรรม และ ภัยธรรมชาติ
• ค่าครองชีพต่า
• การแพทย์ที่ดี
• แหล่งอาหาร
• อากาศไม่หนาว
• มีสถานกงสุล
โอกาส
• ภาวะคนสูงวัย
• ค่าครองชีพ
• ความปลอดภัย
• ความอบอุ่น Japan Syndrome
ยุทธศาสตร์หอการค้าเชียงใหม่
• ปรับโครงสร้างการท่องเที่ยว –Blue Ocean
• Long Stay
• พัฒนาวิสาหกิจ long stay ให้เข้มแข็ง รองรับการเติบโตของ
ตลาด
• พัฒนาบุคลากร
• พัฒนาสินค้า
• สร้างความพึงพอใจ CRM -Retirement School
• ประชาสัมพันธ์ สร้างโอกาสทางการตลาด
• ลดอุปสรรคจากภาครัฐ
• Chiang Mai Long stay Life Club
http://www.youtube.com/watch?v=J5ko
Gw5ve7U
ขอบคุณค่ะ
กรวรรณ สังขกร
นักวิจัย (ชานาญการพิเศษ)
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
E-mail: korawana@hotmail.com

More Related Content

What's hot

2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
chickyshare
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
praphol
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
chickyshare
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
praphol
 

What's hot (20)

230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 

More from Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
Korawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Korawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
Korawan Sangkakorn
 

More from Korawan Sangkakorn (20)

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 

Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว

  • 1. การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) กรวรรณ สังขกร สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อบรม “ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) ณ สานักบริการวิชาการ (UNISERV) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2556
  • 2. ตลาด ความต้องการ และการรองรับ • ตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 ประชากรผู้สูงอายุจะมีจานวนเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากกลุ่มประชากรที่ เกิดในช่วง baby boom ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของโลกได้เข้าสู่ช่วงสูงอายุ ทาให้ ประชากรโลกที่อายุ 60 ปีขึ้นไปมีประมาณ 40% ของประชากรโลกทั้งหมด • วิทยาการทางการแพทย์ที่ก้าวหน้าขึ้น ประชากรโลกมีอายุขัยเฉลี่ยที่สูงขึ้นและมีสุขภาพ สมบูรณ์แข็งแรง • ในประเทศที่พัฒนาแล้วมีอัตราค่าครองชีพสูง จึงมีแนวคิดส่งเสริมให้ผู้สูงอายุของตน ออกไปใช้ชีวิตในต่างประเทศที่มีค่าครองชีพที่เหมาะสมและยังคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี • ประชากรของโลกมีช่วงอายุการทางานที่ลดลง มีการเกษียณอายุการทางานเร็วกว่าใน อดีต ทาให้สามารถใช้เวลาในการเดินทางท่องเที่ยวได้มากขึ้น • ผู้เกษียณอายุจากการทางานมีสวัสดิการหรือเงินบานาญ มีเงินเก็บสะสมส่วนตัว ทาให้ นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีกาลังในการใช้จ่ายสูง และสามารถเข้ามาพานักในระยะยาวได้ ทา ให้เกิดระยะเวลาในการใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นด้วย
  • 3. Population by age groups and sex 1950 – 2100 Source: UN, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2011): World Population Prospects: The 2010 Revision. New York
  • 4.
  • 5. วิวัฒนาการของประชากรโลก อายุต่ากว่า 15 และ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป Source: UN Population Division Department of Economic and Social Affairs
  • 6. Number of International Tourists and International Senior Tourists to Thailand (2002 – 2011)
  • 7. สถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุ (+55) ของโลกปี คศ.1997 (เฉพาะตลาดหลัก) ที่มา : US Bureau of the Census, International Data Base. ประเทศ ประชากรรวม ประชากรสูงอายุ อัตราส่วนผู้สูงอายุ ( ร้อยละ ) สหรัฐอเมริกา 267,955,000 55,913,000 20.9 ญี่ปุ่น 125,717,000 35,221,000 28.0 เยอรมัน 84,068,000 23,846,000 28.4 อังกฤษ 58,610,000 14,971,000 25.5 ฝรั่งเศษ 58,470,000 14,678,000 25.1 อิตาลี 57,534,000 16,559,000 28.8 สเปน 39,244,000 10,257,000 26.1 เนเธอร์แลนด์ 15,653,000 3,603,000 23.0
  • 8. แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวพานักระยะยาว • มีมานานแล้ว เกิดขึ้นจากประเทศตะวันตก ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้จะแสวงหา ความสุขให้ตนเองด้วยการไปท่องเที่ยวในต่างถิ่น ทั้งภายในประเทศของตนเองและ ต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลาอันยาวนานและนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบ เป็นชมรม (club) แต่พวกที่นิยมไปอิสระเป็นบุคคลก็มีอยู่บ้าง การเดินทางไป ท่องเที่ยวระยะยาวแต่ละครั้งนั้นจะมีวัตถุประสงค์เจาะจงชัดเจน • ในระยะหลังๆ long Stay ได้พัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวหลายรูปแบบที่เป็นการพัก อาศัยนานวันแต่ก็ยังคงยึดแนวคิดหลักอันเดิม คือการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อ การใดการหนึ่งโดยเฉพาะ • การท่องเที่ยวแบบ long Stay จึงมีความหมายกว้างขวางในยุคปัจจุบันครอบคลุมถึง การท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ ที่มิใช่ไปเที่ยวแบบทั่วไปแต่เป็นการไปพักอาศัยชั่วคราว ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ สาหรับระยะเวลานั้น ขึ้นอยู่กับ กิจกรรมตามวัตถุประสงค์แต่ละวัตถุประสงค์
  • 9. Long stay คือ...??? • การท่องเที่ยวพานักระยะยาว Long stay tourism – มีวิวัฒนาการจากความต้องการของนักท่องเที่ยว การพักผ่อน หย่อนใจ (Recreation) – เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) – มีการพยากรณ์ในปี พ.ศ. 2568 จะมีประชากรที่เป็นผู้สูงอายุใน โลก 340 ล้านคน – ยุค “Baby Boomer” หรือ “Gen X“ – คนกลุ่มนี้ในปัจจุบันเป็นกลุ่มคนที่เกษียณอายุจากการทางานมี ความสามารถในใช้จ่ายเงินเพื่อการพักผ่อน
  • 10. การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางให้ นักท่องเที่ยวมาอาศัยอยู่เป็นเวลานาน ซึ่งหมายถึง ระยะเวลา ตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2-3 เดือน หรือ 2-3 ปี เป็นการท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้เกษียณอายุ หรือผู้ที่มีฐานะดี บริษัท Northern Heritage Valley, www2.tat.or.th
  • 11. การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว ( Long-stay and Health Care ) เป็นการ ให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่พักผ่อนสวยงามทั่ว ประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย ให้บริการพักผ่อนระยะยาวพร้อมทั้งบริการ ด้านสุขภาพอย่างครบวงจร ให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ผู้สูงอายุชาวต่างประเทศแบบ Long Stay ไม่ได้หมายความถึง การไปอยู่อาศัยเป็นการถาวรในประเทศนั้นๆ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผู้สูงอายุ หรือวัยเกษียณอายุ ส่วนใหญ่ประสบความสาเร็จในชีวิต การทางาน มีกาลังซื้อสูง สามารถเดินทางออกนอกประเทศเป็นเวลานานๆ ต้องการหลบ เลี่ยงอากาศหนาวจัดในฤดูหนาวมาพักในประเทศที่อบอุ่นกว่า มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมประเพณีกับประชาชนในท้องถิ่น มีการท่องเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ เป็นครั้งคราว รวมทั้งต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเจ็บป่วยก็ได้รับการ ดูแลรักษาอย่างมีมาตรฐาน กรมส่งเสริมการส่งออก
  • 12. การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) นักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทย เกิน 30 วันขึ้นไป โดยจาแนกเป็น 4 ประเภท คือ 1) นักท่องเที่ยวพานักระยะยาว โดยเฉพาะฤดูหนาว ผู้ที่ต้องการหลบสภาพ อากาศที่รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง เช่น ร้อนจัด หนาวจัด รวมทั้ง ผู้ที่มารักษาสุขภาพในเมืองไทยเป็นครั้งคราว 2) นักท่องเที่ยวกลุ่มหลังเกษียณที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป โดยเน้นกลุ่มที่มี สุขภาพดีและช่วยเหลือตนเองได้ 3) กลุ่มนักเรียนและนักศึกษาที่มาศึกษาภายในประเทศไทย และผู้เข้าอบรม ในหลักสูตรระยะสั้น นักเรียนแลกเปลี่ยนตามโครงการต่างๆ 4) กลุ่มนักกีฬาที่เข้ามาเก็บตัวฝึกซ้อมในประเทศไทย ได้แก่ นักกีฬาที่เข้า เก็บตัวฝึกซ้อมก่อนการแข่งขัน กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเรียนและฝึกหัดกีฬา บางประเภท เช่น กีฬากอล์ฟ มวยไทย ฯลฯ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • 14. วีซ่าพิเศษ (O-A) สานักงานตรวจคนเข้าเมืองออกให้แก่ชาวต่างประเทศที่มีอายุ ตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่ประสงค์เข้ามาพานักในประเทศไทยระยะยาว คราวละไม่เกิน 1 ปี ต่ออายุวีซ่าได้ โดยมีหลักฐานการฝากเงินกับธนาคารพาณิชย์ไทยไม่น้อยกว่า 800,000 บาท หรือ หลักฐานการมีรายได้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 65,000 บาท/เดือน หรือ มีเงินฝากและเงินได้รวมทั้งปีไม่น้อยกว่า 800,000 บาท
  • 15. การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay) • คาจากัดความ Long stay ของญี่ปุ่น – เป็นการพานักระยะยาวไม่ใช่ การย้ายถิ่นแบบถาวร เป็นการพานักตั้งแต่ 2 อาทิตย์ขึ้นไป และท้ายสุดกลับมายังประเทศญี่ปุ่น – ครอบครองหรือเช่าที่พักในต่างประเทศ ไม่รวมโรงแรมสาหรับนักท่องเที่ยว ระยะสั้น แต่หมายถึงการเช้าหรืออาคารที่พักที่มีอุปกรณ์จาเป็นสาหรับดารง ชีวิตประจาวัน – มีวัตถุประสงค์เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การใช้เวลาว่างในต่างประเทศเพื่อการ พักผ่อน มีการคบหาคนท้องถิ่น อาทิ เรียนภาษา ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม หรือเป็นอาสาสมัคร – เน้นการใช้ชีวิตประจาวันมากกว่าการท่องเที่ยว – มีแหล่งเงินทุนในการอยู่พานักจาก เงินเดือน บานาญ ดอกเบี้ยธนาคาร ไม่ใช่ เงินจากการมาทางาน – มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ได้ปลดเกษียณจากการทางาน พนิดา อนันตนาคม, 2556
  • 16. การพักผ่อนระยะเวลานานในต่างประเทศ ซึ่งไม่ใช่การอพยพย้ายถิ่น หรือไปมีถิ่นฐานที่ ถาวรในต่างประเทศลักษณะโดยทั่วไปของ Long Stay คือ • ต้องอาศัยอยู่เป็นระยะเวลานาน คือ จะอยู่นานกว่าการอยู่ในต่างประเทศโดยทั่วไป แต่ ต้องกลับมายังประเทศญี่ปุ่น • มีจุดมุ่งหมายที่จะทากิจกรรมเพื่อเป็นการพักผ่อน • เน้นการอาศัยอยู่กับที่มากกว่าการเดินทางท่องเที่ยว โดยการเดินทางท่องเที่ยว ต่างประเทศคือ การหาประสบการณ์ ในต่างประเทศที่ไม่สามารถพบได้ใน ชีวิตประจาวัน ในขณะที่ Long Stay คือ การหาประสบการณ์ที่พบได้ใน ชีวิตประจาวันซึ่งจะมีลักษณะที่เหมือนกับการใช้ชีวิตประจาวันในต่างประเทศ • ต้องมีหรือเช่าที่พักในต่างประเทศเพื่ออยู่อาศัยในชีวิตประจาวัน ไม่ใช่อยู่โรงแรมแบบ นักท่องเที่ยวทั่วไป • ต้องมีเงินทุนในประเทศญี่ปุ่นเพียงพอที่จะอาศัยอยู่ในต่างประเทศ ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับรายได้ ที่ได้รับจากต่างประเทศเท่านั้น Long Stay Foundation Japan, www2.tat.or.th การท่องเที่ยวพานักระยะยาว (Long Stay)
  • 17. Long stay in Thailand • ประเทศเป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบพานักยาวของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น • นักท่องเที่ยวญี่ปุ่นเลือกพักในจังหวัดเชียงใหม่มากที่สุด เนื่องจาก – มีกลุ่มองค์กรกลางในการประสานงานของกลุ่ม Long stay – มีกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก – เชียงใหม่มีค่าครองชีพถูกกว่า กทม. – อากาศเย็นสบาย – เป็นเมืองที่ใกล้ญี่ปุ่น เดินทางไปมาสะดวก
  • 18. Long stay in Thailand • จากสถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุที่เดินทางมาประเทศไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่าน มา พบว่ามีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี • ในส่วนของผู้ที่เกษียณอายุการทางานและเดินทางเข้าท่องเที่ยวใน ประเทศไทยนั้น พบว่ามีอัตราการขยายตัวที่ดีเช่นกัน โดยเฉลี่ยร้อยละ 5.33 ต่อปี • นักท่องเที่ยวสูงอายุส่วนใหญ่จะมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันประมาณ 44 เหรียญสหรัฐ ซึ่งแม้จะมีอัตราที่ต่ากว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของ นักท่องเที่ยวทั่วไป แต่การพานักที่นานวันกว่าก็สามารถนารายได้เข้า มาได้เป็นจานวนมาก
  • 19. ..ต้องมีการพัฒนาสิ่งเหล่านี้เพิ่มขึ้น.. • การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่ได้มาตรฐานสากล และมีราคาไม่แพงมาก จนเกินไป • การจัดเตรียมที่พักอาศัยที่เพียบพร้อมไปด้วยเครื่องอานวยความ สะดวกที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่พานักระยะยาว • การจัดเตรียมและการรวบรวมเครื่องอานวยความสะดวกด้านการดูแล สุขภาพ • กิจกรรมต่างๆ ที่ไม่เพียงแค่เพื่อการพักผ่อน และการสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆ แต่เพื่อจิตใจ ร่างกาย และจิตวิญญาณด้วย • สนับสนุนการพานักระยะยาวในเรื่อง การคมนาคม ภาษา การสื่อสาร วีซ่า การธนาคาร การซื้อของ และการพัฒนาตนเอง
  • 20. กลุ่มประเทศเป้าหมาย สาหรับการท่องเที่ยว แบบ Long Stay สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมัน อังกฤษ & ฝรั่งเศส จากสถิตินักท่องเที่ยวผู้สูงอายุของโลก พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ให้ความสนใจในการเดินทางไปพานัก ระยะยาวในต่างประเทศมักจะอยู่ในประเทศ ที่มีค่าครองชีพสูง
  • 21. กลุ่มประเทศเป้าหมาย • นักท่องเที่ยวสหรัฐอเมริกาเป็นกลุ่มตลาดใหญ่ที่สุด รองลงมา ได้แก่ญี่ปุ่น เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส ตามลาดับ • กลุ่มผู้สูงอายุที่ให้ความสนใจในการเดินทางไปพานักระยะยาว ในต่างประเทศมักจะอยู่ในประเทศที่มีค่าครองชีพค่อนข้างสูง • ประเทศเหล่านี้จะมีเงินสวัสดิการให้แก่ผู้เกษียณอายุ ได้แก่ เงิน บานาญ เงินประกันสังคม ฯลฯ โดยจ่ายให้เป็นจานวน ค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับอัตราค่าครองชีพของประเทศอื่นๆทา ให้ประชาชนในประเทศอื่นๆทาให้ประชาชนในประเทศดังกล่าว มีกาลังทรัพย์ในการไปพานักประเทศอื่นเป็นระยะเวลานานได้
  • 22. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน้าที่สนับสนุนโครงการส่งเสริม และพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาว หน่วยงาน หน้าที่ 1. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การศึกษาข้อมูล การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการตลาดการพัฒนามาตรฐานการ บริการ และการประสานงานในฐานะฝ่ายเลขาคณะอนุกรรมการ 2. กระทรวงต่างประเทศ การประชาสัมพันธ์ การอานวยความสะดวกในการตรวจลงตรา / ขยายระยะเวลาอยู่ต่อ และการจัดทาระบบการตรวจสอบนักท่องเที่ยว 3.กระทรวงสาธารณสุข การกากับดูแลมาตรฐานสถานบริการต่างๆ 4. สานักงานตรวจคนเข้าเมือง การอานวยความสะดวกในการตรวจลงตรา และจัดทาระบบการตรวจสอบนักท่องเที่ยว 5. กระทรวงมหาดไทย การพัฒนาเพื่อรองรับและดูแลความปลอดภัยของสถานที่พัก การออกระเบียบเพื่อ สนับสนุน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และการจัดทาระบบการตรวจสอบ มาตรฐานสถานบริการที่พัก 6. กระทรวงการคลัง/ธปท. การอานวยความสะดวกในการปริวรรตเงินตรา และการนาเข้า และส่งออกอุปกรณ์ เครื่องมือที่จาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย 7. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม การจัดทามาตรฐานบุคลากรและระบบการตรวจสอบ การฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร
  • 23. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน้าที่สนับสนุนโครงการส่งเสริม และพัฒนาการท่องเที่ยวพานักระยะยาว หน่วยงาน หน้าที่ 8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สถานที่พัก และสถานที่ท่องเที่ยว 9.คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สนับสนุนกิจการที่ให้บริการนักท่องเที่ยวกลุ่ม Long Stay โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจ SME 10. NECTEC E-Commerce 11.กรมส่งเสริมการส่งออก ร่วมกาหนดมาตรฐาน และระบบการตรวจสอบสถานบริการ / ทาการประชาสัมพันธ์ 12. กรมประชาสัมพันธ์ ทาการประชาสัมพันธ์ 13. ทบวงมหาวิทยาลัย/ กระทรวงศึกษาธิการ การจัดทาหลักสูตรให้แก่สถาบันการศึกษา และจัดทาระบบการตรวจสอบมาตรฐาน 14. สานักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดหมู่บ้านวัฒนธรรม 15. สภาพัฒน์/สภาวิจัย จัดทาระบบการติดตามและประเมินผล 16. กระทรวงอุตสาหกรรม นาโครงการ 1 ตาบล 1 ผลิตภัณฑ์ มาสนับสนุนและโครงการ SME
  • 24. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มี คุณภาพ ความมั่นใจด้านความปลอดภัย กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและ สุขภาพ ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
  • 25. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นกิจกรรมเชิงผจญภัย และการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่ บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่ แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมาก นัก แต่ซื้อง่าย กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา
  • 26. ความต้องการของตลาด กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา • มีแนวโน้มดีมาก ปัจจุบันสถานศึกษาของไทยมีการทาการส่งเสริมและ ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาต่างชาติเข้ามาศึกษามากยิ่งขึ้น เนื่องจาก ระบบการศึกษาของไทยค่อนข้างมีมาตรฐาน • นักเรียนและนักศึกษาได้รับประสบการณ์ในต่างแดน ทั้งการใช้ชีวิตและ การเดินทางท่องเที่ยว
  • 28. ที่พัก • โรงแรมและรีสอร์ท ที่สร้างไว้แล้วและยังเหลือจาหน่ายหรือให้เช่า ประเภทนี้เหมาะกับตลาดระดับสูงซึ่งมีกาลังใช้จ่ายมาก และต้องการ ความสะดวกสบายเพราะมีบริการที่พร้อมสรรพอยู่แล้ว • อพาร์ตเม้นท์ อาคารชุด และบ้านจัดสรร ที่สร้างไว้แล้วและยังเหลือ จาหน่ายหรือให้เช่า ซึ่งอาจต้องปรับปรุงบางส่วนให้มีสภาพสอดคล้อง กับความต้องการของตลาด เพื่อช่วยกระตุ้นให้มีการจาหน่ายหรือให้ เช่าได้เพิ่มมากขึ้น • ที่พักซึ่งสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดจาก กลุ่มประเทศต่างๆ
  • 29. บริการและกิจกรรม การเข้าเมือง การสื่อสาร ความปลอดภัย ความสะดวกต่างๆ ใน การดารงชีวิต กิจกรรมต้องมีความหลากหลายเพื่อให้อยู่ได้นานวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของการบริการจะต้องจัดให้มี ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Service Center
  • 30. One Stop Service Center ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ ทาหน้าที่ให้ข้อมูล และประสานงานติดต่อกับหน้วยงานต่างๆเพื่ออานวย ความสะดวกให้แก่ผู้เข้ามาพานักระยะยาวแบบครบวงจร เช่น การจัดหาที่ พักที่ได้มาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า การติดต่อกับสานักงาน ตรวจคนเข้าเมืองเพื่อขอขยายระยะเวลาในการพานักต่อ การประสานงาน ธนาคารพาณิชย์เพื่อเปิดบัญชี ฯลฯ โดยคณะอนุกรรมการนโยบายและ แผนธุรกิจ ภายใต้คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพานัก ระยะยาวแห่งชาติ จะเป็นผู้พิจารณากาหนดโครงสร้างและแนวทางการ ทางานของศูนย์ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดาเนินการ
  • 32. แหล่งท่องเที่ยวพานักระยะยาวในประเทศไทย พบว่า พื้นที่และจังหวัดที่มีศักยภาพในการส่งเสริมให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวพานักระยะยาวในประเทศไทย ในช่วงแรก มีความพร้อมใน การเป็นแหล่งท่องเที่ยวพานักระยะยาว รวมถึงการประเมินใน ภาพรวมของทรัพยากร (Resource) ความสามารถในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ได้แก่ เชียงใหม่ หัวหิน - ชะอา กาญจนบุรี หนองคาย
  • 33. เชียงใหม่ หันหิน-ชะอา กาญจนบุรี หนองคาย ค่าครองชีพโดย รวมอยู่ในระดับที่ เหมาะสม การเดินทาง สะดวกสบาย มีโรงพยาบาล รวมทั้ง ที่พัก โรงแรมที่หาได้ ง่าย มีการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวที่ดีมาก ชายหาดหัวหิน-ชะอา สะอาด น้าทะเลใส และ มีอากาศดีตลอดทั้งปี การเดินทางสะดวก ค่าครองชีพไม่สูง มีที่พักให้เลือก หลากหลาย มีความหลากหลาย ของกิจกรรมและแหล่ง ท่องเที่ยวทั้งป่าเขา น้าตก แม่น้า อุทยาน ประวัติศาสตร์ เป็นต้น การเดินทางสะดวก และไม่ไกลจากกรุงเทพฯ มากนัก มีภาพลักษณ์ที่ดี สาหรับความเป็นเมือง น่าอยู่ ค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าบริการ ค่าเดินทาง อยู่ในระดับราคาที่น่า พอใจ เป็นแหล่งอารยะธรรม ไทย-ลาว ที่สมบูรณ์ที่สุด อีกแห่งหนึ่ง
  • 35. จุดแข็ง • ระบบกฎหมายและรัฐธรรมนูญไทยที่มีความมั่นคงและเสถียรภาพเพราะเป็น ประเทศประชาธิปไตย • วัฒนธรรมไทยอันดีงามที่ตกทอดสืบมา • ทรัพยากรธรรมชาติที่มีมากมายและหลากหลายเป็นที่น่าสนใจในสายตาของ ชาวต่างชาติ • ความเป็นมิตร เอื้อเฟื้อ ยิ้มง่าย และนิสัยต้อนรับขับสู้ของคนไทย • ค่าครองชีพที่ไม่แพงมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเงินตราต่างประเทศ • ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การยอมรับความแตกต่างเพราะโดยพื้นฐานประเทศไทยเป็นสังคมเปิดไม่กีดกัน ศาสนา และสีผิว • อุปกรณ์ทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานสากล • การแพทย์ทางเลือกใหม่ที่ชาวต่างชาติให้ความสนใจกันมาก • อาหารไทยที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
  • 36. จุดแข็ง • มีอุปกรณ์อานวยความสะดวกด้านที่พักมากมาย • การได้รับการสนับสนุนโครงการจากรัฐบาล • เป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทาให้เหมาะในการเดินทางไป ท่องเที่ยวยังประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ • เป็นศูนย์กลางการบินนานาชาติ • มีปริมาณบุคคลากรด้านการท่องเที่ยวจานวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งมีทรัพยากร หนุ่มสาวที่พร้อมจะให้บริการผู้สูงอายุ • มีสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมและได้มาตรฐาน เช่น ที่พัก สถานพยาบาล เป็นต้น • มีประวัติความสัมพันธ์ที่ดีกับต่างประเทศ • เป็นสังคมที่มีระเบียบ • การได้รับการสนับสนุนโครงการจากรัฐบาล
  • 37. จุดอ่อน - ความสามารถทางด้านภาษาเพราะผู้ทีมีความสามารถในการสื่อสาร ภาษาต่างประเทศได้ดีมีอยู่น้อย - การคมนามคมเพื่อสาธารณะยังไม่ดีพอ - ด้านการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่นการสื่อสารผ่านทางดาวเทียม การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การเข้าถึงระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ได้ล่าช้า และป้ายประกาศส่วนใหญ่จะเป็น ภาษาไทยเท่านั้น - ระบบการทางานของฝ่ายราชการและระเบียบการในการติดต่อกับทาง ราชการล่าช้าและซับซ้อน เช่น ปัญหาต่าง ๆ ที่มักจะเกิดในกระบวนการขอ วีซ่า การขอใบอนุญาตทางาน การโอนเงินข้ามประเทศ การประกันภัย และการจัดเก็บภาษีอากร
  • 38. จุดอ่อน - การประกอบอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องยังขาดความเข้าใจและทิศทางใน การดาเนินงาน รวมทั้งขาดความรู้ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของ กลุ่มเป้าหมายของตน - ขีดความสามารถของบุคลากรยังต่า - ขาดการประชาสัมพันธ์ที่เพียงพอ -มาตรฐานด้านการให้บริการและสิ่งอานวยความสะดวกยังไม่ได้มาตรฐาน - ขาด One Stop Service Center - ขาดการศึกษาด้านการจัดการและการพัฒนาเพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมาย อย่างเป็นระบบ - ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา และ ควบคุมดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการดาเนินได้ล่าช้า
  • 39. โอกาส - มีทรัพย์สินมากมายที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น อสังหาริมทรัพย์ ต่างๆ จะก่อให้เกิดการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับ โครงการท่องเที่ยวพานักระยะยาวในรูปแบบใหม่ ๆ เช่น ชุมชนเพื่อ ผู้เกษียณอายุ และบ้านพักเพื่อดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น - ความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ ไม่ได้มีเป้าหมาย ในการทาโครงการนี้ เช่นประเทศสิงค์โปร์ - ช่วยนาเงินตราต่างประเทศเข้าสู่ประเทศมากขึ้น
  • 40. โอกาส - เป็นการกระจายรายได้สู่ชนบท -สภาพเศรษฐกิจของโลกมีการชะลอตัว ประชาชนที่อาศัยอยู่ในประเทศที่มี ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แต่มีค่าครองชีพสูงเกิดความต้องการเดินทางไป พานักยังประเทศที่มีค่าครองชีพเหมาะสม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี - ชาวตะวันตกให้ความสนใจกับวัฒนธรรมของโลกตะวันออกมากขึ้น ทั้ง ทางด้านศาสนา วิถีการดารงชีวิต วิธีการออกกาลังกาย ศิลปะ เป็นต้น ทา ให้เกิดแนวโน้มการเดินทางมายังประเทศ ทางซีกโลกตะวันออกมากขึ้น
  • 41. อุปสรรค/ความเสี่ยง - เกิดความไม่พอใจของประชาชนท้องถิ่น เนื่องจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น และการเสียสิทธิประโยชน์ที่ตนควรได้ให้แก่ Longstayer - การกระทาผิดศีลธรรมของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การหลอกลวง การโกง ผู้ ที่มีแนวโน้มจะเป็น Longstayer ในอนาคตและความเป็นไปได้ที่ Longstayer จะหลอกลวงผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ - การแข่งขันระหว่างประเทศเพื่อนบ้านเช่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย ที่มีทรัพยากรและศักยภาพ ใกล้เคียงและสามารถแข่งขันกับ ประเทศไทยได้
  • 42. อุปสรรค/ความเสี่ยง - ลักษณะอุปนิสัยของคนไทยที่ไม่คุ้นเคยกับนโยบายเชิงรุก - หากจัดสิ่งอานวยความสะดวกที่รองรับความต้องการไม่ได้ตามที่ กลุ่มเป้าหมายคาดหวัง จะเกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของโครงการ และส่งผลกระทบทาให้โครงการล้มเหลวได้ - ความเปราะบางทางความคิดในเชิงสังคมของคนไทยบางกลุ่มที่มีตอง โครงการ - ความผันผวนทางเศรษฐกิจภายในประเทศกลุ่มเป้าหมายซึ่งอาจจะทาให้ แนวโน้มเปลี่ยนแปลงได้ - การนามาซึ่งโรคติดต่อจากต่างถิ่นที่ไม่เคยมีในประเทศมาก่อน - การแฝงตัวเข้ามาของกลุ่มอาชญากรรข้ามชาติและการค้ายาเสพย์ติด
  • 43. “Best Country Brand for Value for Money” according to the 2008 Country Brand Index (CBI) “Best Tourist Country 2011” by the Swedish travel industry “The World’s Best Tourist Country” by the Norwegian travel trade in 2012 (Tourism Authority of Thailand, 2012) รางวัลด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
  • 44. • Chiang Mai City of Long Stay • http://www.youtube.com/watch?v=YfrrbmNL N3M
  • 45. การดาเนินงานของหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ วิเคราะห์ความสาคัญของ Long Stay เชียงใหม่ • เมืองน่าอยู่ จุดแข็งของกลุ่มจังหวัด • รายได้มีความยั่งยืน • รายรับ 300,000 บาทต่อคนต่อปี • เกื้อหนุนอุตสาหกรรมอื่น อสังหาริมทรัพย์ ค้าปลีก ภัตตาคาร สุขภาพ
  • 46. ศักยภาพกลุ่มจังหวัดฯ จุดแข็ง • สังคมที่เอื้ออาทร ไม่แออัด สังคมพุทธ มีวัฒนธรรม ปลอดภัยจาก อาชญากรรม และ ภัยธรรมชาติ • ค่าครองชีพต่า • การแพทย์ที่ดี • แหล่งอาหาร • อากาศไม่หนาว • มีสถานกงสุล
  • 47. โอกาส • ภาวะคนสูงวัย • ค่าครองชีพ • ความปลอดภัย • ความอบอุ่น Japan Syndrome
  • 48. ยุทธศาสตร์หอการค้าเชียงใหม่ • ปรับโครงสร้างการท่องเที่ยว –Blue Ocean • Long Stay • พัฒนาวิสาหกิจ long stay ให้เข้มแข็ง รองรับการเติบโตของ ตลาด • พัฒนาบุคลากร • พัฒนาสินค้า • สร้างความพึงพอใจ CRM -Retirement School • ประชาสัมพันธ์ สร้างโอกาสทางการตลาด • ลดอุปสรรคจากภาครัฐ
  • 49. • Chiang Mai Long stay Life Club http://www.youtube.com/watch?v=J5ko Gw5ve7U