SlideShare a Scribd company logo
1 of 198
Download to read offline
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

การดูแลรักษาโรคเบาหวาน
ดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน
ภายใต
โครงการสงเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการ
และดูแลสุขภาพชุมชน
ดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

โดย

á¾·

  á ¼ ¹ä ·  á Å Ð ¡ Ò Ã

¡ÒÃ

¾·Â

· Ò§ àÅ× Í ¡

·Ã Ç § Ê Ò ¸ ÒóÊØ¢

¡ÃÁ¾Ñ ²¹Ò

¡ÃÐ

á

สำนักการแพทยพื้นบานไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ก
สำนักแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน
การดู การแพทยพื้นบานไทย
ที่ปรึกษา
แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ
นายแพทยสญชัย วัฒนา
นายแพทยประพจน เภตรากาศ
ผูเขียน
รุจินาถ อรรถสิษฐ
บรรณาธิการบริหาร
เสาวณีย กุลสมบูรณ
คณะบรรณาธิการ
รุจินาถ อรรถสิษฐ
พ.ท.หญิง สุวิไล วงศธีระสุต
อรจิรา ทองสุกมาก
สิริรักษ อารทรากร

กมลทิพย สุวรรณเดช
ภราดร สามสูงเนิน
อรพินท ครุฑจับนาค

จัดพิมพโดย
สำนักการแพทยพื้นบานไทย
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข 0-2591-7808
Website : http://www.dtam.moph.go.th
พิมพครั้งแรก เมษายน 2553
พิมพครั้งที่สอง พฤษภาคม 2554 สนับสนุนการจัดพิมพโดย กองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย
พิมพที่ บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จำกัด
ขอมูลทางบรรณานุกรม หอสมุดแหงชาติ
รุจินาถ อรรถสิษฐ
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน
กรุงเทพฯ บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จำกัด
จำนวน 196 หนา
1. เบาหวาน 2. ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน
ISBN 978-616-11-0316-3

ข
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

คำนำ
การดูแลผูปวยเรื้อรังตองสนใจปญหาสุขภาพในหลายมิติ ทั้งกาย ใจ สังคม และ
มิติทางจิตวิญญาณ เพราะผูที่เกี่ยวของ อันประกอบดวยผูปวย ญาติ แพทยและนักวิชาชีพ
ดานสุขภาพ ที่ทำหนาที่ดูแลผูปวยเรื้อรัง ตองเผชิญสถานการณดานความทุกขของผูปวย
และญาติ ซึ่งผูปวยและญาติจะพยายามแสวงหาวิธีการตาง ๆ ที่สามารถตอบสนองความ
จำเปนและสภาวะการเจ็บปวยได
การจัดการความรูเรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน
ทำใหไดเรียนรู เกี่ยวกับ 1) การดูแลรักษาเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบานของ
ภาคประชาชน 2) การดู แ ลรั ก ษาเบาหวานของหมอพื้ น บ า น 3) การใช ป ระโยชน จ าก
ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ของสถานบริการสาธารณสุข ทั้งมิติ การดูแลรักษาและ
การปองกัน และ 4) องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาว ที่มีสรรพคุณใน
การรักษาเบาหวาน
ความรูทั้งสี่ประเด็นดังกลาว ทำใหเขาใจสถานการณที่เกี่ยวของกับการพัฒนา
แนวทางการสงเสริมการใชประโยชนจากภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแลเบาหวาน
ทั้งในระดับบุคคลคือ ผูปวยเบาหวานหรือกลุมเสี่ยง และสถานบริการสาธารณสุข รวมถึง
การพัฒนาตอยอดในลักษณะของงานวิจัยตอไป
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณ อาจารยรุจินาถ
อรรถสิษฐ ที่ไดกรุณาศึกษาวิจัยงานเรื่องนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาผูอานคงจะไดรับสาระ
ความรูจากงานวิชาการนี้ และมีแรงบันดาลใจในการสานตอการใชประโยชนในการดูแล
ปญหาเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ตอไป
แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

ค
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

สารบัญ
หนา
คำนำ
ค
คำเกริ่นนำ
ฎ
บทคัดยอสำหรับผูบริหาร
ฐ
บทที่ 1 บทนำ
3
1. หลักการและเหตุผล
3
2. วัตถุประสงค
4
3. วิธีการศึกษา
4
4. ผลที่คาดวาจะไดรับ
6
บทที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน
9
ของภาคประชาชน
1. ความเชื่อและความตองการของผูปวยเบาหวาน
9
2. การแสวงหาทางเลือกเพื่อดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน
10
2.1 มุมมองและพฤติกรรมดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน
10
2.2 มุมมองและพฤติกรรมการแสวงหาการดูแลแบบเสริมของผูปวยเบาหวาน 14
(1) การแสวงหาและการใชระบบการดูแลสุขภาพแบบผสมผสานของ 15
ผูปวยเบาหวาน
(2) เหตุผลและสัดสวนการใชสมุนไพรของผูปวยเบาหวาน
17
(3) ลักษณะการใชสมุนไพรของผูปวยเบาหวาน
24
(4) คาใชจายของการใชสมุนไพร
25
(5) ผลและความผิดปกติในการใชสมุนไพร
26
3. กรณีศึกษาของผูปวยเบาหวานที่เปนตนแบบของการดูแลรักษาตนเอง
26
กรณีศึกษาที่ 1 คุณสุภาณี อภิญญากุล จังหวัดนครศรีธรรมราช
26

ง
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

กรณีศึกษาที่ 2 คุณนอม ทองทา จังหวัดสระแกว
กรณีศึกษาที่ 3 คุณสมบูรณ อุทก จังหวัดอุทัยธานี
กรณีศึกษาที่ 4 คุณธีรารัตน สิทธิยศ จังหวัดเชียงราย
กรณีศึกษาที่ 5 คุณศรีเรือน โกศิลป จังหวัดเชียงราย
4. การดูแลรักษาตนเองของชมรมและเครือขายผูปวยเบาหวานในชุมชน
กรณีศึกษาที่ 1 รูปแบบการเสริมสรางพลังอำนาจแบบกลุมของกลุม
ผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ จังหวัดนครสวรรค
กรณีศึกษาที่ 2 เครือขายชมรมเบาหวาน เครือขายบริการปฐมภูมิเมือง
โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน
บทที่ 3 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองทิ่นการแพทยพื้นบาน
1. สถานการณและการกระจายตัวของหมอพื้นบานที่มีประสบการณดูแล
รักษาโรคเบาหวาน
2. บทบาทและองคความรูของหมอพื้นบานที่ดูแลรักษาโรคเบาหวาน
2.1 บทบาทของหมอพื้นบานที่ดูแลรักษาโรคเบาหวาน
2.2 ความเชื่อเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
2.3 การตรวจและการวินิจฉัยโรค
2.4 วิธีการรักษาโรคเบาหวาน
2.5 การติดตามผลการรักษาโรค
3. กรณีศึกษาหมอพื้นบานที่มีประสบการณการดูแลรักษาโรคเบาหวาน
กรณีศึกษาที่ 1 หมอนวล พิชคำ จังหวัดเชียงราย
กรณีศึกษาที่ 2 หมออุน ณ นาน จังหวัดเชียงราย
กรณีศึกษาที่ 3 หมอสม ทาวอาวาท จังหวัดเชียงราย
กรณีศึกษาที่ 4 หมอสายยน ใหญกระโทก จังหวัดสระแกว
กรณีศึกษาที่ 5 หมอคำปุน มุละสีวะ จังหวัดยโสธร
กรณีศึกษาที่ 6 หมอบุญถม ชุมอักษร จังหวัดตรัง
กรณีศึกษาที่ 7 หมอจิต บุญเลื่อง จังหวัดตรัง

หนา
29
30
31
32
34
37
38
45
46
47
47
47
48
48
49
50
50
52
53
54
57
59
61

จ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

หนา
65

บทที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มี
สรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน
1. องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรเดี่ยวที่มีสรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน 65
2. องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรตำรับที่มีสรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน 89
3. องคความรูจากการศึกษาวิจัยขาวที่มีสรรพคุณตอการควบคุมโรคเบาหวาน 94
บทที่ 5 การปองกันและดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น /
101
การแพทยพื้นบานในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
1. ความหมายของโรคเบาหวาน
101
2. สถานการณโรคเบาหวาน
102
3. การดูแลรักษาโรคเบาหวานในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
103
4. กรณีศึกษาของโรงพยาบาลชุมชนที่มีการดูแลรักษาโรคเบาหวาน
106
ดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน
กรณีศึกษาที่ 1 โรงพยาบาลเทิง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
107
กรณีศึกษาที่ 2 โรงพยาบาลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว 110
กรณีศึกษาที่ 3 โรงพยาบาลกุดชุม อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
113
กรณีศึกษาที่ 4 โรงพยาบาลหวยแถลง อำเภอหวยแถลง
115
จังหวัดนครราชสีมา
กรณีศึกษาที่ 5 ศูนยสุขภาพชุมชนตาป จังหวัดสุราษฎรธานี
115
บทที่ 6 แนวทางการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน
121
ในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน
1. ดานนโยบาย
122
2. ดานปฏิบัติการ
123
3. ดานวิชาการ
124

ฉ
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

หนา
129
143

บรรณานุกรม
ภาคผนวก 1
รายงานการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานวิจัยสมุนไพร เพื่อรักษา
โรคเบาหวาน (28 พฤษภาคม 2552) รองศาสตราจารยรุงระวี เต็มศิริกฤษกุล
ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาคผนวก 2
151
รายงานการสัมมนาระดมสมอง เรื่อง การดูแลผูปวยเบาหวาน
ดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน
ภาคผนวก 3
160
แบบสัมภาษณ

ช
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

สารบัญภาพ
รูปภาพที่ 1
รูปภาพที่ 2
รูปภาพที่ 3
รูปภาพที่ 4
รูปภาพที่ 5
รูปภาพที่ 6
รูปภาพที่ 7
รูปภาพที่ 8
รูปภาพที่ 9
รูปภาพที่ 10
รูปภาพที่ 11
รูปภาพที่ 12
รูปภาพที่ 13
รูปภาพที่ 14
รูปภาพที่ 15
รูปภาพที่ 16
รูปภาพที่ 17
รูปภาพที่ 18
รูปภาพที่ 19
รูปภาพที่ 20
รูปภาพที่ 21

ซ

หนา
กลุมผูปวยเบาหวาน
11
กลุมผูปวยเบาหวาน
11
กลุมผูปวยเบาหวาน
15
ยาสมุนไพรเดี่ยวรักษาเบาหวาน
18
ยาสมุนไพรแฮมรักษาเบาหวาน
25
คุณสุภาณี อภิญญากุล ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดนครศรีธรรมราช 27
คุณนอม ทองทา ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดสระแกว
29
คุณธีรารัตน สิทธิยศ ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดเชียงราย
31
หมอพื้นบานรักษาเบาหวานดวยยาสมุนไพรพื้นบาน
47
ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน
47
หมอนวล พิชคำ หมอสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน
50
ยาสมุนไพรพื้นบานของหมอนวล พิชคำ
50
หมอสายยน ใหญกระโทก หมอสมุนไพร จังหวัดสระแกว
55
ยาสมุนไพรพื้นบานของหมอสายยน ใหญกระโทก
55
หมอคำปุน มุละสีวะ หมอสมุนไพรรักษาเบาหวาน
58
ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวานของหมอคำปุน มุละสีวะ
58
ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน
60
ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน
60
กะเพรา
68
68
ใบกะเพรา
ชาพลู
70
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

รูปภาพที่ 22
รูปภาพที่ 23
รูปภาพที่ 24
รูปภาพที่ 25
รูปภาพที่ 26
รูปภาพที่ 27
รูปภาพที่ 28
รูปภาพที่ 29
รูปภาพที่ 30
รูปภาพที่ 31
รูปภาพที่ 32
รูปภาพที่ 33
รูปภาพที่ 34
รูปภาพที่ 35
รูปภาพที่ 36
รูปภาพที่ 37

ใบชาพลู
ตำลึง
ใบแกของตำลึง
บอระเพ็ด
เถาบอระเพ็ด
มะตูม
มะระขี้นก
ผลสดของมะระขี้นก
อินทนิลน้ำ
ใบอินทนิลน้ำ
ตนอบเชย
เปลือกอบเชย
แกนของแฮม
ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน
กลุมผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลชุมชนเทิง จังหวัดเชียงราย
ยาสมุนไพรแบบตำรับรักษาเบาหวาน
โรงพยาบาลชุมชนเทิง จังหวัดเชียงราย
รูปภาพที่ 38 โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว
มีการใชแพทยแผนไทยรักษาเบาหวาน
รูปภาพที่ 39 ยาสมุนไพรตำรับรักษาเบาหวาน
โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว
รูปภาพที่ 40 ยาชงชาพลูรักษาเบาหวานของ โรงพยาบาลชุมชนกุดชุม

หนา
70
73
73
75
75
77
79
79
82
82
84
84
87
94
108
108
111
111
113

ฌ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ตารางแสดงงานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับลักษณะการใชและ
ชนิดของสมุนไพร/ยาจากสมุนไพร เพื่อการดูแลตนเองแบบเสริม
ในผูปวยเบาหวาน 7 เรื่อง

ญ

หนา
19
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

คำเกริ่นนำ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย มีภารกิจในการสรางองคความรูภูมิปญญาการแพทย
พื้นบาน สงเสริมและประยุกตใชภูมิปญญาการแพทยพื้นบานไดอยางมีประสิทธิผลและ
ปลอดภัยเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพและความเจ็บปวยของคนไทย และใน พ.ศ. 2552 ไดมี
การดำเนินงานโครงการสงเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการและดูแลสุขภาพชุมชนดวย
ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน โดยมีการจัดการความรูและสงเสริมการปฏิบัติการเกี่ยวกับ
ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน 4 เรื่อง คือ การดูแลรักษาอัมพฤกษ อัมพาต สัตวพิษกัด
–งู กั ด โรคเบาหวาน และการดู แ ลสุ ข ภาพแม แ ละเด็ ก สำหรั บ รายงานการศึ ก ษานี้ เ ป น
การจัดการความรูในโครงการเรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทย
พื้นบาน วัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาและวิเคราะหภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแล
โรคเบาหวาน สถานการณในการประยุกตใชภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแลรักษา
โรคเบาหวาน และเพื่อจัดทำขอเสนอแนะ/แนวทางในการประยุกตใชในอนาคต โดยมี
การศึกษา 2 วิธี คือ การทบทวนวรรณกรรมและการศึกษาเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา
4 จังหวัดใน 4 ภูมิภาค ผลการศึกษานี้จำแนกเปน 5 สวน ประกอบดวย
สวนที่ 1 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่นการแพทยพื้นบานของ
ภาคประชาชน
สวนที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน
สวนที่ 3 การป อ งกั น และการดู แ ลรั ก ษาโรคเบาหวานด ว ยภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น /
การแพทยพื้นบานในเครือขายการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
สวนที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มีสรรพคุณรักษา
โรคเบาหวาน
สวนที่ 5 ขอเสนอแนะเพื่อประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการ
ดูแลรักษาโรคเบาหวาน

ฎ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

ผลการศึกษาครั้งนี้ทำใหเห็นถึงสถานการณที่ผูปวยเบาหวานประยุกตใชภูมิปญญา
การแพทยพื้นบานในการดูแลรักษาตนเอง อันเปนการแสวงหาทางเลือกในการดูแลความ
เจ็บปวยของตนเอง และไดตระหนักวา ประเทศไทยยังคงมีหมอไทยและหมอพื้นบานเปนที่
พึ่งดานสุขภาพของผูปวยเบาหวาน ตลอดจนศักยภาพของพืชสมุนไพรจำนวนมากที่ถูกใช
ในการดูแลและรักษาโรคเบาหวานผานระบบบริการสุขภาพแบบปฐมภูมิ หมอไทยและ
หมอพื้นบาน งานศึกษาที่เปนจุดเริ่มตนในการจัดการความรู และหากมีการทำงานที่ตอเนื่อง
องคความรูจะไดรับการพัฒนาตอยอดที่ชัดเจนมากขึ้นและจะเปนประโยชนตอผูปวย
เบาหวานตอไป
คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ที่สนับสนุนทุนการศึกษาครั้งนี้ และขอขอบพระคุณไปยังหองสมุดของหนวยงานภาครัฐ
และสถาบันการศึกษาที่สนับสนุนการศึกษา ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และผูปฏิบัติ
งานดานการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลชุมชน 3 แหง คือ โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัด
ยโสธร โรงพยาบาลวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว โรงพยาบาลเทิง จังหวัดเชียงราย และ
ศูนยสุขภาพชุมชนตาป จังหวัดสุราษฎรธานี หมอพื้นบานทุกทาน ผูปวยเบาหวาน และ
ขอขอบพระคุณสำหรับความคิดเห็นทางวิชาการของ รองศาสตราจารยรุงรวี เต็มศิริฤกษกุล
คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล อันทำใหผลการศึกษาครั้งนี้สมบูรณ และรอบดาน
มากขึ้น
รุจินาถ อรรถสิษฐ

ฏ
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

บทคัดยอสำหรับผูบริหาร
การศึกษา เรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบานมี
วัตถุประสงค 3 ขอ คือ (1) เพื่อศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานไทยในการดูแล
รักษาโรคเบาหวาน (2) เพื่อทบทวนและวิเคราะหสถานการณการผสมผสานและประยุกตใช
ภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการปองกันและดูแลรักษาโรคเบาหวาน และ (3)
เพื่อจัดทำแนวทางประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการปองกันและดูแล
รักษาโรคเบาหวาน ดำเนินงานในเดือนมีนาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2552 วิธีการศึกษามีการ
ทบทวนวรรณกรรม การสั ม ภาษณ ภ าคสนามเพื่ อ ศึ ก ษาสถานการณ ก ารดู แ ลรั ก ษา
โรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน 6 จังหวัด/ 4 ภูมิภาค การจัดเวที
เสวนาและการวิเคราะหจัดทำเปนรายงานการศึกษา
ผลการศึกษาจำแนกเปน 5 สวน คือ
สวนที่ 1 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน
ของภาคประชาชน
สังคมไทยมีแนวโนมของอัตราปวยจากโรคเบาหวานสูงอยางตอเนื่อง จากการ
สำรวจสภาวะสุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชนในการตรวจร า งกาย ครั้ ง ที่ 3 พบว า ในป
พ.ศ. 2547 จำนวนผูปวยเบาหวานในประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป เทากับ 3.2 ลานคน
ผูปวยเบาหวานรอยละ 48.54 ไดรับการวินิจฉัยและรักษาโรค และผูปวยเบาหวานรอยละ
12 ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไดดี ขณะที่ผูปวยสวนใหญควบคุมระดับน้ำตาลไมไดและ
มีภาวะแทรกซอน สำหรับกลุมเสี่ยงตอภาวะเบาหวานมีจำนวน 1.8 ลานคน ปจจัยเสี่ยงคือ
การสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ไมบริโภค
ผั ก และผลไม ขาดการออกกำลั ง กาย การสำรวจกลุ ม เสี่ ย งยั ง ไม มี ก ารสำรวจลึ ก ถึ ง
พฤติก รรมเสี่ ย งและป จ จัยเสี่ยง และนำขอมูลมาพัฒนาเปนโครงการดานการปอ งกัน
เบาหวานอยางตอเนื่อง

ฐ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

ผูปวยเบาหวานมีความเชื่อดานสาเหตุ ดานปจจัยเสี่ยงและดานอาการโรคสอดคลอง
กับขอเท็จจริงทางการแพทยแผนปจจุบัน สำหรับการรักษาโรค ผูปวยสวนใหญมีความเชื่อ
ตอ การรั ก ษาโรคของการแพทย แผนปจจุบั นและยังคงเชื่อ วา สมุ นไพรและของรสขม
สามารถรักษาเบาหวานได ผูปวยเบาหวานมีการแสวงหาและการดูแลรักษาสุขภาพแบบ
ผสมผสาน โดยการใชระบบการแพทยแผนปจจุบันรวมกับระบบการดูแลรักษาสุขภาพแบบ
สามัญชน (popular health care) จากงานศึกษาวิจัยพบวา ผูปวยเบาหวานประมาณ
ร อ ยละ 40 โดยเฉลี่ ย มี ก ารใช ส มุ น ไพร ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหาร ยาจี น และการแพทย
ทางเลือกแบบอื่นควบคูกับการใชการแพทยแผนปจจุบัน ปจจัยที่สงผลตอการใชสมุนไพร
ของผูปวยเบาหวานมี 9 ปจจัย คือ (1) แรงสนับสนุนจากครอบครัวและเครือขายผูปวย
เบาหวาน (2) ลักษณะความเจ็บปวย (3) ประสบการณการใชยาของผูปวย (4) การรับรูและ
ความเชื่อเกี่ยวกับโรค การรักษาโรคและวิธีการรักษาโรคแบบอื่น (5) ทัศนคติตอการใช
สมุนไพร (6) อายุและระดับการศึกษาของผูปวย (7) เขตที่อยูอาศัยหรือระยะทางจากบาน
ถึงแหลงประโยชน (8) ระยะเวลาที่เปนโรค และ (9) ประสิทธิภาพของยาในการประเมินของ
ผูปวย
ผูปวยเบาหวานมีการใชสมุนไพร 2 ลักษณะ คือ การใชสมุนไพรเดี่ยวและการใช
สมุนไพรแบบตำรับ ตัวอยางสมุนไพรเดี่ยว คือ ฟาทะลายโจร บอระเพ็ด ลูกใตใบ เตย
หญาหนวดแมว หนุมานประสานกาย อินทนิล ตะไคร ไมยราบ พังพวย ชาพลู ครอบฟนสี
มะแวงตน มะแวงเครือ สัก ตำลึง มะยม กาฝากมะมวง แฮม และวานง็อก สวนสมุนไพร
แบบตำรับมีสมุนไพรหลายชนิด องคประกอบของสมุนไพรมียาสมุนไพรหลายกลุม เชน
กลุมสมุนไพรลดน้ำตาลในเลือด กลุมสมุนไพรบำรุงรางกาย กลุมสมุนไพรแกน้ำเหลืองเสีย
กลุมสมุนไพรขับปสสาวะ ปสสาวะพิการ ไตพิการ เปนตน โดยใชรูปแบบยา มียาตม
ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาผง
แหลงยาสมุนไพร คือ ผูปวยเบาหวานปลูกและเตรียมยาดวยตนเอง หมอพื้นบาน
หมอแผนไทย (หมอไทย) รานขายยาแผนโบราณ หมอพระ รานขายยาเร และโรงพยาบาล
ชุมชน คาใชจายเฉลี่ยต่ำกวา 100 บาท/ครั้ง และผลการใชสมุนไพรจากการประเมินของ
ผูปวยเบาหวาน คือ ผลตอโรคเบาหวาน หรือ ลดน้ำตาลในเลือด ผลตอรางกาย และผลตอ
จิตใจและมีผูปวยบางสวนมีอาการผิดปกติจากการใชสมุนไพร

ฑ
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

นอกจากนี้ จากการศึกษาผูปวยเบาหวานตนแบบในการดูแลรักษาตนเอง 5 ราย
พบวา ผูปวยเบาหวานตนแบบทั้ง 5 ราย มีสุขภาพดีและสามารถควบคุมระดับน้ำตาลใน
เลือดใหเปนปกติไดยาวนานระยะหนึ่ง โดยการไดรับการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยยา
แผนปจจุบัน พรอมกับการดูแลสุขภาพตนเองในชีวิตประจำวัน และมีการปรับพฤติกรรม
สุขภาพดานบริโภคอาหาร ดานออกกำลังกายและดานจิตใจพรอมกัน อีกทั้งผูปวยเบาหวาน
บางรายมีการใชสมุนไพรรวมดวย
สวนที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน
จากการสำรวจของกรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก
ป พ.ศ. 2549 พบวา หมอยาพื้นบานที่รักษาโรคเบาหวานมีจำนวน 52 คน กระจายตัวอยูใน
ภาคเหนือ 27 คน ภาคอีสาน 24 คน และภาคกลาง 1 คน จากการทบทวนวรรณกรรมและ
ศึกษาภาคสนาม พบวา หมอพื้นบานสวนใหญที่รักษาผูปวยเบาหวานเปนหมอสมุนไพร
เปนผูที่มีประสบการณการรักษาโรคเบาหวานจากบรรพบุรุษหรือจากตำราใบลานของ
ครูหมอพื้นบาน หมอพื้นบานจะมีการเตรียมยาสมุนไพรไวที่บานเพื่อพรอมใหบริการ
หรือจำหนายใหกับผูปวยเบาหวาน หมอพื้นบานไมมีการอธิบายโรคตามทฤษฎีการแพทย
แผนไทย สวนใหญจะเรียกชื่อโรคเบาหวาน และรักษาผูปวยเบาหวานที่ผานการวินิจฉัยโรค
และรักษาโรคโดยแพทยแผนปจจุบันมาแลว หมอพื้นบานแตละคนมีการอธิบายสาเหตุของ
เบาหวานแตกตางกันอันเปนคำอธิบายที่มีที่มาจากบรรพบุรุษ การเรียนรูดวยตนเองและ
ผสมผสานกับความรูการแพทยแผนปจจุบัน หมอพื้นบานใชพืชสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน
และประกอบเปนตำรับยาสมุนไพรรักษาเบาหวาน แตละตำรับยาสมุนไพรมีสมุนไพรหลาย
ชนิ ด และมี 2 ลัก ษณะ คือ ตำรั บ ยารั กษาเบาหวาน และตำรับยารักษาแผลเบาหวาน
รูปแบบยามี ยาตม ยาผง ยาฝน ยาแคปซูลและยาลูกกลอน และยังมีขอหาม – ขอปฏิบัติ
สำหรับผูปวยเบาหวานดวย หมอพื้นบานมีการติดตามแบบไมเปนทางการ โดยอาจสอบถาม
จากผู ปวยหรือ ญาติ ผูป วยเบาหวานที่มารักษากับหมอพื้นบานเปนผูป วยที่รักษาด วย
ยาแผนปจจุบันแลว แตระดับน้ำตาลในเลือดยังไมสามารถควบคุมไดในระดับปกติ

ฒ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

สวนที่ 3 การปองกันและการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/
การแพทยพื้นบานในเครือขายการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
เครือขายการบริการสุขภาพปฐมภูมิ อันประกอบดวยโรงพยาบาลชุมชนและสถานี
อนามัย โรงพยาบาลชุมชนมีบทบาทการคัดกรองและการบำบัดเบาหวานระดับพื้นฐานโดย
ทีมสหวิชาชีพและสถานีอนามัยมีบทบาทคัดกรอง การปองกันและการเยี่ยมบาน นอกจากนี้
ยังมีการประสานงาน การรวมงาน และสงตอผูปวยระหวางโรงพยาบาลชุมชนและสถานี
อนามั ย เพื่ อ ให ง านต อ เนื่ อ งและมี คุ ณ ภาพ การดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ยเบาหวานใช แ นวทาง
เวชปฏิบัติของการแพทยแผนปจจุบันเปนหลัก อยางไรก็ตาม ยังมีความแตกตางที่ขึ้นกับ
ความพรอมและศักยภาพของโรงพยาบาล ศักยภาพของทีมสหวิชาชีพ และแนวทาง/
นโยบายเฉพาะของแตละพื้นที่ จากการสำรวจพบวา สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวน
30 – 60 แหง มีการใชยาสมุนไพรเดี่ยวและตำรับรักษาเบาหวาน และจากการสำรวจภาค
สนาม พบว า โรงพยาบาลชุ ม ชน 4 แห ง (โรงพยาบาลชุ ม ชนเทิ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย
โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว โรงพยาบาลชุมชนกุดชุม จังหวัดยโสธร และ
โรงพยาบาลชุมชนหวยแถลง จังหวัดนครราชสีมา) มีการผสมผสานภูมิปญญาทองถิ่น
(การแพทย แ ผนไทย/การแพทย พื้ น บ า น/การแพทย แ บบอื่ น ) ในการดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ย
เบาหวาน 2 ลักษณะ คือ (1) การดูแลรักษาผูปวยดวยภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก การแนะนำ
ความรูและทักษะของภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน (อาหาร
พื้นบาน อาหารตามธาตุ การทำสมาธิ การสวดมนต โยคะ ชี่กง ดนตรีพื้นเมือง) การใช
สมุนไพรแบบเดี่ยวและแบบตำรับเพื่อเสริมการรักษา และรักษาภาวะแทรกซอนของผูปวย
เบาหวาน การใชสมุนไพรและการนวดในการดูแลเทา และ (2) การสงเสริมสุขภาพของกลุม
เสี่ยงตอเบาหวาน มีการแนะนำและฝกอบรมความรูและทักษะในการปรับสมดุลของชีวิต มี
เนื้อหาเกี่ยวกับ ขาวกลอง อาหารสมุนไพร อาหารตามธาตุ ผักพื้นบาน สมาธิ โยคะ การออก
กำลังกาย สำหรับการใชวิธีการรักษาโรคแบบเสริมในผูปวยเบาหวานยังไมมีการเก็บขอมูล
อยางเปนระบบจึงยังไมสามารถยืนยันผลไดอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม การดูแลรักษา
ผูปวยเบาหวานดวยการใชการแพทยแผนไทยและการแพทยพื้นบาน ทำใหผูปวยมีทาง
เลือกในการรักษาเบาหวานทำใหผูปวยมีความพึงพอใจ สงผลดีตอรางกายและจิตใจ และ
สงเสริมการดูแลตนเองของผูปวย

ณ
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

สวนที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มีสรรพคุณ
รักษาโรคเบาหวาน
ในชวงเวลาราว 10 ปที่ผานมา สังคมไทยไดมีการริเริ่มและงานศึกษาวิจัยเพื่อ
การยืนยันและตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาพื้นบานในการรักษาโรคเบาหวาน
ประกอบดวยงานวิจัยสมุนไพรเดี่ยว ยาสมุนไพรตำรับและขาวที่มีสรรพคุณรักษาโรค
เบาหวาน จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา สมุนไพรพื้นบานที่มีการใชรักษาโรคเบาหวาน
มีจำนวนตั้งแต 50 - กวา 1,000 ชนิด งานวิจัยเชิงทดลองเพื่อพิสูจนฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด
ของสมุดไพรเดี่ยวมีการวิจัยอยางตอเนื่องทั้งในและตางประเทศ พบวาพืชสมุนไพรกวา
50 ชนิ ด มี ส รรพคุ ณ ลดน้ ำ ตาลในเลื อ ด ตั ว อย า งเช น ตำลึ ง แตงไทย แตงกวา ช า พลู
มะระขี้นก อินทนิลน้ำ อบเชย เปนตน งานวิจัยสวนใหญเปนการศึกษาดานเภสัชวิทยาใน
สั ต ว ท ดลองและการศึ ก ษาความเป น พิ ษ อย า งไรก็ ต ามงานศึ ก ษาวิ จั ย สมุ น ไพรเดี่ ย ว
เพื่อพัฒนาเปนยารักษาโรคเบาหวานยังไมมีความกาวหนามากพอที่จะผลิตเปนยารักษาโรค
เบาหวานที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยสำหรับประชาชน มีเพียงผลิตภัณฑ
อบเชยแคปซูลซึ่งเปนผลิตภัณฑขององคการเภสัชกรรมที่ชวยบำรุงสุขภาพและชวยควบคุม
ระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผูปวยเบาหวาน งานวิจัยตำรับยาสมุนไพรเพื่อศึกษาสรรพคุณ
ลดน้ำตาลในเลือด มี 2 เรื่อง และเปนงานเภสัชวิทยาในสัตวทดลอง นอกจากนี้ ยังมีงาน
วิจัยเกี่ยวกับการบริโภคขาว พบวา การบริโภคขาวเจาดีตอสุขภาพของผูปวยเบาหวานมาก
กวาขาวเหนียว และศึกษาพัฒนาสายพันธุขาวสินเหล็กที่สงผลดีตอสุขภาพของผูปวย
เบาหวาน
ส ว นที่ 5 ข อ เสนอแนะสำหรั บ การประยุ ก ต ใ ช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น /การแพทย
พื้นบานในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน
จากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ท ำให เ ห็ น ถึ ง สถานะของภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และภู มิ ป ญ ญา
พื้นบานที่มาชวยเสริมกระบวนการปองกันและรักษาโรคเบาหวาน โดยมีประโยชนใน
การประยุกตใชทั้งการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน และการสงเสริมสุขภาพของกลุม
เสี่ยงอันจะเปนการดูแลรักษาสุขภาพระยะยาวดวย

ด
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

สำหรั บ แนวทางและข อ เสนอแนะเพื่ อ การประยุ ก ต ใ ช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และ
ภูมิปญญาพื้นบานในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน จำแนกเปน 3 ดาน คือ ดานนโยบาย
ดานปฏิบัติการ และดานวิชาการ มีรายละเอียดดังนี้
1. ดานนโยบาย
1.1 หนวยงานดานนโยบาย ควรสำรวจถึงภาพรวมของการใชการแพทยแบบ
เสริมของผูปวยเบาหวาน และมีกลไกการสนับสนุนและสงเสริมการแพทย
แบบเสริม (การแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือก)
ใหมีคุณภาพและความปลอดภัยสำหรับการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน
และการปองกันโรคเบาหวาน
1.2 หนวยงานทุนวิจัย ควรมีนโยบายสนับสนุนทุนวิจัยในประเด็นการดูแลรักษา
โรคเบาหวานด ว ยการแพทย แ บบเสริ ม / การใช ส มุ น ไพรร ว มกั น กั บ
การแพทยแผนปจจุบัน และการศึกษาสรรพคุณและความปลอดภัยของ
สมุนไพรเดี่ยว / สมุนไพรตำรับในการรักษาโรคเบาหวาน อันจะเปนการหา
ทางเลือกใหมในการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานและเปนการสงเสริมการ
พึ่งตนเองดานสุขภาพของสังคมไทย
2. ดานปฏิบัติการ
2.1 ที ม สุ ข ภาพควรสร า งเสริ ม ปฏิ สั ม พั น ธ แ บบเข า ใจและเท า เที ย มกั น ใน
กระบวนการดูแลสุขภาพของผูปวยเบาหวาน ผูปวยทุกคนควรไดรับความ
เขาใจ การชวยเหลือและพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพตนเองทั้งแบบบุคคล
และแบบกลุม (อาจพัฒนาเปนชุดการเรียนรูเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองของ
ผู ป ว ยเบาหวานแบบองค ร วม-ทุ ก มิ ติ ) หากผู ป ว ยเบาหวานไม ส ามารถ
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได ทีมสุขภาพจำเปนตองรวมกับผูปวยและ
ครอบครัวในการวิเคราะห และชวยสรางปจจัยเงื่อนไขเพื่อใหผูปวยไดเพิ่ม
ศักยภาพในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น
2.2 ที ม สุ ข ภาพควรสร า งความเข า ใจต อ ความเชื่ อ การดู แ ลตนเองและการ
ประเมิ น ผลในมุ ม มองของผู ป ว ยเบาหวาน (โดยเฉพาะข อ มู ล การใช
การแพทยแบบเสริม/การใชสมุนไพรรวมกับการแพทยแผนปจจุบัน) เพื่อให

ต
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

คำแนะนำและคำปรึกษาตอผูปวยไดอยางเหมาะสมกับสถานการณผูปวย
เบาหวานแตละคน
2.3 ทีมสุขภาพในระดับเครือขายบริการสุขภาพปฐมภูมิควรมีการแลกเปลี่ยน
ประสบการณและจัดการความรูภายในทีมเมื่อ เรียนรูร วมกัน และปรับ
กระบวนการดูแลรักษาผูปวยเบาหวานใหเหมาะสมกับสถานการณปญหา
จริง และสังคมวัฒนธรรม
2.4 ทีมสุขภาพควรมีการศึกษาขอมูลการใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทย
พื้นบาน ของผูปวยเบาหวานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทั้งศึกษาติดตามการ
เปลี่ยนแปลงดานประสิทธิผลและความปลอดภัย (ผลขางเคียง) ในการดูแล
สุขภาพของผูปวยเบาหวาน
2.5 ทีมสุขภาพควรมีการศึกษาและติดตามงานวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพร ผลิตภัณฑ
สมุนไพร ผลิตภัณฑอาหารเสริมที่มีผลตอโรคเบาหวาน พรอมทั้งติดตาม
ความก า วหน า เพื่ อ เป น แหล ง ประโยชน แ หล ง หนึ่ ง ของผู ป ว ยเบาหวาน
รวมทั้งใหการแนะนำขอมูลและวิธีใชที่เหมาะสมกับผูปวยเบาหวานได
3. ดานวิชาการ
3.1 หนวยงาน/สถาบันวิชาการควรมีการรวบรวม วิเคราะหและจัดการความรู
เกี่ ย วกั บ สมุ น ไพรที่ มี ส รรพคุ ณ ดู แ ลรั ก ษาโรคเบาหวาน (ลดน้ ำ ตาล
ในเลือด) และความปลอดภัยอยางเปนระบบและตอเนื่อง ใหกลายเปน
องคความรูที่ใชประโยชนไดจริงในภาคปฏิบัติและภาคนโยบาย และสื่อสาร
องค ค วามรู ดั ง กล า วไปยั ง กลุ ม ผู ป ว ยเบาหวาน ที ม สุ ข ภาพภาครั ฐ และ
ภาคเอกชน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับโรคเบาหวาน
3.2 หนวยงาน/สถาบันทางวิชาการควรมีการสำรวจภาพรวมทั่วประเทศและ
ศึกษาวิจัยเชิงลึกเพื่อใหเขาใจถึงสถานการณของการใชการแพทยแบบเสริม
ของผู ป วยเบาหวาน และมี ข อเสนอแนะเชิ งนโยบายเพื่ อ หนุ นเสริ มและ
สนับสนุนการแพทยแบบเสริม และ/หรือ ภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทย
พื้นบาน ใหเปนทางเลือกที่มีคุณภาพและปลอดภัยสำหรับผูปวยเบาหวาน

ถ
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

3.3 จากการศึกษาครั้งนี้ พบวาผูปวยสวนใหญไมสามารถควบคุมระดับน้ำตาล
ในเลื อ ดได แ ละมี ผู ป ว ยเบาหวานบางส ว นรั ก ษาเบาหวานโดยการใช ย า
สมุนไพร ผลิตภัณฑยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑอาหารเสริมรวมกับ
ยาแผนปจจุบัน จากแหลงประโยชนหลายแหลงในชุมชน หนวยงาน/สถาบัน
ทางวิ ช าการ ควรร ว มมื อ กั บ หน ว ยงานปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ศึ ก ษาวิ จั ย ด า น
สรรพคุณการลดน้ำตาลในเลือด หรือสรรพคุณอื่นที่ดีตอผูปวยเบาหวาน
(การฟนฟูสมรรถนะตับออน การลดระดับคลอเลสเตอรอล การเพิ่มการ
ไหลเวียนของเลือด ฯลฯ) และความปลอดภัย โดยควรใหความสำคัญกับ
งานวิจัยแบบบูรณาการหรือแบบครบวงจรอาจเริ่มจากงานวิจัยทางคลินิก
เบื้องตน จากสมุนไพรแบบเดี่ยว/สมุนไพรแบบตำรับที่มีการใชในหนวยงาน
บริการสุขภาพปฐมภูมิปจจุบัน หรืออาจเริ่มจัดการความรูเชิงปฏิบัติการจาก
ผู ป ว ยเบาหวานต น แบบหรื อ กลุ ม ช ว ยเหลื อ กั น เองของผู ป ว ยเบาหวาน
เพื่ อ พั ฒ นาเป น องค ค วามรู เ บื้ อ งต น จากนั้ น จึ ง ขยายผลไปสู ง านวิ จั ย
แบบบูรณาการตอไป

ท
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

บทนำ

1
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

2
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

บทที่ 1
บทนำ
1. หลักการและเหตุผล

ภาวะเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เปนโรคในกลุมเมตาบอลิก (Metabolic
syndrome) เปนปญหาสุขภาพที่สำคัญ และเปนภาวะคุกคามตอในสุขภาวะของประชาชน
ไทยมากขึ้นทุกป สถิติสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 – 2548 แสดง
จำนวนและอัตราปวยของผูปวยเบาหวานของประเทศทั้งกรณีผูปวยนอกและผูปวยในที่
เพิ่มขึ้นทุกป และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีก โดยมีอัตราปวยของผูปวยในเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เทา
และพบวาอัตราการตายเนื่องจากโรคเบาหวานก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นดวย จาก 7.46 ตอ
ประชากรแสนคนใน พ.ศ. 2540 เปน 10.59 ตอประชากรแสนคนใน พ.ศ. 2546 สังคมไทย
ตองเผชิญกับภาระคาใชจายดานสุขภาพที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง นับเปนสถานการณสำคัญที่มี
ความจำเปนตองแสวงหาทางเลือก เพื่อลดภาระคาใชจายดังกลาว การแพทยพื้นบานเปนอีก
ทางเลือกหนึ่งที่ยังมีบทบาทสำคัญในการดูแลความเจ็บปวยในชุมชนอยูทั่วทุกภูมิภาค
หากมีการศึกษาสถานะองคความรูภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานเกี่ยวของกับ
โรคเบาหวาน ทั้งการศึกษาสถานการณการวิจัยที่เกี่ยวของ การจัดการความรูเรื่องเบาหวาน
ดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ การจัดการความรู
เรื่องเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานของภาคีเครือขายชุมชน รวมถึง
การใชยาพื้นบาน สมุนไพรทองถิ่น ผักและอาหารพื้นบานในการดูแลผูปวยเบาหวาน จะนำ
มาสูแนวทางในการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน ดูแลผูปวยเบาหวาน
อยางถูกตองและมีประสิทธิผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยตอไป

3
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

ดังนั้น โครงการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ไดมีการ
วิ เ คราะห ส ถานการณ เ บื้ อ งต น และเห็ น ความจำเป น ที่ ต อ งมี ก ารศึ ก ษาวิ เ คราะห แ ละ
สังเคราะหองคความรูและสถานการณการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/
การแพทยพื้นบาน เพื่อใชประโยชนในการสงเสริมสุขภาพชุมชนดวยภูมิปญญาการแพทย
พื้นบานในโอกาสตอไป

2. วัตถุประสงค

(1) เพื่อศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานไทย เกี่ยวกับโรคเบาหวาน
(2) เพื่ อ ทบทวนและวิ เ คราะห ส ถานการณ ก ารผสมผสานและการประยุ ก ต ใ ช
ภูมิปญญาทองถิ่น/ การแพทยพื้นบานในการปองกันและการดูแลรักษาโรคเบาหวาน
(3) เพื่อจัดทำขอเสนอแนวทางการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน
ในการปองกันดูแลรักษาโรคเบาหวาน

3. วิธีการศึกษา

โครงการเรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน มีวิธีการ
ศึกษาและดำเนินงานดังนี้
(1) การพั ฒ นาโครงการ จากการประชุ ม ศึ ก ษาและแลกเปลี่ ย นร ว มกั น กั บ
ผู อ ำนวยการสำนั ก การแพทยพื้นบานไทย (คุณเสาวณีย กุลสมบูรณ) และทีมงานผูรับ
ผิ ด ชอบโครงการส ง เสริ ม และพั ฒ นากระบวนการจั ด การและดู แ ลสุ ข ภาพชุ ม ชนด ว ย
ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน เฉพาะกรณีโรคเบาหวาน จำนวน 3 ครั้ง และพัฒนาเปน
โครงการ เรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน
(2) รวบรวมและทบทวนวรรณกรรม งานวิ จั ย งานวิ ท ยานิ พ นธ และบทความ
วิชาการ/นิพนธตนฉบับ ในประเด็นการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/
การแพทยพื้นบาน จากหองสมุดหนวยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา 7 แหง จำแนกเปน
หองสมุดสถาบันวิจัยแหงชาติ จำนวน 8 ครั้ง
หองสมุดของกรมวิทยาศาสตรการแพทย จำนวน 3 ครั้ง
หองสมุดของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข จำนวน 1 ครั้ง

4
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

หองสมุดของกรมควบคุมโรค จำนวน 2 ครั้ง
ห อ งสมุ ด ของกรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก
จำนวน 1 ครั้ง
หองสมุดกรมการแพทย จำนวน 1 ครั้ง
หองสมุดคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 ครั้ง
(3) ทบทวนเรียบเรียงสถานการณเบื้องตนเกี่ยวกับการปองกันและดูแลรักษาโรค
เบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน
(4) จัดทำเครื่องมือการสัมภาษณ เพื่อใชในการสัมภาษณผูรู / ผูปฏิบัติงานที่มี
ประสบการณการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน จำนวน
4 ชุด จำแนกเปน
ชุดที่ 1 แบบสัมภาษณผูรับผิดชอบงานการแพทยแผนไทย ในเครือขายบริการ
สุขภาพปฐมภูมิ
ชุดที่ 2 แบบสัมภาษณหมอพื้นบานที่มีประสบการณการรักษาโรคเบาหวาน
ชุดที่ 3 แบบสัมภาษณกลุมผูปวยเบาหวานที่มีประสบการณการใชสมุนไพร
ชุดที่ 4 แบบสัมภาษณกลุมเสี่ยงตอเบาหวาน
(5) สัมภาษณผูชำนาญ / ผูรู / ผูปฏิบัติงานที่มีความรูและประสบการณ การดูแล
รักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน หมอพื้นบาน ผูปวย /
กลุมเสี่ยงตอโรคเบาหวานในพื้นที่ 6 อำเภอ 6 จังหวัด ใน 4 ภูมิภาค มีรายละเอียด
อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี
อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว
อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
และสั ม ภาษณ ผู ช ำนาญและมี ป ระสบการณ ง านวิ จั ย ยาสมุ น ไพรเพื่ อ รั ก ษาโรค
เบาหวาน 1 ราย คื อ รองศาสตราจารย รุ ง ระวี เต็ ม ศิ ริ ฤ กษ กุ ล คณะเภสั ช ศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
(6) จัดเวทีสัมมนาเพื่อตรวจสอบสถานการณและขอมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ทางวิชาการและระดมความคิดเห็น / ขอเสนอแนะ เพื่อจัดทำแนวทางประยุกตใชภูมิปญญา
ทองถิ่น / การแพทยพื้นบานในการดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน 1 ครั้ง มีผูเขารวมสัมมนา

5
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

20 คน

(7) จัดทำรายงานการศึกษา เรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการ
แพทยพื้นบานฉบับสมบูรณ

4. ผลที่คาดวาจะไดรับ

ผลผลิตของโครงการตองการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทย
พื้นบานจะนำไปใชประโยชนในการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานใน
งานปองกัน และดูแลรักษาโรคเบาหวานของหนวยบริการสุขภาพปฐมภูมิ อีกทั้งเปนการ
จัดการความรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน อันจะ
นำไปใชประโยชนในวงกวางตอไป

6
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

การดูแลรักษาโรคเบาหวาน
ดวยภูมิปญญาทองถิ่น /
การแพทยพนบานของภาคประชาชน
ื้

7
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

8
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

บทที่ 2
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น /
การแพทยพนบานของภาคประชาชน
ื้
ผูปวยเบาหวานตองเผชิญกับภาวะความเจ็บปวยเรื้อรังและยาวนาน สงผลตอการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต และมีความยากลำบากในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตที่แตกตาง
กัน อาจกลาวไดวา ผูปวยเบาหวานเปนบุคคลสำคัญในกระบวนดูแลรักษาความเจ็บปวย
ผสมผสานกับการหนุนเสริมของทีมสหวิชาชีพดานสุขภาพ ดังนั้น ระบบการดูแลรักษา
ผูปวยเบาหวานจำเปนตองเรียนรู และทำความเขาใจตอผูปวยเบาหวาน เพื่อสรางและ
พั ฒ นาปฏิ สั ม พัน ธ กั บ ผูป ว ยเบาหวานอยา งเหมาะสม ตลอดจนพัฒ นาคำแนะนำ หรือ
ชุ ด การดูแลรักษาโรคเบาหวานไดสอดคลองถูกตอง และเหมาะสมกับผูปวยเบาหวานใน
สังคมวัฒนธรรมทีแตกตางกัน ผูปวยเบาหวานมีความเชือ มุมมองการแสวงหา และพฤติกรรม
่

่
การดูแลตนเองโดยใชภมปญญาทองถิน / การแพทยพนบาน ดังรายละเอียดตอไปนี้
ูิ
่
ื้

1. ความเชื่อและความตองการของผูปวยโรคเบาหวาน

จากสถานการณ ก ารสำรวจสภาวะสุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชนโดยการตรวจ
รางกายครั้งที่ 3 ในปพ.ศ. 2547 พบวา ประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป เปนเบาหวานรอยละ
6.9 หรือประมาณ 3.2 ลานคน และแนวโนมของการเปนเบาหวานเพิ่มขึ้นสูง ในจำนวน
ทั้งหมดนี้ ผูปวยเบาหวานประมาณครึ่งหนึ่ง ไมรูตัววาเปนเบาหวานมากอน และปริมาณ 3
ใน 4 ของผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนเบาหวาน แตยังคงควบคุมโรคไมได สำหรับผูปวย
เบาหวานที่ควบคุมโรคไดดีมีจำนวนรอยละ 12 และยังคงมีภาวะแทรกซอนจำนวนมาก จาก
งานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผูปวยเบาหวาน พบวาผูปวยเบาหวานสวนใหญไมรูตัววาตัวเองเปน

9
สำนักการแพทยพื้นบานไทย

โรคเบาหวาน และไมเคยรูจักเบาหวานมากอน บางสวนรูจักแตชื่อเบาหวาน แตไมรูกลไก
การเกิดโรค การปองกันและวิธีการรักษา และมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความเชื่อ และ
พฤติกรรมของผูปวยเบาหวาน ดังที่ ใยวรรณ ธนะมัย และคณะ (2547) ไดศึกษาความเชื่อ
ของผูปวยเบาหวาน พบวา ความเชื่อดานปจจัยเสี่ยงตอโรคเบาหวานของผูปวยเบาหวาน
สวนใหญ คือ ทุกคนมีโอกาสเปนโรคเบาหวานโดยเฉพาะคนที่ไมออกกำลังกาย อวน
มีอายุมากกวา 40 ป และผูที่มีประวัติในครอบครัวเปนเบาหวาน และดานสาเหตุของ
เบาหวาน เชื่อวา อาหารแปงและน้ำตาล อาหารมัน การละเลยตอสุขภาพ ความเครียด ความ
ผิดปกติของตับและตับออน ความดันโลหิตสูงลวนเปนสาเหตุของโรคเบาหวานได สวน
ความเชื่อที่วาเบาหวานเปนผลมาจากสิ่งเหนือธรรมชาติ (กรรม พระเจา และการผิดจารีต
ประเพณี) พบนอยมาก ผูวิจัยสรุปวาความเชื่อดานสาเหตุและดานปจจัยเสี่ยงตอโรค
เบาหวานสอดคลองกับขอเท็จจริงทางการแพทยแผนปจจุบัน นอกจากนี้ ยังไดศึกษาความ
เชื่อเกี่ยวกับอาการโรคและการรักษาโรค พบวา ความเชื่อดานอาการของโรคเบาหวานตรง
กับขอเท็จจริงทางการแพทย สำหรับประเด็นการรักษาเบาหวานดวยยา ผูปวยสวนใหญมี
ความเชื่อวา ยาแผนปจจุบันดีตอโรคเบาหวาน และยังเชื่อวาสมุนไพรและของรสขมรักษา
โรคเบาหวานได สมุนไพรที่เชื่อวา ไดผลดีในการรักษาเบาหวาน คือ ฟาทะลายโจรและเห็ด
หลินจือ และในประเด็นดานจิตใจ ผูปวยจำนวนหนึ่งมีความเชื่อทางลบวาเบาหวานทำให
ไมมีความสุขเทาคนปกติ ทำใหขาดความมั่นใจ รูสึกไรคา ทอแท หมดกำลังใจ รวมทั้งเชื่อวา
การทำงานผิดพลาดบอยเพราะโรคเบาหวาน งานวิจัยนี้เปนการเสนอมุมมองโรคเบาหวาน
ของผูปวย และเสนอวาบุคลากรทางการแพทยควรเคารพในความเชื่อของผูปวย และหาวิธี
การที่ทำใหทั้งสองฝายยอมรับซึ่งกันและกัน เพื่อผลการรักษาที่ดีที่สุด และมีการวางแผน
คำแนะนำ และวิธีการรักษาเบาหวาน โดยคำนึงถึงความเชื่อของผูปวยเบาหวาน

2. การแสวงหาทางเลือกเพื่อดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน

2.1 มุมมองและพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน
เมื่ อ ผู ป ว ยเบาหวานได รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว า เป น โรคเบาหวาน ผู ป ว ยจะได รั บ การ
ตรวจวัด และประเมินระดับน้ำตาลในเลือด การดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน จะไดรับการดูแล
รักษาโดยทีมสหวิชาชีพดานสุขภาพ ผูปวยจะไดรับการรักษาดวยการใชยาแผนปจจุบัน

10
การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน

และโปรแกรมสุขศึกษาหรือชุดแนะนำสำหรับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตามแนวทางการ
ดูแลรักษาเบาหวานของแตละโรงพยาบาล คำปรึกษาหรือคำแนะนำดานสุขภาพอาจเกิดขึ้น
ในระดับบุคคลหรือระดับกลุม โปรแกรมการดูแลสุขภาพเปนลักษณะทั่วไป และมีความ
ครอบคลุม 4 ดาน คือ พฤติกรรมการบริโภค / การควบคุมอาหาร พฤติกรรมการออกกำลัง
กาย พฤติกรรมการใชยา และติดตามการรักษาโรคดวยตนเอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
การปองกันและแกไขภาวะแทรกซอน จากการสำรวจการดูแลรักษาตนเองของผูปวย
เบาหวานในภาพรวม ผูปวยเบาหวานที่ควบคุมโรคเบาหวานไดดีมีจำนวนรอยละ 12 เทานั้น
และการเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมที่ ผู ป ว ยเบาหวานปฏิ บั ติ ไ ด ย ากลำบากมากที่ สุ ด คื อ
พฤติกรรมดานอาหาร และพฤติกรรมการออกกำลังกาย

ภาพที่ 1 กลุมผูปวยเบาหวาน

ภาพที่ 2 กลุมผูปวยเบาหวาน

การดูแลตนเองหรือการจัดการตนเอง (self – care management) ของผูปวย
เบาหวาน เปนการดูแลรักษาตนเองที่สัมพันธกับปจจัยภายในตนเอง และปจจัย / เงื่อนไข
ภายนอกของผูปวยเบาหวานอยางเปนพลวัต ตอเนื่องและไมตอเนื่อง อีกทั้งมีลักษณะ
เฉพาะของผูปวยเบาหวานแตละบุคคล จากงานวิจัยเชิงคุณภาพของ วรรณภา ศรีธัญรัตน
(อางในเทพ หิมะทองคำและคณะ : 2547) พบวา ปรากฏการณของการดูแลตนเองของ
ผูปวยเบาหวาน แบงระยะการดูแลตนเองเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะกอนและภายหลัง
ไดรับการวินิจฉัยโรค ระยะที่ 2 ระยะจัดการตนเอง และระยะที่ 3 ระยะจัดการดูแลตนเอง

11
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

More Related Content

What's hot

Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขUtai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
นางสาวเจนจิรา ไกรวรรณ์
นางสาวเจนจิรา   ไกรวรรณ์นางสาวเจนจิรา   ไกรวรรณ์
นางสาวเจนจิรา ไกรวรรณ์Jenjira Kraiwon
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยSMEfriend
 
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพpenpun
 

What's hot (20)

Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
นางสาวเจนจิรา ไกรวรรณ์
นางสาวเจนจิรา   ไกรวรรณ์นางสาวเจนจิรา   ไกรวรรณ์
นางสาวเจนจิรา ไกรวรรณ์
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
 
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
Hemodialysis Clinical Practice Recommendation 2014
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 

Viewers also liked

ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmap
ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmapผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmap
ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Utai Sukviwatsirikul
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาUtai Sukviwatsirikul
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...Utai Sukviwatsirikul
 
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adultsNice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adultsUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...Utai Sukviwatsirikul
 
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014Utai Sukviwatsirikul
 
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Utai Sukviwatsirikul
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าUtai Sukviwatsirikul
 
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECเส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECDNTMb Inc.
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmap
ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmapผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmap
ผังมโนทัศน์วิทยาศาสตร์ ประถม 1-3 +ป.3+239+dltvscip3+P1 3 mindmap
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...
 
Business model canvas
Business model canvasBusiness model canvas
Business model canvas
 
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adultsNice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
 
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
 
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
 
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
 
Lean 1
Lean 1Lean 1
Lean 1
 
กฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPPกฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPP
 
Tsuruha drugstore
Tsuruha drugstoreTsuruha drugstore
Tsuruha drugstore
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
 
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECเส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
Lean 5
Lean 5Lean 5
Lean 5
 
Business model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart bizBusiness model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart biz
 

Similar to การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔Puku Wunmanee
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน (20)

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
Colon cancer3
Colon cancer3Colon cancer3
Colon cancer3
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

  • 1.
  • 2. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน การดูแลรักษาโรคเบาหวาน ดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ภายใต โครงการสงเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการ และดูแลสุขภาพชุมชน ดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน โดย á¾·   á ¼ ¹ä ·  á Å Ð ¡ Ò Ã ¡Òà ¾·Â · Ò§ àÅ× Í ¡ ·Ã Ç § Ê Ò ¸ ÒóÊØ¢ ¡ÃÁ¾Ñ ²¹Ò ¡ÃÐ á สำนักการแพทยพื้นบานไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ก
  • 3. สำนักแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน การดู การแพทยพื้นบานไทย ที่ปรึกษา แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ นายแพทยสญชัย วัฒนา นายแพทยประพจน เภตรากาศ ผูเขียน รุจินาถ อรรถสิษฐ บรรณาธิการบริหาร เสาวณีย กุลสมบูรณ คณะบรรณาธิการ รุจินาถ อรรถสิษฐ พ.ท.หญิง สุวิไล วงศธีระสุต อรจิรา ทองสุกมาก สิริรักษ อารทรากร กมลทิพย สุวรรณเดช ภราดร สามสูงเนิน อรพินท ครุฑจับนาค จัดพิมพโดย สำนักการแพทยพื้นบานไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 0-2591-7808 Website : http://www.dtam.moph.go.th พิมพครั้งแรก เมษายน 2553 พิมพครั้งที่สอง พฤษภาคม 2554 สนับสนุนการจัดพิมพโดย กองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย พิมพที่ บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จำกัด ขอมูลทางบรรณานุกรม หอสมุดแหงชาติ รุจินาถ อรรถสิษฐ การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน กรุงเทพฯ บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จำกัด จำนวน 196 หนา 1. เบาหวาน 2. ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ISBN 978-616-11-0316-3 ข
  • 4. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน คำนำ การดูแลผูปวยเรื้อรังตองสนใจปญหาสุขภาพในหลายมิติ ทั้งกาย ใจ สังคม และ มิติทางจิตวิญญาณ เพราะผูที่เกี่ยวของ อันประกอบดวยผูปวย ญาติ แพทยและนักวิชาชีพ ดานสุขภาพ ที่ทำหนาที่ดูแลผูปวยเรื้อรัง ตองเผชิญสถานการณดานความทุกขของผูปวย และญาติ ซึ่งผูปวยและญาติจะพยายามแสวงหาวิธีการตาง ๆ ที่สามารถตอบสนองความ จำเปนและสภาวะการเจ็บปวยได การจัดการความรูเรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ทำใหไดเรียนรู เกี่ยวกับ 1) การดูแลรักษาเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบานของ ภาคประชาชน 2) การดู แ ลรั ก ษาเบาหวานของหมอพื้ น บ า น 3) การใช ป ระโยชน จ าก ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ของสถานบริการสาธารณสุข ทั้งมิติ การดูแลรักษาและ การปองกัน และ 4) องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาว ที่มีสรรพคุณใน การรักษาเบาหวาน ความรูทั้งสี่ประเด็นดังกลาว ทำใหเขาใจสถานการณที่เกี่ยวของกับการพัฒนา แนวทางการสงเสริมการใชประโยชนจากภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแลเบาหวาน ทั้งในระดับบุคคลคือ ผูปวยเบาหวานหรือกลุมเสี่ยง และสถานบริการสาธารณสุข รวมถึง การพัฒนาตอยอดในลักษณะของงานวิจัยตอไป กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณ อาจารยรุจินาถ อรรถสิษฐ ที่ไดกรุณาศึกษาวิจัยงานเรื่องนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาผูอานคงจะไดรับสาระ ความรูจากงานวิชาการนี้ และมีแรงบันดาลใจในการสานตอการใชประโยชนในการดูแล ปญหาเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ตอไป แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ค
  • 5. สำนักการแพทยพื้นบานไทย สารบัญ หนา คำนำ ค คำเกริ่นนำ ฎ บทคัดยอสำหรับผูบริหาร ฐ บทที่ 1 บทนำ 3 1. หลักการและเหตุผล 3 2. วัตถุประสงค 4 3. วิธีการศึกษา 4 4. ผลที่คาดวาจะไดรับ 6 บทที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน 9 ของภาคประชาชน 1. ความเชื่อและความตองการของผูปวยเบาหวาน 9 2. การแสวงหาทางเลือกเพื่อดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน 10 2.1 มุมมองและพฤติกรรมดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน 10 2.2 มุมมองและพฤติกรรมการแสวงหาการดูแลแบบเสริมของผูปวยเบาหวาน 14 (1) การแสวงหาและการใชระบบการดูแลสุขภาพแบบผสมผสานของ 15 ผูปวยเบาหวาน (2) เหตุผลและสัดสวนการใชสมุนไพรของผูปวยเบาหวาน 17 (3) ลักษณะการใชสมุนไพรของผูปวยเบาหวาน 24 (4) คาใชจายของการใชสมุนไพร 25 (5) ผลและความผิดปกติในการใชสมุนไพร 26 3. กรณีศึกษาของผูปวยเบาหวานที่เปนตนแบบของการดูแลรักษาตนเอง 26 กรณีศึกษาที่ 1 คุณสุภาณี อภิญญากุล จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 ง
  • 6. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน กรณีศึกษาที่ 2 คุณนอม ทองทา จังหวัดสระแกว กรณีศึกษาที่ 3 คุณสมบูรณ อุทก จังหวัดอุทัยธานี กรณีศึกษาที่ 4 คุณธีรารัตน สิทธิยศ จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษาที่ 5 คุณศรีเรือน โกศิลป จังหวัดเชียงราย 4. การดูแลรักษาตนเองของชมรมและเครือขายผูปวยเบาหวานในชุมชน กรณีศึกษาที่ 1 รูปแบบการเสริมสรางพลังอำนาจแบบกลุมของกลุม ผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ จังหวัดนครสวรรค กรณีศึกษาที่ 2 เครือขายชมรมเบาหวาน เครือขายบริการปฐมภูมิเมือง โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน บทที่ 3 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองทิ่นการแพทยพื้นบาน 1. สถานการณและการกระจายตัวของหมอพื้นบานที่มีประสบการณดูแล รักษาโรคเบาหวาน 2. บทบาทและองคความรูของหมอพื้นบานที่ดูแลรักษาโรคเบาหวาน 2.1 บทบาทของหมอพื้นบานที่ดูแลรักษาโรคเบาหวาน 2.2 ความเชื่อเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2.3 การตรวจและการวินิจฉัยโรค 2.4 วิธีการรักษาโรคเบาหวาน 2.5 การติดตามผลการรักษาโรค 3. กรณีศึกษาหมอพื้นบานที่มีประสบการณการดูแลรักษาโรคเบาหวาน กรณีศึกษาที่ 1 หมอนวล พิชคำ จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษาที่ 2 หมออุน ณ นาน จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษาที่ 3 หมอสม ทาวอาวาท จังหวัดเชียงราย กรณีศึกษาที่ 4 หมอสายยน ใหญกระโทก จังหวัดสระแกว กรณีศึกษาที่ 5 หมอคำปุน มุละสีวะ จังหวัดยโสธร กรณีศึกษาที่ 6 หมอบุญถม ชุมอักษร จังหวัดตรัง กรณีศึกษาที่ 7 หมอจิต บุญเลื่อง จังหวัดตรัง หนา 29 30 31 32 34 37 38 45 46 47 47 47 48 48 49 50 50 52 53 54 57 59 61 จ
  • 7. สำนักการแพทยพื้นบานไทย หนา 65 บทที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มี สรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน 1. องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรเดี่ยวที่มีสรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน 65 2. องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรตำรับที่มีสรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน 89 3. องคความรูจากการศึกษาวิจัยขาวที่มีสรรพคุณตอการควบคุมโรคเบาหวาน 94 บทที่ 5 การปองกันและดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / 101 การแพทยพื้นบานในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 1. ความหมายของโรคเบาหวาน 101 2. สถานการณโรคเบาหวาน 102 3. การดูแลรักษาโรคเบาหวานในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 103 4. กรณีศึกษาของโรงพยาบาลชุมชนที่มีการดูแลรักษาโรคเบาหวาน 106 ดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน กรณีศึกษาที่ 1 โรงพยาบาลเทิง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย 107 กรณีศึกษาที่ 2 โรงพยาบาลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว 110 กรณีศึกษาที่ 3 โรงพยาบาลกุดชุม อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร 113 กรณีศึกษาที่ 4 โรงพยาบาลหวยแถลง อำเภอหวยแถลง 115 จังหวัดนครราชสีมา กรณีศึกษาที่ 5 ศูนยสุขภาพชุมชนตาป จังหวัดสุราษฎรธานี 115 บทที่ 6 แนวทางการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน 121 ในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน 1. ดานนโยบาย 122 2. ดานปฏิบัติการ 123 3. ดานวิชาการ 124 ฉ
  • 8. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน หนา 129 143 บรรณานุกรม ภาคผนวก 1 รายงานการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานวิจัยสมุนไพร เพื่อรักษา โรคเบาหวาน (28 พฤษภาคม 2552) รองศาสตราจารยรุงระวี เต็มศิริกฤษกุล ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคผนวก 2 151 รายงานการสัมมนาระดมสมอง เรื่อง การดูแลผูปวยเบาหวาน ดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน ภาคผนวก 3 160 แบบสัมภาษณ ช
  • 9. สำนักการแพทยพื้นบานไทย สารบัญภาพ รูปภาพที่ 1 รูปภาพที่ 2 รูปภาพที่ 3 รูปภาพที่ 4 รูปภาพที่ 5 รูปภาพที่ 6 รูปภาพที่ 7 รูปภาพที่ 8 รูปภาพที่ 9 รูปภาพที่ 10 รูปภาพที่ 11 รูปภาพที่ 12 รูปภาพที่ 13 รูปภาพที่ 14 รูปภาพที่ 15 รูปภาพที่ 16 รูปภาพที่ 17 รูปภาพที่ 18 รูปภาพที่ 19 รูปภาพที่ 20 รูปภาพที่ 21 ซ หนา กลุมผูปวยเบาหวาน 11 กลุมผูปวยเบาหวาน 11 กลุมผูปวยเบาหวาน 15 ยาสมุนไพรเดี่ยวรักษาเบาหวาน 18 ยาสมุนไพรแฮมรักษาเบาหวาน 25 คุณสุภาณี อภิญญากุล ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดนครศรีธรรมราช 27 คุณนอม ทองทา ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดสระแกว 29 คุณธีรารัตน สิทธิยศ ผูปวยเบาหวานตนแบบจังหวัดเชียงราย 31 หมอพื้นบานรักษาเบาหวานดวยยาสมุนไพรพื้นบาน 47 ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน 47 หมอนวล พิชคำ หมอสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน 50 ยาสมุนไพรพื้นบานของหมอนวล พิชคำ 50 หมอสายยน ใหญกระโทก หมอสมุนไพร จังหวัดสระแกว 55 ยาสมุนไพรพื้นบานของหมอสายยน ใหญกระโทก 55 หมอคำปุน มุละสีวะ หมอสมุนไพรรักษาเบาหวาน 58 ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวานของหมอคำปุน มุละสีวะ 58 ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน 60 ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน 60 กะเพรา 68 68 ใบกะเพรา ชาพลู 70
  • 10. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน รูปภาพที่ 22 รูปภาพที่ 23 รูปภาพที่ 24 รูปภาพที่ 25 รูปภาพที่ 26 รูปภาพที่ 27 รูปภาพที่ 28 รูปภาพที่ 29 รูปภาพที่ 30 รูปภาพที่ 31 รูปภาพที่ 32 รูปภาพที่ 33 รูปภาพที่ 34 รูปภาพที่ 35 รูปภาพที่ 36 รูปภาพที่ 37 ใบชาพลู ตำลึง ใบแกของตำลึง บอระเพ็ด เถาบอระเพ็ด มะตูม มะระขี้นก ผลสดของมะระขี้นก อินทนิลน้ำ ใบอินทนิลน้ำ ตนอบเชย เปลือกอบเชย แกนของแฮม ยาสมุนไพรพื้นบานรักษาเบาหวาน กลุมผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลชุมชนเทิง จังหวัดเชียงราย ยาสมุนไพรแบบตำรับรักษาเบาหวาน โรงพยาบาลชุมชนเทิง จังหวัดเชียงราย รูปภาพที่ 38 โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว มีการใชแพทยแผนไทยรักษาเบาหวาน รูปภาพที่ 39 ยาสมุนไพรตำรับรักษาเบาหวาน โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว รูปภาพที่ 40 ยาชงชาพลูรักษาเบาหวานของ โรงพยาบาลชุมชนกุดชุม หนา 70 73 73 75 75 77 79 79 82 82 84 84 87 94 108 108 111 111 113 ฌ
  • 12. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน คำเกริ่นนำ สำนักการแพทยพื้นบานไทย มีภารกิจในการสรางองคความรูภูมิปญญาการแพทย พื้นบาน สงเสริมและประยุกตใชภูมิปญญาการแพทยพื้นบานไดอยางมีประสิทธิผลและ ปลอดภัยเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพและความเจ็บปวยของคนไทย และใน พ.ศ. 2552 ไดมี การดำเนินงานโครงการสงเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการและดูแลสุขภาพชุมชนดวย ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน โดยมีการจัดการความรูและสงเสริมการปฏิบัติการเกี่ยวกับ ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน 4 เรื่อง คือ การดูแลรักษาอัมพฤกษ อัมพาต สัตวพิษกัด –งู กั ด โรคเบาหวาน และการดู แ ลสุ ข ภาพแม แ ละเด็ ก สำหรั บ รายงานการศึ ก ษานี้ เ ป น การจัดการความรูในโครงการเรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทย พื้นบาน วัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาและวิเคราะหภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแล โรคเบาหวาน สถานการณในการประยุกตใชภูมิปญญาการแพทยพื้นบานในการดูแลรักษา โรคเบาหวาน และเพื่อจัดทำขอเสนอแนะ/แนวทางในการประยุกตใชในอนาคต โดยมี การศึกษา 2 วิธี คือ การทบทวนวรรณกรรมและการศึกษาเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา 4 จังหวัดใน 4 ภูมิภาค ผลการศึกษานี้จำแนกเปน 5 สวน ประกอบดวย สวนที่ 1 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่นการแพทยพื้นบานของ ภาคประชาชน สวนที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน สวนที่ 3 การป อ งกั น และการดู แ ลรั ก ษาโรคเบาหวานด ว ยภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น / การแพทยพื้นบานในเครือขายการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ สวนที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มีสรรพคุณรักษา โรคเบาหวาน สวนที่ 5 ขอเสนอแนะเพื่อประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการ ดูแลรักษาโรคเบาหวาน ฎ
  • 13. สำนักการแพทยพื้นบานไทย ผลการศึกษาครั้งนี้ทำใหเห็นถึงสถานการณที่ผูปวยเบาหวานประยุกตใชภูมิปญญา การแพทยพื้นบานในการดูแลรักษาตนเอง อันเปนการแสวงหาทางเลือกในการดูแลความ เจ็บปวยของตนเอง และไดตระหนักวา ประเทศไทยยังคงมีหมอไทยและหมอพื้นบานเปนที่ พึ่งดานสุขภาพของผูปวยเบาหวาน ตลอดจนศักยภาพของพืชสมุนไพรจำนวนมากที่ถูกใช ในการดูแลและรักษาโรคเบาหวานผานระบบบริการสุขภาพแบบปฐมภูมิ หมอไทยและ หมอพื้นบาน งานศึกษาที่เปนจุดเริ่มตนในการจัดการความรู และหากมีการทำงานที่ตอเนื่อง องคความรูจะไดรับการพัฒนาตอยอดที่ชัดเจนมากขึ้นและจะเปนประโยชนตอผูปวย เบาหวานตอไป คณะผูศึกษาขอขอบพระคุณกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ที่สนับสนุนทุนการศึกษาครั้งนี้ และขอขอบพระคุณไปยังหองสมุดของหนวยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษาที่สนับสนุนการศึกษา ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และผูปฏิบัติ งานดานการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลชุมชน 3 แหง คือ โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัด ยโสธร โรงพยาบาลวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว โรงพยาบาลเทิง จังหวัดเชียงราย และ ศูนยสุขภาพชุมชนตาป จังหวัดสุราษฎรธานี หมอพื้นบานทุกทาน ผูปวยเบาหวาน และ ขอขอบพระคุณสำหรับความคิดเห็นทางวิชาการของ รองศาสตราจารยรุงรวี เต็มศิริฤกษกุล คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล อันทำใหผลการศึกษาครั้งนี้สมบูรณ และรอบดาน มากขึ้น รุจินาถ อรรถสิษฐ ฏ
  • 14. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน บทคัดยอสำหรับผูบริหาร การศึกษา เรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบานมี วัตถุประสงค 3 ขอ คือ (1) เพื่อศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานไทยในการดูแล รักษาโรคเบาหวาน (2) เพื่อทบทวนและวิเคราะหสถานการณการผสมผสานและประยุกตใช ภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการปองกันและดูแลรักษาโรคเบาหวาน และ (3) เพื่อจัดทำแนวทางประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในการปองกันและดูแล รักษาโรคเบาหวาน ดำเนินงานในเดือนมีนาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2552 วิธีการศึกษามีการ ทบทวนวรรณกรรม การสั ม ภาษณ ภ าคสนามเพื่ อ ศึ ก ษาสถานการณ ก ารดู แ ลรั ก ษา โรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน 6 จังหวัด/ 4 ภูมิภาค การจัดเวที เสวนาและการวิเคราะหจัดทำเปนรายงานการศึกษา ผลการศึกษาจำแนกเปน 5 สวน คือ สวนที่ 1 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน ของภาคประชาชน สังคมไทยมีแนวโนมของอัตราปวยจากโรคเบาหวานสูงอยางตอเนื่อง จากการ สำรวจสภาวะสุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชนในการตรวจร า งกาย ครั้ ง ที่ 3 พบว า ในป พ.ศ. 2547 จำนวนผูปวยเบาหวานในประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป เทากับ 3.2 ลานคน ผูปวยเบาหวานรอยละ 48.54 ไดรับการวินิจฉัยและรักษาโรค และผูปวยเบาหวานรอยละ 12 ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไดดี ขณะที่ผูปวยสวนใหญควบคุมระดับน้ำตาลไมไดและ มีภาวะแทรกซอน สำหรับกลุมเสี่ยงตอภาวะเบาหวานมีจำนวน 1.8 ลานคน ปจจัยเสี่ยงคือ การสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ไมบริโภค ผั ก และผลไม ขาดการออกกำลั ง กาย การสำรวจกลุ ม เสี่ ย งยั ง ไม มี ก ารสำรวจลึ ก ถึ ง พฤติก รรมเสี่ ย งและป จ จัยเสี่ยง และนำขอมูลมาพัฒนาเปนโครงการดานการปอ งกัน เบาหวานอยางตอเนื่อง ฐ
  • 15. สำนักการแพทยพื้นบานไทย ผูปวยเบาหวานมีความเชื่อดานสาเหตุ ดานปจจัยเสี่ยงและดานอาการโรคสอดคลอง กับขอเท็จจริงทางการแพทยแผนปจจุบัน สำหรับการรักษาโรค ผูปวยสวนใหญมีความเชื่อ ตอ การรั ก ษาโรคของการแพทย แผนปจจุบั นและยังคงเชื่อ วา สมุ นไพรและของรสขม สามารถรักษาเบาหวานได ผูปวยเบาหวานมีการแสวงหาและการดูแลรักษาสุขภาพแบบ ผสมผสาน โดยการใชระบบการแพทยแผนปจจุบันรวมกับระบบการดูแลรักษาสุขภาพแบบ สามัญชน (popular health care) จากงานศึกษาวิจัยพบวา ผูปวยเบาหวานประมาณ ร อ ยละ 40 โดยเฉลี่ ย มี ก ารใช ส มุ น ไพร ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหาร ยาจี น และการแพทย ทางเลือกแบบอื่นควบคูกับการใชการแพทยแผนปจจุบัน ปจจัยที่สงผลตอการใชสมุนไพร ของผูปวยเบาหวานมี 9 ปจจัย คือ (1) แรงสนับสนุนจากครอบครัวและเครือขายผูปวย เบาหวาน (2) ลักษณะความเจ็บปวย (3) ประสบการณการใชยาของผูปวย (4) การรับรูและ ความเชื่อเกี่ยวกับโรค การรักษาโรคและวิธีการรักษาโรคแบบอื่น (5) ทัศนคติตอการใช สมุนไพร (6) อายุและระดับการศึกษาของผูปวย (7) เขตที่อยูอาศัยหรือระยะทางจากบาน ถึงแหลงประโยชน (8) ระยะเวลาที่เปนโรค และ (9) ประสิทธิภาพของยาในการประเมินของ ผูปวย ผูปวยเบาหวานมีการใชสมุนไพร 2 ลักษณะ คือ การใชสมุนไพรเดี่ยวและการใช สมุนไพรแบบตำรับ ตัวอยางสมุนไพรเดี่ยว คือ ฟาทะลายโจร บอระเพ็ด ลูกใตใบ เตย หญาหนวดแมว หนุมานประสานกาย อินทนิล ตะไคร ไมยราบ พังพวย ชาพลู ครอบฟนสี มะแวงตน มะแวงเครือ สัก ตำลึง มะยม กาฝากมะมวง แฮม และวานง็อก สวนสมุนไพร แบบตำรับมีสมุนไพรหลายชนิด องคประกอบของสมุนไพรมียาสมุนไพรหลายกลุม เชน กลุมสมุนไพรลดน้ำตาลในเลือด กลุมสมุนไพรบำรุงรางกาย กลุมสมุนไพรแกน้ำเหลืองเสีย กลุมสมุนไพรขับปสสาวะ ปสสาวะพิการ ไตพิการ เปนตน โดยใชรูปแบบยา มียาตม ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาผง แหลงยาสมุนไพร คือ ผูปวยเบาหวานปลูกและเตรียมยาดวยตนเอง หมอพื้นบาน หมอแผนไทย (หมอไทย) รานขายยาแผนโบราณ หมอพระ รานขายยาเร และโรงพยาบาล ชุมชน คาใชจายเฉลี่ยต่ำกวา 100 บาท/ครั้ง และผลการใชสมุนไพรจากการประเมินของ ผูปวยเบาหวาน คือ ผลตอโรคเบาหวาน หรือ ลดน้ำตาลในเลือด ผลตอรางกาย และผลตอ จิตใจและมีผูปวยบางสวนมีอาการผิดปกติจากการใชสมุนไพร ฑ
  • 16. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน นอกจากนี้ จากการศึกษาผูปวยเบาหวานตนแบบในการดูแลรักษาตนเอง 5 ราย พบวา ผูปวยเบาหวานตนแบบทั้ง 5 ราย มีสุขภาพดีและสามารถควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดใหเปนปกติไดยาวนานระยะหนึ่ง โดยการไดรับการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยยา แผนปจจุบัน พรอมกับการดูแลสุขภาพตนเองในชีวิตประจำวัน และมีการปรับพฤติกรรม สุขภาพดานบริโภคอาหาร ดานออกกำลังกายและดานจิตใจพรอมกัน อีกทั้งผูปวยเบาหวาน บางรายมีการใชสมุนไพรรวมดวย สวนที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน จากการสำรวจของกรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก ป พ.ศ. 2549 พบวา หมอยาพื้นบานที่รักษาโรคเบาหวานมีจำนวน 52 คน กระจายตัวอยูใน ภาคเหนือ 27 คน ภาคอีสาน 24 คน และภาคกลาง 1 คน จากการทบทวนวรรณกรรมและ ศึกษาภาคสนาม พบวา หมอพื้นบานสวนใหญที่รักษาผูปวยเบาหวานเปนหมอสมุนไพร เปนผูที่มีประสบการณการรักษาโรคเบาหวานจากบรรพบุรุษหรือจากตำราใบลานของ ครูหมอพื้นบาน หมอพื้นบานจะมีการเตรียมยาสมุนไพรไวที่บานเพื่อพรอมใหบริการ หรือจำหนายใหกับผูปวยเบาหวาน หมอพื้นบานไมมีการอธิบายโรคตามทฤษฎีการแพทย แผนไทย สวนใหญจะเรียกชื่อโรคเบาหวาน และรักษาผูปวยเบาหวานที่ผานการวินิจฉัยโรค และรักษาโรคโดยแพทยแผนปจจุบันมาแลว หมอพื้นบานแตละคนมีการอธิบายสาเหตุของ เบาหวานแตกตางกันอันเปนคำอธิบายที่มีที่มาจากบรรพบุรุษ การเรียนรูดวยตนเองและ ผสมผสานกับความรูการแพทยแผนปจจุบัน หมอพื้นบานใชพืชสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน และประกอบเปนตำรับยาสมุนไพรรักษาเบาหวาน แตละตำรับยาสมุนไพรมีสมุนไพรหลาย ชนิ ด และมี 2 ลัก ษณะ คือ ตำรั บ ยารั กษาเบาหวาน และตำรับยารักษาแผลเบาหวาน รูปแบบยามี ยาตม ยาผง ยาฝน ยาแคปซูลและยาลูกกลอน และยังมีขอหาม – ขอปฏิบัติ สำหรับผูปวยเบาหวานดวย หมอพื้นบานมีการติดตามแบบไมเปนทางการ โดยอาจสอบถาม จากผู ปวยหรือ ญาติ ผูป วยเบาหวานที่มารักษากับหมอพื้นบานเปนผูป วยที่รักษาด วย ยาแผนปจจุบันแลว แตระดับน้ำตาลในเลือดยังไมสามารถควบคุมไดในระดับปกติ ฒ
  • 17. สำนักการแพทยพื้นบานไทย สวนที่ 3 การปองกันและการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/ การแพทยพื้นบานในเครือขายการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ เครือขายการบริการสุขภาพปฐมภูมิ อันประกอบดวยโรงพยาบาลชุมชนและสถานี อนามัย โรงพยาบาลชุมชนมีบทบาทการคัดกรองและการบำบัดเบาหวานระดับพื้นฐานโดย ทีมสหวิชาชีพและสถานีอนามัยมีบทบาทคัดกรอง การปองกันและการเยี่ยมบาน นอกจากนี้ ยังมีการประสานงาน การรวมงาน และสงตอผูปวยระหวางโรงพยาบาลชุมชนและสถานี อนามั ย เพื่ อ ให ง านต อ เนื่ อ งและมี คุ ณ ภาพ การดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ยเบาหวานใช แ นวทาง เวชปฏิบัติของการแพทยแผนปจจุบันเปนหลัก อยางไรก็ตาม ยังมีความแตกตางที่ขึ้นกับ ความพรอมและศักยภาพของโรงพยาบาล ศักยภาพของทีมสหวิชาชีพ และแนวทาง/ นโยบายเฉพาะของแตละพื้นที่ จากการสำรวจพบวา สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวน 30 – 60 แหง มีการใชยาสมุนไพรเดี่ยวและตำรับรักษาเบาหวาน และจากการสำรวจภาค สนาม พบว า โรงพยาบาลชุ ม ชน 4 แห ง (โรงพยาบาลชุ ม ชนเทิ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย โรงพยาบาลชุมชนวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว โรงพยาบาลชุมชนกุดชุม จังหวัดยโสธร และ โรงพยาบาลชุมชนหวยแถลง จังหวัดนครราชสีมา) มีการผสมผสานภูมิปญญาทองถิ่น (การแพทย แ ผนไทย/การแพทย พื้ น บ า น/การแพทย แ บบอื่ น ) ในการดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ย เบาหวาน 2 ลักษณะ คือ (1) การดูแลรักษาผูปวยดวยภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก การแนะนำ ความรูและทักษะของภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน (อาหาร พื้นบาน อาหารตามธาตุ การทำสมาธิ การสวดมนต โยคะ ชี่กง ดนตรีพื้นเมือง) การใช สมุนไพรแบบเดี่ยวและแบบตำรับเพื่อเสริมการรักษา และรักษาภาวะแทรกซอนของผูปวย เบาหวาน การใชสมุนไพรและการนวดในการดูแลเทา และ (2) การสงเสริมสุขภาพของกลุม เสี่ยงตอเบาหวาน มีการแนะนำและฝกอบรมความรูและทักษะในการปรับสมดุลของชีวิต มี เนื้อหาเกี่ยวกับ ขาวกลอง อาหารสมุนไพร อาหารตามธาตุ ผักพื้นบาน สมาธิ โยคะ การออก กำลังกาย สำหรับการใชวิธีการรักษาโรคแบบเสริมในผูปวยเบาหวานยังไมมีการเก็บขอมูล อยางเปนระบบจึงยังไมสามารถยืนยันผลไดอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม การดูแลรักษา ผูปวยเบาหวานดวยการใชการแพทยแผนไทยและการแพทยพื้นบาน ทำใหผูปวยมีทาง เลือกในการรักษาเบาหวานทำใหผูปวยมีความพึงพอใจ สงผลดีตอรางกายและจิตใจ และ สงเสริมการดูแลตนเองของผูปวย ณ
  • 18. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน สวนที่ 4 องคความรูจากการศึกษาวิจัยสมุนไพรพื้นบานและขาวที่มีสรรพคุณ รักษาโรคเบาหวาน ในชวงเวลาราว 10 ปที่ผานมา สังคมไทยไดมีการริเริ่มและงานศึกษาวิจัยเพื่อ การยืนยันและตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาพื้นบานในการรักษาโรคเบาหวาน ประกอบดวยงานวิจัยสมุนไพรเดี่ยว ยาสมุนไพรตำรับและขาวที่มีสรรพคุณรักษาโรค เบาหวาน จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา สมุนไพรพื้นบานที่มีการใชรักษาโรคเบาหวาน มีจำนวนตั้งแต 50 - กวา 1,000 ชนิด งานวิจัยเชิงทดลองเพื่อพิสูจนฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ของสมุดไพรเดี่ยวมีการวิจัยอยางตอเนื่องทั้งในและตางประเทศ พบวาพืชสมุนไพรกวา 50 ชนิ ด มี ส รรพคุ ณ ลดน้ ำ ตาลในเลื อ ด ตั ว อย า งเช น ตำลึ ง แตงไทย แตงกวา ช า พลู มะระขี้นก อินทนิลน้ำ อบเชย เปนตน งานวิจัยสวนใหญเปนการศึกษาดานเภสัชวิทยาใน สั ต ว ท ดลองและการศึ ก ษาความเป น พิ ษ อย า งไรก็ ต ามงานศึ ก ษาวิ จั ย สมุ น ไพรเดี่ ย ว เพื่อพัฒนาเปนยารักษาโรคเบาหวานยังไมมีความกาวหนามากพอที่จะผลิตเปนยารักษาโรค เบาหวานที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยสำหรับประชาชน มีเพียงผลิตภัณฑ อบเชยแคปซูลซึ่งเปนผลิตภัณฑขององคการเภสัชกรรมที่ชวยบำรุงสุขภาพและชวยควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผูปวยเบาหวาน งานวิจัยตำรับยาสมุนไพรเพื่อศึกษาสรรพคุณ ลดน้ำตาลในเลือด มี 2 เรื่อง และเปนงานเภสัชวิทยาในสัตวทดลอง นอกจากนี้ ยังมีงาน วิจัยเกี่ยวกับการบริโภคขาว พบวา การบริโภคขาวเจาดีตอสุขภาพของผูปวยเบาหวานมาก กวาขาวเหนียว และศึกษาพัฒนาสายพันธุขาวสินเหล็กที่สงผลดีตอสุขภาพของผูปวย เบาหวาน ส ว นที่ 5 ข อ เสนอแนะสำหรั บ การประยุ ก ต ใ ช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น /การแพทย พื้นบานในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน จากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ท ำให เ ห็ น ถึ ง สถานะของภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และภู มิ ป ญ ญา พื้นบานที่มาชวยเสริมกระบวนการปองกันและรักษาโรคเบาหวาน โดยมีประโยชนใน การประยุกตใชทั้งการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน และการสงเสริมสุขภาพของกลุม เสี่ยงอันจะเปนการดูแลรักษาสุขภาพระยะยาวดวย ด
  • 19. สำนักการแพทยพื้นบานไทย สำหรั บ แนวทางและข อ เสนอแนะเพื่ อ การประยุ ก ต ใ ช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น และ ภูมิปญญาพื้นบานในการดูแลรักษาโรคเบาหวาน จำแนกเปน 3 ดาน คือ ดานนโยบาย ดานปฏิบัติการ และดานวิชาการ มีรายละเอียดดังนี้ 1. ดานนโยบาย 1.1 หนวยงานดานนโยบาย ควรสำรวจถึงภาพรวมของการใชการแพทยแบบ เสริมของผูปวยเบาหวาน และมีกลไกการสนับสนุนและสงเสริมการแพทย แบบเสริม (การแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือก) ใหมีคุณภาพและความปลอดภัยสำหรับการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน และการปองกันโรคเบาหวาน 1.2 หนวยงานทุนวิจัย ควรมีนโยบายสนับสนุนทุนวิจัยในประเด็นการดูแลรักษา โรคเบาหวานด ว ยการแพทย แ บบเสริ ม / การใช ส มุ น ไพรร ว มกั น กั บ การแพทยแผนปจจุบัน และการศึกษาสรรพคุณและความปลอดภัยของ สมุนไพรเดี่ยว / สมุนไพรตำรับในการรักษาโรคเบาหวาน อันจะเปนการหา ทางเลือกใหมในการดูแลตนเองของผูปวยเบาหวานและเปนการสงเสริมการ พึ่งตนเองดานสุขภาพของสังคมไทย 2. ดานปฏิบัติการ 2.1 ที ม สุ ข ภาพควรสร า งเสริ ม ปฏิ สั ม พั น ธ แ บบเข า ใจและเท า เที ย มกั น ใน กระบวนการดูแลสุขภาพของผูปวยเบาหวาน ผูปวยทุกคนควรไดรับความ เขาใจ การชวยเหลือและพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพตนเองทั้งแบบบุคคล และแบบกลุม (อาจพัฒนาเปนชุดการเรียนรูเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองของ ผู ป ว ยเบาหวานแบบองค ร วม-ทุ ก มิ ติ ) หากผู ป ว ยเบาหวานไม ส ามารถ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได ทีมสุขภาพจำเปนตองรวมกับผูปวยและ ครอบครัวในการวิเคราะห และชวยสรางปจจัยเงื่อนไขเพื่อใหผูปวยไดเพิ่ม ศักยภาพในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 2.2 ที ม สุ ข ภาพควรสร า งความเข า ใจต อ ความเชื่ อ การดู แ ลตนเองและการ ประเมิ น ผลในมุ ม มองของผู ป ว ยเบาหวาน (โดยเฉพาะข อ มู ล การใช การแพทยแบบเสริม/การใชสมุนไพรรวมกับการแพทยแผนปจจุบัน) เพื่อให ต
  • 20. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน คำแนะนำและคำปรึกษาตอผูปวยไดอยางเหมาะสมกับสถานการณผูปวย เบาหวานแตละคน 2.3 ทีมสุขภาพในระดับเครือขายบริการสุขภาพปฐมภูมิควรมีการแลกเปลี่ยน ประสบการณและจัดการความรูภายในทีมเมื่อ เรียนรูร วมกัน และปรับ กระบวนการดูแลรักษาผูปวยเบาหวานใหเหมาะสมกับสถานการณปญหา จริง และสังคมวัฒนธรรม 2.4 ทีมสุขภาพควรมีการศึกษาขอมูลการใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทย พื้นบาน ของผูปวยเบาหวานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทั้งศึกษาติดตามการ เปลี่ยนแปลงดานประสิทธิผลและความปลอดภัย (ผลขางเคียง) ในการดูแล สุขภาพของผูปวยเบาหวาน 2.5 ทีมสุขภาพควรมีการศึกษาและติดตามงานวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพร ผลิตภัณฑ สมุนไพร ผลิตภัณฑอาหารเสริมที่มีผลตอโรคเบาหวาน พรอมทั้งติดตาม ความก า วหน า เพื่ อ เป น แหล ง ประโยชน แ หล ง หนึ่ ง ของผู ป ว ยเบาหวาน รวมทั้งใหการแนะนำขอมูลและวิธีใชที่เหมาะสมกับผูปวยเบาหวานได 3. ดานวิชาการ 3.1 หนวยงาน/สถาบันวิชาการควรมีการรวบรวม วิเคราะหและจัดการความรู เกี่ ย วกั บ สมุ น ไพรที่ มี ส รรพคุ ณ ดู แ ลรั ก ษาโรคเบาหวาน (ลดน้ ำ ตาล ในเลือด) และความปลอดภัยอยางเปนระบบและตอเนื่อง ใหกลายเปน องคความรูที่ใชประโยชนไดจริงในภาคปฏิบัติและภาคนโยบาย และสื่อสาร องค ค วามรู ดั ง กล า วไปยั ง กลุ ม ผู ป ว ยเบาหวาน ที ม สุ ข ภาพภาครั ฐ และ ภาคเอกชน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับโรคเบาหวาน 3.2 หนวยงาน/สถาบันทางวิชาการควรมีการสำรวจภาพรวมทั่วประเทศและ ศึกษาวิจัยเชิงลึกเพื่อใหเขาใจถึงสถานการณของการใชการแพทยแบบเสริม ของผู ป วยเบาหวาน และมี ข อเสนอแนะเชิ งนโยบายเพื่ อ หนุ นเสริ มและ สนับสนุนการแพทยแบบเสริม และ/หรือ ภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทย พื้นบาน ใหเปนทางเลือกที่มีคุณภาพและปลอดภัยสำหรับผูปวยเบาหวาน ถ
  • 21. สำนักการแพทยพื้นบานไทย 3.3 จากการศึกษาครั้งนี้ พบวาผูปวยสวนใหญไมสามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลื อ ดได แ ละมี ผู ป ว ยเบาหวานบางส ว นรั ก ษาเบาหวานโดยการใช ย า สมุนไพร ผลิตภัณฑยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑอาหารเสริมรวมกับ ยาแผนปจจุบัน จากแหลงประโยชนหลายแหลงในชุมชน หนวยงาน/สถาบัน ทางวิ ช าการ ควรร ว มมื อ กั บ หน ว ยงานปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ศึ ก ษาวิ จั ย ด า น สรรพคุณการลดน้ำตาลในเลือด หรือสรรพคุณอื่นที่ดีตอผูปวยเบาหวาน (การฟนฟูสมรรถนะตับออน การลดระดับคลอเลสเตอรอล การเพิ่มการ ไหลเวียนของเลือด ฯลฯ) และความปลอดภัย โดยควรใหความสำคัญกับ งานวิจัยแบบบูรณาการหรือแบบครบวงจรอาจเริ่มจากงานวิจัยทางคลินิก เบื้องตน จากสมุนไพรแบบเดี่ยว/สมุนไพรแบบตำรับที่มีการใชในหนวยงาน บริการสุขภาพปฐมภูมิปจจุบัน หรืออาจเริ่มจัดการความรูเชิงปฏิบัติการจาก ผู ป ว ยเบาหวานต น แบบหรื อ กลุ ม ช ว ยเหลื อ กั น เองของผู ป ว ยเบาหวาน เพื่ อ พั ฒ นาเป น องค ค วามรู เ บื้ อ งต น จากนั้ น จึ ง ขยายผลไปสู ง านวิ จั ย แบบบูรณาการตอไป ท
  • 24. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน บทที่ 1 บทนำ 1. หลักการและเหตุผล ภาวะเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เปนโรคในกลุมเมตาบอลิก (Metabolic syndrome) เปนปญหาสุขภาพที่สำคัญ และเปนภาวะคุกคามตอในสุขภาวะของประชาชน ไทยมากขึ้นทุกป สถิติสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 – 2548 แสดง จำนวนและอัตราปวยของผูปวยเบาหวานของประเทศทั้งกรณีผูปวยนอกและผูปวยในที่ เพิ่มขึ้นทุกป และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีก โดยมีอัตราปวยของผูปวยในเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เทา และพบวาอัตราการตายเนื่องจากโรคเบาหวานก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นดวย จาก 7.46 ตอ ประชากรแสนคนใน พ.ศ. 2540 เปน 10.59 ตอประชากรแสนคนใน พ.ศ. 2546 สังคมไทย ตองเผชิญกับภาระคาใชจายดานสุขภาพที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง นับเปนสถานการณสำคัญที่มี ความจำเปนตองแสวงหาทางเลือก เพื่อลดภาระคาใชจายดังกลาว การแพทยพื้นบานเปนอีก ทางเลือกหนึ่งที่ยังมีบทบาทสำคัญในการดูแลความเจ็บปวยในชุมชนอยูทั่วทุกภูมิภาค หากมีการศึกษาสถานะองคความรูภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานเกี่ยวของกับ โรคเบาหวาน ทั้งการศึกษาสถานการณการวิจัยที่เกี่ยวของ การจัดการความรูเรื่องเบาหวาน ดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ การจัดการความรู เรื่องเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานของภาคีเครือขายชุมชน รวมถึง การใชยาพื้นบาน สมุนไพรทองถิ่น ผักและอาหารพื้นบานในการดูแลผูปวยเบาหวาน จะนำ มาสูแนวทางในการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน ดูแลผูปวยเบาหวาน อยางถูกตองและมีประสิทธิผล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยตอไป 3
  • 25. สำนักการแพทยพื้นบานไทย ดังนั้น โครงการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน ไดมีการ วิ เ คราะห ส ถานการณ เ บื้ อ งต น และเห็ น ความจำเป น ที่ ต อ งมี ก ารศึ ก ษาวิ เ คราะห แ ละ สังเคราะหองคความรูและสถานการณการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/ การแพทยพื้นบาน เพื่อใชประโยชนในการสงเสริมสุขภาพชุมชนดวยภูมิปญญาการแพทย พื้นบานในโอกาสตอไป 2. วัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานไทย เกี่ยวกับโรคเบาหวาน (2) เพื่ อ ทบทวนและวิ เ คราะห ส ถานการณ ก ารผสมผสานและการประยุ ก ต ใ ช ภูมิปญญาทองถิ่น/ การแพทยพื้นบานในการปองกันและการดูแลรักษาโรคเบาหวาน (3) เพื่อจัดทำขอเสนอแนวทางการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน ในการปองกันดูแลรักษาโรคเบาหวาน 3. วิธีการศึกษา โครงการเรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน มีวิธีการ ศึกษาและดำเนินงานดังนี้ (1) การพั ฒ นาโครงการ จากการประชุ ม ศึ ก ษาและแลกเปลี่ ย นร ว มกั น กั บ ผู อ ำนวยการสำนั ก การแพทยพื้นบานไทย (คุณเสาวณีย กุลสมบูรณ) และทีมงานผูรับ ผิ ด ชอบโครงการส ง เสริ ม และพั ฒ นากระบวนการจั ด การและดู แ ลสุ ข ภาพชุ ม ชนด ว ย ภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน เฉพาะกรณีโรคเบาหวาน จำนวน 3 ครั้ง และพัฒนาเปน โครงการ เรื่องการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยการแพทยพื้นบาน (2) รวบรวมและทบทวนวรรณกรรม งานวิ จั ย งานวิ ท ยานิ พ นธ และบทความ วิชาการ/นิพนธตนฉบับ ในประเด็นการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/ การแพทยพื้นบาน จากหองสมุดหนวยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา 7 แหง จำแนกเปน หองสมุดสถาบันวิจัยแหงชาติ จำนวน 8 ครั้ง หองสมุดของกรมวิทยาศาสตรการแพทย จำนวน 3 ครั้ง หองสมุดของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข จำนวน 1 ครั้ง 4
  • 26. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน หองสมุดของกรมควบคุมโรค จำนวน 2 ครั้ง ห อ งสมุ ด ของกรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก จำนวน 1 ครั้ง หองสมุดกรมการแพทย จำนวน 1 ครั้ง หองสมุดคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 ครั้ง (3) ทบทวนเรียบเรียงสถานการณเบื้องตนเกี่ยวกับการปองกันและดูแลรักษาโรค เบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน (4) จัดทำเครื่องมือการสัมภาษณ เพื่อใชในการสัมภาษณผูรู / ผูปฏิบัติงานที่มี ประสบการณการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบาน จำนวน 4 ชุด จำแนกเปน ชุดที่ 1 แบบสัมภาษณผูรับผิดชอบงานการแพทยแผนไทย ในเครือขายบริการ สุขภาพปฐมภูมิ ชุดที่ 2 แบบสัมภาษณหมอพื้นบานที่มีประสบการณการรักษาโรคเบาหวาน ชุดที่ 3 แบบสัมภาษณกลุมผูปวยเบาหวานที่มีประสบการณการใชสมุนไพร ชุดที่ 4 แบบสัมภาษณกลุมเสี่ยงตอเบาหวาน (5) สัมภาษณผูชำนาญ / ผูรู / ผูปฏิบัติงานที่มีความรูและประสบการณ การดูแล รักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพื้นบาน หมอพื้นบาน ผูปวย / กลุมเสี่ยงตอโรคเบาหวานในพื้นที่ 6 อำเภอ 6 จังหวัด ใน 4 ภูมิภาค มีรายละเอียด อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแกว อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี และสั ม ภาษณ ผู ช ำนาญและมี ป ระสบการณ ง านวิ จั ย ยาสมุ น ไพรเพื่ อ รั ก ษาโรค เบาหวาน 1 ราย คื อ รองศาสตราจารย รุ ง ระวี เต็ ม ศิ ริ ฤ กษ กุ ล คณะเภสั ช ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (6) จัดเวทีสัมมนาเพื่อตรวจสอบสถานการณและขอมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทางวิชาการและระดมความคิดเห็น / ขอเสนอแนะ เพื่อจัดทำแนวทางประยุกตใชภูมิปญญา ทองถิ่น / การแพทยพื้นบานในการดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน 1 ครั้ง มีผูเขารวมสัมมนา 5
  • 27. สำนักการแพทยพื้นบานไทย 20 คน (7) จัดทำรายงานการศึกษา เรื่อง การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการ แพทยพื้นบานฉบับสมบูรณ 4. ผลที่คาดวาจะไดรับ ผลผลิตของโครงการตองการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทย พื้นบานจะนำไปใชประโยชนในการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น/การแพทยพื้นบานใน งานปองกัน และดูแลรักษาโรคเบาหวานของหนวยบริการสุขภาพปฐมภูมิ อีกทั้งเปนการ จัดการความรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน อันจะ นำไปใชประโยชนในวงกวางตอไป 6
  • 30. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน บทที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาทองถิ่น / การแพทยพนบานของภาคประชาชน ื้ ผูปวยเบาหวานตองเผชิญกับภาวะความเจ็บปวยเรื้อรังและยาวนาน สงผลตอการ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต และมีความยากลำบากในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตที่แตกตาง กัน อาจกลาวไดวา ผูปวยเบาหวานเปนบุคคลสำคัญในกระบวนดูแลรักษาความเจ็บปวย ผสมผสานกับการหนุนเสริมของทีมสหวิชาชีพดานสุขภาพ ดังนั้น ระบบการดูแลรักษา ผูปวยเบาหวานจำเปนตองเรียนรู และทำความเขาใจตอผูปวยเบาหวาน เพื่อสรางและ พั ฒ นาปฏิ สั ม พัน ธ กั บ ผูป ว ยเบาหวานอยา งเหมาะสม ตลอดจนพัฒ นาคำแนะนำ หรือ ชุ ด การดูแลรักษาโรคเบาหวานไดสอดคลองถูกตอง และเหมาะสมกับผูปวยเบาหวานใน สังคมวัฒนธรรมทีแตกตางกัน ผูปวยเบาหวานมีความเชือ มุมมองการแสวงหา และพฤติกรรม ่  ่ การดูแลตนเองโดยใชภมปญญาทองถิน / การแพทยพนบาน ดังรายละเอียดตอไปนี้ ูิ ่ ื้ 1. ความเชื่อและความตองการของผูปวยโรคเบาหวาน จากสถานการณ ก ารสำรวจสภาวะสุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชนโดยการตรวจ รางกายครั้งที่ 3 ในปพ.ศ. 2547 พบวา ประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป เปนเบาหวานรอยละ 6.9 หรือประมาณ 3.2 ลานคน และแนวโนมของการเปนเบาหวานเพิ่มขึ้นสูง ในจำนวน ทั้งหมดนี้ ผูปวยเบาหวานประมาณครึ่งหนึ่ง ไมรูตัววาเปนเบาหวานมากอน และปริมาณ 3 ใน 4 ของผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนเบาหวาน แตยังคงควบคุมโรคไมได สำหรับผูปวย เบาหวานที่ควบคุมโรคไดดีมีจำนวนรอยละ 12 และยังคงมีภาวะแทรกซอนจำนวนมาก จาก งานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผูปวยเบาหวาน พบวาผูปวยเบาหวานสวนใหญไมรูตัววาตัวเองเปน 9
  • 31. สำนักการแพทยพื้นบานไทย โรคเบาหวาน และไมเคยรูจักเบาหวานมากอน บางสวนรูจักแตชื่อเบาหวาน แตไมรูกลไก การเกิดโรค การปองกันและวิธีการรักษา และมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความเชื่อ และ พฤติกรรมของผูปวยเบาหวาน ดังที่ ใยวรรณ ธนะมัย และคณะ (2547) ไดศึกษาความเชื่อ ของผูปวยเบาหวาน พบวา ความเชื่อดานปจจัยเสี่ยงตอโรคเบาหวานของผูปวยเบาหวาน สวนใหญ คือ ทุกคนมีโอกาสเปนโรคเบาหวานโดยเฉพาะคนที่ไมออกกำลังกาย อวน มีอายุมากกวา 40 ป และผูที่มีประวัติในครอบครัวเปนเบาหวาน และดานสาเหตุของ เบาหวาน เชื่อวา อาหารแปงและน้ำตาล อาหารมัน การละเลยตอสุขภาพ ความเครียด ความ ผิดปกติของตับและตับออน ความดันโลหิตสูงลวนเปนสาเหตุของโรคเบาหวานได สวน ความเชื่อที่วาเบาหวานเปนผลมาจากสิ่งเหนือธรรมชาติ (กรรม พระเจา และการผิดจารีต ประเพณี) พบนอยมาก ผูวิจัยสรุปวาความเชื่อดานสาเหตุและดานปจจัยเสี่ยงตอโรค เบาหวานสอดคลองกับขอเท็จจริงทางการแพทยแผนปจจุบัน นอกจากนี้ ยังไดศึกษาความ เชื่อเกี่ยวกับอาการโรคและการรักษาโรค พบวา ความเชื่อดานอาการของโรคเบาหวานตรง กับขอเท็จจริงทางการแพทย สำหรับประเด็นการรักษาเบาหวานดวยยา ผูปวยสวนใหญมี ความเชื่อวา ยาแผนปจจุบันดีตอโรคเบาหวาน และยังเชื่อวาสมุนไพรและของรสขมรักษา โรคเบาหวานได สมุนไพรที่เชื่อวา ไดผลดีในการรักษาเบาหวาน คือ ฟาทะลายโจรและเห็ด หลินจือ และในประเด็นดานจิตใจ ผูปวยจำนวนหนึ่งมีความเชื่อทางลบวาเบาหวานทำให ไมมีความสุขเทาคนปกติ ทำใหขาดความมั่นใจ รูสึกไรคา ทอแท หมดกำลังใจ รวมทั้งเชื่อวา การทำงานผิดพลาดบอยเพราะโรคเบาหวาน งานวิจัยนี้เปนการเสนอมุมมองโรคเบาหวาน ของผูปวย และเสนอวาบุคลากรทางการแพทยควรเคารพในความเชื่อของผูปวย และหาวิธี การที่ทำใหทั้งสองฝายยอมรับซึ่งกันและกัน เพื่อผลการรักษาที่ดีที่สุด และมีการวางแผน คำแนะนำ และวิธีการรักษาเบาหวาน โดยคำนึงถึงความเชื่อของผูปวยเบาหวาน 2. การแสวงหาทางเลือกเพื่อดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน 2.1 มุมมองและพฤติกรรมการดูแลรักษาตนเองของผูปวยเบาหวาน เมื่ อ ผู ป ว ยเบาหวานได รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว า เป น โรคเบาหวาน ผู ป ว ยจะได รั บ การ ตรวจวัด และประเมินระดับน้ำตาลในเลือด การดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน จะไดรับการดูแล รักษาโดยทีมสหวิชาชีพดานสุขภาพ ผูปวยจะไดรับการรักษาดวยการใชยาแผนปจจุบัน 10
  • 32. การดูแลรักษาโรคเบาหวานดวยภูมิปญญาการแพทยพื้นบาน และโปรแกรมสุขศึกษาหรือชุดแนะนำสำหรับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตามแนวทางการ ดูแลรักษาเบาหวานของแตละโรงพยาบาล คำปรึกษาหรือคำแนะนำดานสุขภาพอาจเกิดขึ้น ในระดับบุคคลหรือระดับกลุม โปรแกรมการดูแลสุขภาพเปนลักษณะทั่วไป และมีความ ครอบคลุม 4 ดาน คือ พฤติกรรมการบริโภค / การควบคุมอาหาร พฤติกรรมการออกกำลัง กาย พฤติกรรมการใชยา และติดตามการรักษาโรคดวยตนเอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ การปองกันและแกไขภาวะแทรกซอน จากการสำรวจการดูแลรักษาตนเองของผูปวย เบาหวานในภาพรวม ผูปวยเบาหวานที่ควบคุมโรคเบาหวานไดดีมีจำนวนรอยละ 12 เทานั้น และการเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมที่ ผู ป ว ยเบาหวานปฏิ บั ติ ไ ด ย ากลำบากมากที่ สุ ด คื อ พฤติกรรมดานอาหาร และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ภาพที่ 1 กลุมผูปวยเบาหวาน ภาพที่ 2 กลุมผูปวยเบาหวาน การดูแลตนเองหรือการจัดการตนเอง (self – care management) ของผูปวย เบาหวาน เปนการดูแลรักษาตนเองที่สัมพันธกับปจจัยภายในตนเอง และปจจัย / เงื่อนไข ภายนอกของผูปวยเบาหวานอยางเปนพลวัต ตอเนื่องและไมตอเนื่อง อีกทั้งมีลักษณะ เฉพาะของผูปวยเบาหวานแตละบุคคล จากงานวิจัยเชิงคุณภาพของ วรรณภา ศรีธัญรัตน (อางในเทพ หิมะทองคำและคณะ : 2547) พบวา ปรากฏการณของการดูแลตนเองของ ผูปวยเบาหวาน แบงระยะการดูแลตนเองเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะกอนและภายหลัง ไดรับการวินิจฉัยโรค ระยะที่ 2 ระยะจัดการตนเอง และระยะที่ 3 ระยะจัดการดูแลตนเอง 11