SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
เฉลยละเอียด
ข้อสอบ กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
วิธีทํา จากกฎการวนลูปของ 𝑖𝑖
𝑖𝑖 = √−1 𝑖𝑖2
= −1 𝑖𝑖3
= −𝑖𝑖 𝑖𝑖4
= 1
ดังนั้น 𝑧𝑧 =
1
𝑖𝑖7 +
1
𝑖𝑖5 +
1
𝑖𝑖3 + 𝑖𝑖
=
1
−𝑖𝑖
+
1
𝑖𝑖
+
1
−𝑖𝑖
+ 𝑖𝑖
= −
𝑖𝑖
𝑖𝑖2 + 𝑖𝑖
= −
𝑖𝑖
−1
+ 𝑖𝑖
จะได้ว่า 𝑧𝑧 = 2𝑖𝑖
เพราะฉะนั้น |𝑧𝑧2| = |4𝑖𝑖2| = |4(−1)| = 4 ตอบ
วิธีทํา จะได้ว่า log2�3log 3 16� = log2 16
เพราะฉะนั้น log2�3log 3 16
� = 4 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 1
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑛𝑛 หาร 166 และ 1101 แล้วเหลือเศษ 1
จะได้ว่า 𝑛𝑛 หาร 165 และ 1100 ลงตัว
จะได้ว่า 𝑛𝑛 = ห. ร. ม. (165 , 1100)
เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛 = 55 ตอบ
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า arcsin(𝑥𝑥2 − 3𝑥𝑥 + 1) = −
π
2
ดังนั้น 𝑥𝑥2
− 3𝑥𝑥 + 1 = −1
𝑥𝑥2
− 3𝑥𝑥 + 2 = 0
(𝑥𝑥 − 2)(𝑥𝑥 − 1) = 0
จะได้ว่า 𝑥𝑥 = 1 , 2 ตอบ
ส่วนคําถามนั้น ไม่มีสาระสําคัญอะไร
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 2
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ + 𝑏𝑏�⃑ ⊥ 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ − 𝑏𝑏�⃑
จะได้ว่า �𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ + 𝑏𝑏�⃑� ∙ �𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ − 𝑏𝑏�⃑� = 0
𝑚𝑚2|𝑎𝑎⃑|2 − �𝑏𝑏�⃑�
2
= 0
แทนค่า |𝑎𝑎⃑| = 2 และ �𝑏𝑏�⃑� = 5 และโจทย์บอกว่า 𝑚𝑚 เป็นจํานวนจริงบวก
เพราะฉะนั้น 𝑚𝑚 =
5
2 ตอบ
วิธีทํา เนื่องจากโจทย์กําหนดการ Row Operation คือ 𝑅𝑅2 − 3𝑅𝑅1
แสดงว่าแถวที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ แถวที่ 2 เท่านั้น
จะได้ว่า 𝑎𝑎 = −1 และ 𝑐𝑐 = 2 เหมือนเดิม
และจะได้ว่า 7 = 𝑏𝑏 − 3𝑎𝑎 𝑏𝑏 = 4
เพราะฉะนั้น 𝑎𝑎 + 𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 = 5 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 3
วิธีทํา จะได้ว่า 𝑥𝑥̅ =
(22×17)+(23×16)+(25×14)+(30×15)
22+23+25+30
เพราะฉะนั้น ค่าเฉลี่ยของนํ้าหนักของนักเรียนในโรงเรียน เท่ากับ 15.42 กิโลกรัม ตอบ
วิธีทํา จากทฤษฎีบททวินาม (𝑎𝑎 − 𝑏𝑏)𝑛𝑛
= ∑ (−1)𝑟𝑟
�𝑛𝑛
𝑟𝑟
�𝑎𝑎𝑛𝑛−𝑟𝑟
𝑏𝑏𝑟𝑟𝑛𝑛
𝑟𝑟=0
แทน 𝑎𝑎 = 7 , 𝑏𝑏 = 5 และ 𝑛𝑛 = 6
จะได้ว่า (7 − 5)6
= ∑ (−1)𝑟𝑟
�6
𝑟𝑟
�76−𝑟𝑟
5𝑟𝑟6
𝑟𝑟=0
เพราะฉะนั้น ∑ (−1)𝑟𝑟�6
𝑟𝑟
�76−𝑟𝑟5𝑟𝑟6
𝑟𝑟=0 = 64 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 4
วิธีทํา ลองแทน 𝑥𝑥 = 0 ก่อน พบว่าเกิด
0
0
จึงเป็นรูปแบบของ Indeterminate form
ลองจัดรูปดู จะได้ว่า โจทย์ = lim
𝑥𝑥→0
1+7𝑥𝑥+6𝑥𝑥2−1
𝑥𝑥
= lim
𝑥𝑥→0
𝑥𝑥(7+6𝑥𝑥)
𝑥𝑥
= lim
𝑥𝑥→0
(7 + 6𝑥𝑥)
ดังนั้น lim
𝑥𝑥→0
(1+𝑥𝑥)(1+6𝑥𝑥)−1
𝑥𝑥
= 7 ตอบ
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า ∑ (−1)𝑛𝑛
𝑥𝑥3𝑛𝑛∞
𝑛𝑛=0 = ∑ (−1)𝑛𝑛
�
1
3
�
𝑛𝑛
∞
𝑛𝑛=0
= ∑ �−
1
3
�
𝑛𝑛
∞
𝑛𝑛=0
=
1
1−�−
1
3
�
เพราะฉะนั้น ∑ (−1)𝑛𝑛
𝑥𝑥3𝑛𝑛∞
𝑛𝑛=0 =
3
4 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 5
วิธีทํา จากโจทย์ลองแทน
𝑘𝑘
𝑚𝑚
ในทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะดูก่อน
จะได้ว่า
𝑘𝑘
𝑚𝑚
= ±1 , ±3 , ±
1
2
, ±
3
2
, ±
1
4
, ±
3
4
, ±
1
8
, ±
3
8
พบว่า เมื่อลองแทน𝑥𝑥 = −1จะทําให้สมการเป็นจริง
จะได้ว่า (𝑥𝑥 + 1)(8𝑥𝑥2
− 2𝑥𝑥 − 3) = 0
(𝑥𝑥 + 1)(4𝑥𝑥 − 3)(2𝑥𝑥 + 1) = 0
ดังนั้น 𝑥𝑥 = −1 ,
3
4
, −
1
2
เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥1 + 𝑥𝑥3 = −1 +
3
4
= −
1
4 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 6
วิธีทํา จากทฤษฎีบทของเดอมัวร์ มุมจะแบ่งทีละ120°
จะได้ว่า 𝑧𝑧2 = √2(cos 135° + 𝑖𝑖 sin 135°)
และ 𝑧𝑧3 = √2(cos 255° + 𝑖𝑖 sin 255°)
เพราะฉะนั้น 𝑧𝑧2 𝑧𝑧3 = 2(cos(255° + 135°) + 𝑖𝑖 sin(255° + 135°))
= 2(cos 390° + 𝑖𝑖 sin 390°)
= 2(cos 30° + 𝑖𝑖 sin 30°)
= 2 �
√3
2
+
1
2
𝑖𝑖�
เพราะฉะนั้น 𝑧𝑧2 𝑧𝑧3 = √3 + 𝑖𝑖 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 7
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 ห่างกันอยู่2
ดังนั้น 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 จะต้องเป็นเลขคู่ทั้งคู่ หรือเลขคี่ทั้งคู่
แต่ว่าโจทย์บอกว่า ค. ร. น. [ 𝑚𝑚, 𝑛𝑛] = 180
ดังนั้น 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 จะต้องเป็นเลขคู่ทั้งคู่
พิจารณา ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛)
ดังนั้น ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) = ห. ร. ม. (𝑛𝑛 + 2 , 𝑛𝑛)
= ห. ร. ม. (𝑛𝑛 + 2 − 𝑛𝑛 , 𝑛𝑛)
= ห. ร. ม. (2 , 𝑛𝑛)
แต่เนื่องจาก 𝑚𝑚 , 𝑛𝑛 เป็นเลขคู่ทั้งคู่
เพราะฉะนั้น ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) = 2
ดังนั้น 𝑚𝑚𝑚𝑚 = ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) × ค. ร. น. [ 𝑚𝑚, 𝑛𝑛]
= 180 × 2
เพราะฉะนั้น 𝑚𝑚𝑚𝑚 = 360 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 8
วิธีทํา พิจารณาข้อ (ก)
เนื่องจาก −1 ≤ sin 𝜃𝜃 ≤ 1
จะได้ว่า | 𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑| = |𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| sin 𝜃𝜃 ≤ | 𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| ดังนั้น ข้อ (ก) จึงถูกต้อง
พิจารณาข้อ (ข)
จะได้ว่า 𝑢𝑢�⃑ × (𝑢𝑢�⃑ + 𝑣𝑣⃑) = (𝑢𝑢�⃑ × 𝑢𝑢�⃑) + (𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) = 0�⃑ + (𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) = 𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑
ดังนั้น ข้อ (ข) จึงถูกต้อง
พิจารณาข้อ (ค)
จะได้ว่า โจทย์ = (|𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| sin 𝜃𝜃)2 + (|𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| cos 𝜃𝜃)2 = | 𝑢𝑢�⃑|2|𝑣𝑣⃑|2
ดังนั้น ข้อ (ค) จึงถูกต้อง
พิจารณาข้อ (ง)
จะได้ว่า โจทย์ = 25[(𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) ∙ 𝑣𝑣⃑] = 25[(𝑣𝑣⃑ × 𝑣𝑣⃑) ∙ 𝑢𝑢�⃑] = 25(0) = 0
ดังนั้น ข้อ (ง) จึงผิด
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 9
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า
cos2
2𝐴𝐴 + 2 cos 2𝐴𝐴 cos 𝐵𝐵 + cos2
𝐵𝐵
sin2
2𝐴𝐴 + 2 sin 2𝐴𝐴 sin 𝐵𝐵 + sin2
𝐵𝐵
ดังนั้น 2 cos 2𝐴𝐴 cos 𝐵𝐵 + 2 sin 2𝐴𝐴 sin 𝐵𝐵 = 1
จะได้ว่า cos(2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵) =
1
2
แสดงว่า 2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵 = 60° หรือ 2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵 = −60°
แต่จากโจทย์บอกว่า 𝐴𝐴 + 𝐵𝐵 + 𝐶𝐶 = 180° และ 𝐶𝐶 = 90°
จะได้ว่า 𝐴𝐴 + 𝐵𝐵 = 90°
เมื่อแก้สมการ จะได้คําตอบ2 กรณี คือ (1) 𝐴𝐴 = 50° และ 𝐵𝐵 = 40°
(2) 𝐴𝐴 = 10° และ 𝐵𝐵 = 80°
แต่จากโจทย์บอกว่า 𝐴𝐴 < 𝐵𝐵
เพราะฉะนั้น 𝐴𝐴 = 10° ดังนั้น tan 3𝐴𝐴 =
1
√3
= 3
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 10
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า ไฮเพอร์โบลานี้เป็นไฮเพอร์โบลานอน และมี 𝑐𝑐 = √9 + 16 = 5
จะได้ว่า ไฮเพอร์โบลานี้มีจุดโฟกัสอยู่ที่ (−5,2) , (5,2)
แต่โจทย์บอกว่า 𝐹𝐹 อยู่ในควอดรันต์ที่ 1 𝐹𝐹 มีพิกัดคือ (5,2)
และจากโจทย์จะได้ว่าสมการเส้นกํากับ คือ
𝑥𝑥2
9
=
(𝑦𝑦−2)2
16
จะได้ว่า สมการเส้นกํากับ คือ
𝑥𝑥
3
= ±
𝑦𝑦−2
4
4𝑥𝑥 − 3𝑦𝑦 + 6 = 0
เนื่องจากสมการเส้นกํากับเป็นเส้นสัมผัสของวงกลม
จะได้ว่า รัศมีนั้น คือ ระยะจากจุดศูนย์กลางไปตั้งฉากกับเส้นกํากับ
ดังนั้น 𝑟𝑟 =
|4(5)−3(2)+6|
√32+42
เพราะฉะนั้น รัศมีของวงกลมนี้จะยาวเท่ากับ 4 หน่วย ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 11
วิธีทํา จากสมการ 2𝑥𝑥
∙ 2𝑥𝑥+1
∙ 2𝑥𝑥+2
= 4𝑥𝑥
+ 4𝑥𝑥+1
+ 4𝑥𝑥+2
2𝑥𝑥
∙ 2 ∙ 2𝑥𝑥
∙ 22
∙ 2𝑥𝑥
= (2𝑥𝑥)2
+ 4 ∙ (2𝑥𝑥)2
+ 42
∙ (2𝑥𝑥)2
8 ∙ (2𝑥𝑥)3
= 21(2𝑥𝑥)2
จะได้ว่า 8 ∙ (2𝑥𝑥)3
− 21(2𝑥𝑥)2
= 0
(2𝑥𝑥)2(8(2𝑥𝑥) − 21) = 0
เนื่องจาก 2𝑥𝑥
มีค่าเป็นบวกเสมอ
จะได้ว่า 2𝑥𝑥
=
21
8
เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥 = log2
21
8 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 12
วิธีทํา จากสมการ log2 𝑥𝑥 + 6 log𝑥𝑥 2 − 5 = 0
จะได้ว่า log2 𝑥𝑥 +
6
log 2 𝑥𝑥
− 5 = 0
คูณ log2 𝑥𝑥 ตลอด
จะได้ว่า (log2 𝑥𝑥)2
− 5 log2 𝑥𝑥 + 6 = 0
(log2 𝑥𝑥 − 3)(log2 𝑥𝑥 − 2) = 0
ดังนั้น log2 𝑥𝑥 = 3 , 2
เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥 = 8 , 4 ตอบ
ส่วนคําถามนั้น ไม่มีสาระสําคัญอะไร
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 13
วิธีทํา จากนิยาม 𝐴𝐴−1 =
1
det 𝐴𝐴
adj 𝐴𝐴 แสดงว่า เราจะต้องหา det 𝐴𝐴 และ adj 𝐴𝐴 ให้ได้
จากสูตร 𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴) = (−1)𝑖𝑖+𝑗𝑗 𝑀𝑀𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴)
ดังนั้น �𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴)� = �
1 1 2
−3 2 4
5 −1 3
�
เนื่องจาก adj 𝐴𝐴 = �𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴)�
𝑡𝑡
เพราะฉะนั้น adj 𝐴𝐴 = �
1 −3 5
1 2 −1
2 4 3
�
จากสูตร det(adj 𝐴𝐴) = (det 𝐴𝐴)𝑛𝑛−1
จากการคํานวณ พบว่า det(adj 𝐴𝐴) = 25
ดังนั้น 25 = (det 𝐴𝐴)3−1
เพราะฉะนั้น det 𝐴𝐴 = 5
เพราะฉะนั้น 𝑏𝑏11 + 𝑏𝑏12 + 𝑏𝑏13 =
1
5
−
3
5
+ 1 =
3
5 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 14
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑃𝑃20 = 50.5
จะได้ว่า ถ้าเราทําคะแนนได้50.5 คะแนน จะชนะคนได้20% ของนักเรียนทั้งหมด
นั้นคือ จํานวนนักเรียนในสองชั้นแรก จะคิดเป็น 20% ของนักเรียนทั้งหมด
ดังนั้น
𝑥𝑥+6
80
=
20
100
จะได้ว่า 𝑥𝑥 = 10
เนื่องจากเรารู้ว่ามีนักเรียนอยู่ทั้งหมด 80 คน
ดังนั้น จะได้ 𝑦𝑦 = 8
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 15
ข้อ 20 (ต่อ) :
จากโจทย์บอกว่า นักเรียนที่ได้เกรด A จะต้องได้คะแนนในกลุ่มสูงสุด10%
เพราะฉะนั้น คะแนนตํ่าสุดของนักเรียนเกรด A จะมีค่าเท่ากับ 𝑃𝑃90
ซึ่ง 𝑃𝑃90 จะเป็นข้อมูลตัวที่
90
100
(80) = 72
ซึ่งข้อมูลตัวที่ 72 จะตกที่ชั้น 81 − 90 คะแนน
โดยความถี่สะสมของชั้นก่อนหน้า จะเท่ากับ69 คน
และความถี่สะสมของชั้นนี้ จะเท่ากับ 77 คน
จากกฎการเทียบเปอร์เซ็นไทล์
จะได้ว่า ข้อมูลตัวที่ 69 = ขอบล่างของชั้นนั้น = 80.5
. ข้อมูลตัวที่ 72 = 𝑃𝑃90
ข้อมูลตัวที่ 77 = ขอบบนของชั้นนั้น = 90.5
จากการเทียบสัดส่วน จะได้ว่า
𝑃𝑃90−80.5
90.5−80.5
=
72−69
77−69
ดังนั้น 𝑃𝑃90 = 84.25
เพราะฉะนั้น คะแนนตํ่าสุดของนักเรียนที่ได้เกรด A จะเท่ากับ 84.25 คะแนน ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 16
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า จะสามารถสร้างคู่อันดับได้ทั้งหมด 100 คู่อันดับ
แต่พบว่าจะมีคู่อันดับที่ทําให้ 𝑥𝑥2
+ 𝑦𝑦2
< 25
ได้แก่ (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (3,1) ,
(3,2) , (3,3) , (4,1) , (4,2) (ค่อยๆไล่ไปเรื่อยๆ)
ซึ่งมีทั้งหมด 13 คู่อันดับ
เพราะฉะนั้น ความน่าจะเป็นที่สุ่มคู่อันดับในเซต 𝑆𝑆 แล้วตรงกับเงื่อนไข เท่ากับ
13
100 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 17
วิธีทํา จากโจทย์บอกว่า มีคนสอบได้มากกว่า80 คะแนนอยู่10%
และ มีคนสอบได้น้อยกว่า40 คะแนนอยู่10%
จะได้ว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิตควรจะอยู่กึ่งกลาง 40 และ 80 คะแนน
เพราะฉะนั้น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบจะเท่ากับ60 คะแนน
เมื่อเทียบกับตารางพื้นที่เส้นโค้งปกติ จะได้ว่า คะแนนมาตรฐานของ 80 คะแนนเท่ากับ 1.28
จะได้ว่า 1.28 =
80−60
𝜎𝜎
𝜎𝜎 = 15.625
ดังนั้น คะแนนมาตรฐานของ65 คะแนน เท่ากับ
65−60
15.625
ดังนั้น 𝑧𝑧 = 0.32
เมื่อเทียบตารางพื้นที่เส้นโค้งปกติ จะได้ว่า จากตรงกลางถึง 65 คะแนน มีพื้นที่ 0.1255
เพราะฉะนั้น จะมีคนได้มากกว่า65 คะแนนอยู่37.45% ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 18
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑓𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥𝑥 = 1
จะได้ว่า 𝑓𝑓(1) = 𝑔𝑔(1) = lim
𝑥𝑥→1+
(𝑥𝑥3
+ 2𝑥𝑥)
เพราะฉะนั้น 𝑔𝑔(1) = 3
จากโจทย์(𝑓𝑓 ∘ 𝑔𝑔)′ (1) = 58
จะได้ว่า 𝑓𝑓′ �𝑔𝑔(1)� ∙ 𝑔𝑔′ (1) = 58
𝑓𝑓′ (3) ∙ 𝑔𝑔′ (1) = 58 ---------------- (*)
เนื่องจาก 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥3 + 2𝑥𝑥 เมื่อ 𝑥𝑥 > 1
ดังนั้น 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 3𝑥𝑥2 + 2 เมื่อ 𝑥𝑥 > 1
เพราะฉะนั้น 𝑓𝑓′ (3) = 29
นําไปแทนใน (*) ดังนั้น 𝑔𝑔′ (1) = 2 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 19
วิธีทํา จากโจทย์บอกว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 4𝑥𝑥 + 1
จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 2𝑥𝑥2
+ 𝑥𝑥 + 𝐶𝐶
แต่เนื่องจาก 𝑓𝑓 ผ่านจุด (1,0)
ดังนั้น 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 2𝑥𝑥2
+ 𝑥𝑥 − 3
จากโจทย์บอกว่า 𝐹𝐹(𝑥𝑥) = ∫ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) 𝑑𝑑𝑑𝑑
จะหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝐹𝐹
เนื่องจาก 𝑥𝑥 จะเป็นจุดวิกฤต เมื่อ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 0
ดังนั้น 2𝑥𝑥2 + 𝑥𝑥 − 3 = 0
(2𝑥𝑥 + 3)(𝑥𝑥 − 1) = 0
แสดงว่า 𝑥𝑥วิกฤต = −
3
2
, 1
ตรวจสอบ 𝐹𝐹′′ (𝑥𝑥) = 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) เพื่อหาว่าเป็นจุดสูงสุดหรือตํ่าสุด
แทน 𝑥𝑥 = −
3
2
จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) < 0
แทน 𝑥𝑥 = 1 จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) > 0
เพราะฉะนั้น 𝐹𝐹(𝑥𝑥) จะมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥𝑥 = −
3
2 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 20
วิธีทํา ลองทํา 𝑆𝑆𝑛𝑛 ในรูปของซิกมา
จะได้ว่า 𝑆𝑆𝑛𝑛 = ∑ �𝑎𝑎𝑖𝑖
+ 1�
2𝑛𝑛
𝑖𝑖=1
= ∑ �𝑎𝑎2𝑖𝑖
+ 2𝑎𝑎𝑖𝑖
+ 1�𝑛𝑛
𝑖𝑖=1
= ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 + 2 ∑ 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 + ∑ 1𝑛𝑛
𝑖𝑖=1
เนื่องจาก ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 𝑎𝑎2
และมีพจน์แรกคือ 𝑎𝑎2
เพราะฉะนั้น ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 =
𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 �
1−𝑎𝑎2
เนื่องจาก ∑ 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 𝑎𝑎 และมีพจน์แรกคือ 𝑎𝑎
เพราะฉะนั้น ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛
𝑖𝑖=1 =
𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 )
1−𝑎𝑎
เพราะฉะนั้น 𝑆𝑆𝑛𝑛 =
𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 �
1−𝑎𝑎2 +
2𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 )
1−𝑎𝑎
+ 𝑛𝑛
ดังนั้น lim
𝑛𝑛→∞
(𝑆𝑆𝑛𝑛 − 𝑛𝑛) = lim
𝑛𝑛→∞
�
𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 �
1−𝑎𝑎2 +
2𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 )
1−𝑎𝑎
�
=
𝑎𝑎2�1− lim
𝑛𝑛→∞
𝑎𝑎2𝑛𝑛 �
1−𝑎𝑎2 +
2𝑎𝑎�1− lim
𝑛𝑛→∞
𝑎𝑎 𝑛𝑛 �
1−𝑎𝑎
เนื่องจาก |𝑎𝑎| < 1
ดังนั้น lim
𝑛𝑛→∞
𝑎𝑎2𝑛𝑛 = lim
𝑛𝑛→∞
𝑎𝑎𝑛𝑛 = 0
เพราะฉะนั้น lim
𝑛𝑛→∞
(𝑆𝑆𝑛𝑛 − 𝑛𝑛) =
𝑎𝑎2
1−𝑎𝑎2 +
2𝑎𝑎
1−𝑎𝑎
=
3𝑎𝑎2+2𝑎𝑎
1−𝑎𝑎2 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 21
วิธีทํา เนื่องจาก 𝑎𝑎1 , 𝑎𝑎2 , 𝑎𝑎3 , … , 𝑎𝑎9 เป็นลําดับเลขคณิต
แสดงว่า ข้อมูลจะเรียงจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย
แสดงว่า มัธยฐานของข้อมูล ก็คือ 𝑎𝑎5 = 15
(𝑎𝑎5 − 4𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 − 3𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 − 2𝑑𝑑)
เพราะฉะนั้น ผลบวกของ 𝑎𝑎1 ถึง 𝑎𝑎9 = (𝑎𝑎5 − 𝑑𝑑) + 𝑎𝑎5 + (𝑎𝑎5 + 𝑑𝑑)
(𝑎𝑎5 + 2𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 + 3𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 + 4𝑑𝑑)
= 9𝑎𝑎5
ดังนั้น ผลบวกของ 𝑎𝑎1 ถึง 𝑎𝑎9 จะเท่ากับ 135 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 22
วิธีทํา พิจารณาหลักหน่วยของ 4999
เนื่องจาก 41 มีหลักหน่วยเท่ากับ 4
42
มีหลักหน่วยเท่ากับ 6
43
มีหลักหน่วยเท่ากับ 4
44 มีหลักหน่วยเท่ากับ 6
จึงสามารถสรุปได้ว่า 4999
มีหลักหน่วยเท่ากับ 4
พิจารณาหลักหน่วยของ 9999
เนื่องจาก 91
มีหลักหน่วยเท่ากับ 9
92
มีหลักหน่วยเท่ากับ 1
93
มีหลักหน่วยเท่ากับ 9
94
มีหลักหน่วยเท่ากับ 1
จึงสามารถสรุปได้ว่า 9555 มีหลักหน่วยเท่ากับ 9
ดังนั้น 4999 + 9555 มีหลักหน่วยเท่ากับ 3
เพราะฉะนั้น 4999
+ 9555
หารด้วย 5 จะเหลือเศษ 3
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 23
วิธีทํา จากโจทย์พบว่า 𝑆𝑆 จะมีจํานวนสมาชิกเท่ากับ 103
= 1000
จะหาจํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข
กรณีที่ 1 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 1 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 2,3,4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 92
วิธี
กรณีที่ 2 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 2 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 3,4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 82
วิธี
กรณีที่ 3 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 3 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้72 วิธี
กรณีที่ 4 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 4 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 62
วิธี
กรณีที่ 5 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 5 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้52
วิธี
กรณีที่ 6 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 6 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 42
วิธี
กรณีที่ 7 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 7 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 32
วิธี
กรณีที่ 8 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 8 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 9,10 ซึ่งสร้างได้22 วิธี
กรณีที่ 9 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 9 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 10 ซึ่งสร้างได้ 12
วิธี
ดังนั้น จํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข = 12 + 22 + ⋯ + 92
=
9
6
(9 + 1)(18 + 1)
จะได้ว่า จํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข มีทั้งหมด 285 เมตริกซ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะสุ่มเมตริกซ์แล้วตรงตามเงื่อนไข จะเท่ากับ
285
1000 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 24
วิธีทํา กรณีที่1 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 มีค่าเป็นบวก
จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = 2𝑎𝑎𝑎𝑎 ซึ่งมีค่าเป็นบวก
เนื่องจากเราใช้ 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ซํ้ากันได้จึงต้องแบ่งเป็นอีก 2 กรณี
กรณีที่ 1.1 𝑎𝑎 ≠ 𝑏𝑏
เนื่องจาก ลําดับไม่มีผลต่อผลคูณจึงต้องเลือกตัวเลขแบบไม่สนใจลําดับ
ดังนั้น ในกรณีนี้จะเลือก 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ได้�6
2
� = 15 วิธี
เนื่องจากจํานวนในเซต 𝑆𝑆 ทั้งหมดเป็นจํานวนเฉพาะ
จึงมั่นใจได้ว่าเมื่อนําตัวเลขมาคูณกันแล้ว จะได้ผลลัพธ์ที่ไม่ซํ้ากันเลย
กรณีที่ 1.2 𝑎𝑎 = 𝑏𝑏
จะได้ว่า 𝑏𝑏 ต้องเลือกตาม 𝑎𝑎
ดังนั้น ในกรณีนี้จะเลือก 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ได้6 วิธี
เมื่อรวมทั้ง 2 กรณี จะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด 21 ตัว
กรณีที่ 2 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 มีค่าเป็นลบ
จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = −2𝑎𝑎𝑎𝑎 ซึ่งมีค่าเป็นลบ
ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด เป็นจํานวนตรงข้ามของกรณีแรก
จะได้ว่า กรณีนี้จะได้ผลลัพธ์อีก 21 ตัว
กรณีที่ 3 ตัวนึงเป็นบวก อีกตัวเป็นลบ
จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = 0 เสมอ ได้ผลลัพธ์อีก 1 วิธี
เมื่อรวมทั้ง 3 กรณี จะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด 43 วิธี ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 25
วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥(𝑥𝑥 + 3)(𝑥𝑥 − 3)
ดังนั้น 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥3 − 9𝑥𝑥
จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 3𝑥𝑥2
− 9
เนื่องจาก 𝑥𝑥 จะเป็นจุดวิกฤต เมื่อ 𝑓𝑓′(𝑥𝑥) = 0
ดังนั้น 𝑥𝑥วิกฤต = −√3 , √3
แทนค่าค่าวิกฤตใน 𝑓𝑓(𝑥𝑥)
จะได้ว่า 𝑚𝑚 = −6√3 และ 𝑀𝑀 = 6√3
ดังนั้น 𝑆𝑆 = �𝑎𝑎 | 𝑎𝑎 เป็นจํานวนเต็ม ซึ่ง − 6√3 ≤ 𝑓𝑓(𝑎𝑎) ≤ 6√3�
แก้อสมการ −6√3 ≤ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≤ 6√3
สมมติว่าแก้อสมการเสร็จแล้ว(ดูวิธีการแก้ในหน้าต่อไป)
จะได้ว่า เซตคําตอบของอสมการ คือ �−2√3 , 2√3�
ดังนั้น 𝑆𝑆 = {−3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3}
เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛(𝑆𝑆) = 7 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 26
ข้อ 30 (ต่อ) :
จะแก้อสมการ −6√3 ≤ 𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 ≤ 6√3
ดังนั้น 𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 ≥ −6√3 และ 𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 ≤ 6√3
แก้อสมการ 𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 ≥ −6√3
𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 + 6√3 ≥ 0
�𝑎𝑎 − √3�
2
�𝑎𝑎 + 2√3� ≥ 0
จะได้ว่า 𝑎𝑎 ≥ −2√3
แก้อสมการ 𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 ≤ 6√3
𝑎𝑎3
− 9𝑎𝑎 − 6√3 ≤ 0
�𝑎𝑎 + √3�
2
�𝑎𝑎 − 2√3� ≤ 0
จะได้ว่า 𝑎𝑎 ≤ 2√3
เพราะฉะนั้น เซตคําตอบของอสมการนี้ คือ�−2√3 , 2√3�
จริงๆแล้ว ข้อนี้มีวิชามารในการจะหาเซต 𝑆𝑆 เช่นกัน
ลองใช้การวาดกราฟของ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) คร่าวๆดูก่อน
M พบว่า ตั้งแต่ 𝑥𝑥 = −3 จนถึง 𝑥𝑥 = 3
จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) อยู่ระหว่าง 𝑚𝑚 และ 𝑀𝑀 ทั้งหมด
-3 3
m ลองแทน 𝑥𝑥 = 4 จะได้ว่า 𝑓𝑓(4) = 28 > 𝑀𝑀
ลองแทน 𝑥𝑥 = −4 จะได้ว่า 𝑓𝑓(−4) = −28 < 𝑚𝑚
ดังนั้น จํานวนเต็ม 𝑎𝑎 ซึ่งทําให้ 𝑚𝑚 ≤ 𝑓𝑓(𝑎𝑎) ≤ 𝑀𝑀 จะมีแค่ −3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3
ดังนั้น 𝑆𝑆 = {−3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3} เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛(𝑆𝑆) = 7 ตอบ
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 27
เฉลยไม่ละเอียด
ข้อสอบ กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
1. 4 16. ตอบข้อ 2
2. 55 17. ตอบข้อ 2
3. 3 18. ตอบข้อ 3
4. 2.5 19. ตอบข้อ 3
5. 5 20. ตอบข้อ 4
6. 4 21. ตอบข้อ 1
7. 15.42 22. ตอบข้อ 1
8. 64 23. ตอบข้อ 5
9. 7 24. ตอบข้อ 2
10. 0.75 25. ตอบข้อ 5
11. ตอบข้อ 2 26. ตอบข้อ 3
12. ตอบข้อ 5 27. ตอบข้อ 4
13. ตอบข้อ 3 28. ตอบข้อ 5
14. ตอบข้อ 4 29. ตอบข้อ 1
15. ตอบข้อ 3 30. ตอบข้อ 4
เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 28

More Related Content

What's hot

เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50Chawasanan Yisu
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต komeeyun
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558ครู กรุณา
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามkroojaja
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50
 
เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25609 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
 

Similar to เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557

คณิต
คณิตคณิต
คณิตBoyle606
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557jjrrwnd
 
exam57
exam57exam57
exam57sarwsw
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2AreeyaNualjon
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตMashmallow Korn
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogSutthi Kunwatananon
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 

Similar to เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 (20)

คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
 
math
mathmath
math
 
exam57
exam57exam57
exam57
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat15711
 
การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)การบวกจำนวนเต็ม (2)
การบวกจำนวนเต็ม (2)
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557

  • 1. เฉลยละเอียด ข้อสอบ กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 วิธีทํา จากกฎการวนลูปของ 𝑖𝑖 𝑖𝑖 = √−1 𝑖𝑖2 = −1 𝑖𝑖3 = −𝑖𝑖 𝑖𝑖4 = 1 ดังนั้น 𝑧𝑧 = 1 𝑖𝑖7 + 1 𝑖𝑖5 + 1 𝑖𝑖3 + 𝑖𝑖 = 1 −𝑖𝑖 + 1 𝑖𝑖 + 1 −𝑖𝑖 + 𝑖𝑖 = − 𝑖𝑖 𝑖𝑖2 + 𝑖𝑖 = − 𝑖𝑖 −1 + 𝑖𝑖 จะได้ว่า 𝑧𝑧 = 2𝑖𝑖 เพราะฉะนั้น |𝑧𝑧2| = |4𝑖𝑖2| = |4(−1)| = 4 ตอบ วิธีทํา จะได้ว่า log2�3log 3 16� = log2 16 เพราะฉะนั้น log2�3log 3 16 � = 4 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 1
  • 2. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑛𝑛 หาร 166 และ 1101 แล้วเหลือเศษ 1 จะได้ว่า 𝑛𝑛 หาร 165 และ 1100 ลงตัว จะได้ว่า 𝑛𝑛 = ห. ร. ม. (165 , 1100) เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛 = 55 ตอบ วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า arcsin(𝑥𝑥2 − 3𝑥𝑥 + 1) = − π 2 ดังนั้น 𝑥𝑥2 − 3𝑥𝑥 + 1 = −1 𝑥𝑥2 − 3𝑥𝑥 + 2 = 0 (𝑥𝑥 − 2)(𝑥𝑥 − 1) = 0 จะได้ว่า 𝑥𝑥 = 1 , 2 ตอบ ส่วนคําถามนั้น ไม่มีสาระสําคัญอะไร เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 2
  • 3. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ + 𝑏𝑏�⃑ ⊥ 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ − 𝑏𝑏�⃑ จะได้ว่า �𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ + 𝑏𝑏�⃑� ∙ �𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ − 𝑏𝑏�⃑� = 0 𝑚𝑚2|𝑎𝑎⃑|2 − �𝑏𝑏�⃑� 2 = 0 แทนค่า |𝑎𝑎⃑| = 2 และ �𝑏𝑏�⃑� = 5 และโจทย์บอกว่า 𝑚𝑚 เป็นจํานวนจริงบวก เพราะฉะนั้น 𝑚𝑚 = 5 2 ตอบ วิธีทํา เนื่องจากโจทย์กําหนดการ Row Operation คือ 𝑅𝑅2 − 3𝑅𝑅1 แสดงว่าแถวที่มีการเปลี่ยนแปลง คือ แถวที่ 2 เท่านั้น จะได้ว่า 𝑎𝑎 = −1 และ 𝑐𝑐 = 2 เหมือนเดิม และจะได้ว่า 7 = 𝑏𝑏 − 3𝑎𝑎 𝑏𝑏 = 4 เพราะฉะนั้น 𝑎𝑎 + 𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 = 5 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 3
  • 4. วิธีทํา จะได้ว่า 𝑥𝑥̅ = (22×17)+(23×16)+(25×14)+(30×15) 22+23+25+30 เพราะฉะนั้น ค่าเฉลี่ยของนํ้าหนักของนักเรียนในโรงเรียน เท่ากับ 15.42 กิโลกรัม ตอบ วิธีทํา จากทฤษฎีบททวินาม (𝑎𝑎 − 𝑏𝑏)𝑛𝑛 = ∑ (−1)𝑟𝑟 �𝑛𝑛 𝑟𝑟 �𝑎𝑎𝑛𝑛−𝑟𝑟 𝑏𝑏𝑟𝑟𝑛𝑛 𝑟𝑟=0 แทน 𝑎𝑎 = 7 , 𝑏𝑏 = 5 และ 𝑛𝑛 = 6 จะได้ว่า (7 − 5)6 = ∑ (−1)𝑟𝑟 �6 𝑟𝑟 �76−𝑟𝑟 5𝑟𝑟6 𝑟𝑟=0 เพราะฉะนั้น ∑ (−1)𝑟𝑟�6 𝑟𝑟 �76−𝑟𝑟5𝑟𝑟6 𝑟𝑟=0 = 64 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 4
  • 5. วิธีทํา ลองแทน 𝑥𝑥 = 0 ก่อน พบว่าเกิด 0 0 จึงเป็นรูปแบบของ Indeterminate form ลองจัดรูปดู จะได้ว่า โจทย์ = lim 𝑥𝑥→0 1+7𝑥𝑥+6𝑥𝑥2−1 𝑥𝑥 = lim 𝑥𝑥→0 𝑥𝑥(7+6𝑥𝑥) 𝑥𝑥 = lim 𝑥𝑥→0 (7 + 6𝑥𝑥) ดังนั้น lim 𝑥𝑥→0 (1+𝑥𝑥)(1+6𝑥𝑥)−1 𝑥𝑥 = 7 ตอบ วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า ∑ (−1)𝑛𝑛 𝑥𝑥3𝑛𝑛∞ 𝑛𝑛=0 = ∑ (−1)𝑛𝑛 � 1 3 � 𝑛𝑛 ∞ 𝑛𝑛=0 = ∑ �− 1 3 � 𝑛𝑛 ∞ 𝑛𝑛=0 = 1 1−�− 1 3 � เพราะฉะนั้น ∑ (−1)𝑛𝑛 𝑥𝑥3𝑛𝑛∞ 𝑛𝑛=0 = 3 4 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 5
  • 6. วิธีทํา จากโจทย์ลองแทน 𝑘𝑘 𝑚𝑚 ในทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะดูก่อน จะได้ว่า 𝑘𝑘 𝑚𝑚 = ±1 , ±3 , ± 1 2 , ± 3 2 , ± 1 4 , ± 3 4 , ± 1 8 , ± 3 8 พบว่า เมื่อลองแทน𝑥𝑥 = −1จะทําให้สมการเป็นจริง จะได้ว่า (𝑥𝑥 + 1)(8𝑥𝑥2 − 2𝑥𝑥 − 3) = 0 (𝑥𝑥 + 1)(4𝑥𝑥 − 3)(2𝑥𝑥 + 1) = 0 ดังนั้น 𝑥𝑥 = −1 , 3 4 , − 1 2 เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥1 + 𝑥𝑥3 = −1 + 3 4 = − 1 4 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 6
  • 7. วิธีทํา จากทฤษฎีบทของเดอมัวร์ มุมจะแบ่งทีละ120° จะได้ว่า 𝑧𝑧2 = √2(cos 135° + 𝑖𝑖 sin 135°) และ 𝑧𝑧3 = √2(cos 255° + 𝑖𝑖 sin 255°) เพราะฉะนั้น 𝑧𝑧2 𝑧𝑧3 = 2(cos(255° + 135°) + 𝑖𝑖 sin(255° + 135°)) = 2(cos 390° + 𝑖𝑖 sin 390°) = 2(cos 30° + 𝑖𝑖 sin 30°) = 2 � √3 2 + 1 2 𝑖𝑖� เพราะฉะนั้น 𝑧𝑧2 𝑧𝑧3 = √3 + 𝑖𝑖 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 7
  • 8. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 ห่างกันอยู่2 ดังนั้น 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 จะต้องเป็นเลขคู่ทั้งคู่ หรือเลขคี่ทั้งคู่ แต่ว่าโจทย์บอกว่า ค. ร. น. [ 𝑚𝑚, 𝑛𝑛] = 180 ดังนั้น 𝑚𝑚 และ 𝑛𝑛 จะต้องเป็นเลขคู่ทั้งคู่ พิจารณา ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) ดังนั้น ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) = ห. ร. ม. (𝑛𝑛 + 2 , 𝑛𝑛) = ห. ร. ม. (𝑛𝑛 + 2 − 𝑛𝑛 , 𝑛𝑛) = ห. ร. ม. (2 , 𝑛𝑛) แต่เนื่องจาก 𝑚𝑚 , 𝑛𝑛 เป็นเลขคู่ทั้งคู่ เพราะฉะนั้น ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) = 2 ดังนั้น 𝑚𝑚𝑚𝑚 = ห. ร. ม. ( 𝑚𝑚, 𝑛𝑛) × ค. ร. น. [ 𝑚𝑚, 𝑛𝑛] = 180 × 2 เพราะฉะนั้น 𝑚𝑚𝑚𝑚 = 360 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 8
  • 9. วิธีทํา พิจารณาข้อ (ก) เนื่องจาก −1 ≤ sin 𝜃𝜃 ≤ 1 จะได้ว่า | 𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑| = |𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| sin 𝜃𝜃 ≤ | 𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| ดังนั้น ข้อ (ก) จึงถูกต้อง พิจารณาข้อ (ข) จะได้ว่า 𝑢𝑢�⃑ × (𝑢𝑢�⃑ + 𝑣𝑣⃑) = (𝑢𝑢�⃑ × 𝑢𝑢�⃑) + (𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) = 0�⃑ + (𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) = 𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑ ดังนั้น ข้อ (ข) จึงถูกต้อง พิจารณาข้อ (ค) จะได้ว่า โจทย์ = (|𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| sin 𝜃𝜃)2 + (|𝑢𝑢�⃑||𝑣𝑣⃑| cos 𝜃𝜃)2 = | 𝑢𝑢�⃑|2|𝑣𝑣⃑|2 ดังนั้น ข้อ (ค) จึงถูกต้อง พิจารณาข้อ (ง) จะได้ว่า โจทย์ = 25[(𝑢𝑢�⃑ × 𝑣𝑣⃑) ∙ 𝑣𝑣⃑] = 25[(𝑣𝑣⃑ × 𝑣𝑣⃑) ∙ 𝑢𝑢�⃑] = 25(0) = 0 ดังนั้น ข้อ (ง) จึงผิด เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 9
  • 10. วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า cos2 2𝐴𝐴 + 2 cos 2𝐴𝐴 cos 𝐵𝐵 + cos2 𝐵𝐵 sin2 2𝐴𝐴 + 2 sin 2𝐴𝐴 sin 𝐵𝐵 + sin2 𝐵𝐵 ดังนั้น 2 cos 2𝐴𝐴 cos 𝐵𝐵 + 2 sin 2𝐴𝐴 sin 𝐵𝐵 = 1 จะได้ว่า cos(2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵) = 1 2 แสดงว่า 2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵 = 60° หรือ 2𝐴𝐴 − 𝐵𝐵 = −60° แต่จากโจทย์บอกว่า 𝐴𝐴 + 𝐵𝐵 + 𝐶𝐶 = 180° และ 𝐶𝐶 = 90° จะได้ว่า 𝐴𝐴 + 𝐵𝐵 = 90° เมื่อแก้สมการ จะได้คําตอบ2 กรณี คือ (1) 𝐴𝐴 = 50° และ 𝐵𝐵 = 40° (2) 𝐴𝐴 = 10° และ 𝐵𝐵 = 80° แต่จากโจทย์บอกว่า 𝐴𝐴 < 𝐵𝐵 เพราะฉะนั้น 𝐴𝐴 = 10° ดังนั้น tan 3𝐴𝐴 = 1 √3 = 3 เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 10
  • 11. วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า ไฮเพอร์โบลานี้เป็นไฮเพอร์โบลานอน และมี 𝑐𝑐 = √9 + 16 = 5 จะได้ว่า ไฮเพอร์โบลานี้มีจุดโฟกัสอยู่ที่ (−5,2) , (5,2) แต่โจทย์บอกว่า 𝐹𝐹 อยู่ในควอดรันต์ที่ 1 𝐹𝐹 มีพิกัดคือ (5,2) และจากโจทย์จะได้ว่าสมการเส้นกํากับ คือ 𝑥𝑥2 9 = (𝑦𝑦−2)2 16 จะได้ว่า สมการเส้นกํากับ คือ 𝑥𝑥 3 = ± 𝑦𝑦−2 4 4𝑥𝑥 − 3𝑦𝑦 + 6 = 0 เนื่องจากสมการเส้นกํากับเป็นเส้นสัมผัสของวงกลม จะได้ว่า รัศมีนั้น คือ ระยะจากจุดศูนย์กลางไปตั้งฉากกับเส้นกํากับ ดังนั้น 𝑟𝑟 = |4(5)−3(2)+6| √32+42 เพราะฉะนั้น รัศมีของวงกลมนี้จะยาวเท่ากับ 4 หน่วย ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 11
  • 12. วิธีทํา จากสมการ 2𝑥𝑥 ∙ 2𝑥𝑥+1 ∙ 2𝑥𝑥+2 = 4𝑥𝑥 + 4𝑥𝑥+1 + 4𝑥𝑥+2 2𝑥𝑥 ∙ 2 ∙ 2𝑥𝑥 ∙ 22 ∙ 2𝑥𝑥 = (2𝑥𝑥)2 + 4 ∙ (2𝑥𝑥)2 + 42 ∙ (2𝑥𝑥)2 8 ∙ (2𝑥𝑥)3 = 21(2𝑥𝑥)2 จะได้ว่า 8 ∙ (2𝑥𝑥)3 − 21(2𝑥𝑥)2 = 0 (2𝑥𝑥)2(8(2𝑥𝑥) − 21) = 0 เนื่องจาก 2𝑥𝑥 มีค่าเป็นบวกเสมอ จะได้ว่า 2𝑥𝑥 = 21 8 เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥 = log2 21 8 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 12
  • 13. วิธีทํา จากสมการ log2 𝑥𝑥 + 6 log𝑥𝑥 2 − 5 = 0 จะได้ว่า log2 𝑥𝑥 + 6 log 2 𝑥𝑥 − 5 = 0 คูณ log2 𝑥𝑥 ตลอด จะได้ว่า (log2 𝑥𝑥)2 − 5 log2 𝑥𝑥 + 6 = 0 (log2 𝑥𝑥 − 3)(log2 𝑥𝑥 − 2) = 0 ดังนั้น log2 𝑥𝑥 = 3 , 2 เพราะฉะนั้น 𝑥𝑥 = 8 , 4 ตอบ ส่วนคําถามนั้น ไม่มีสาระสําคัญอะไร เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 13
  • 14. วิธีทํา จากนิยาม 𝐴𝐴−1 = 1 det 𝐴𝐴 adj 𝐴𝐴 แสดงว่า เราจะต้องหา det 𝐴𝐴 และ adj 𝐴𝐴 ให้ได้ จากสูตร 𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴) = (−1)𝑖𝑖+𝑗𝑗 𝑀𝑀𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴) ดังนั้น �𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴)� = � 1 1 2 −3 2 4 5 −1 3 � เนื่องจาก adj 𝐴𝐴 = �𝐶𝐶𝑖𝑖𝑖𝑖 ( 𝐴𝐴)� 𝑡𝑡 เพราะฉะนั้น adj 𝐴𝐴 = � 1 −3 5 1 2 −1 2 4 3 � จากสูตร det(adj 𝐴𝐴) = (det 𝐴𝐴)𝑛𝑛−1 จากการคํานวณ พบว่า det(adj 𝐴𝐴) = 25 ดังนั้น 25 = (det 𝐴𝐴)3−1 เพราะฉะนั้น det 𝐴𝐴 = 5 เพราะฉะนั้น 𝑏𝑏11 + 𝑏𝑏12 + 𝑏𝑏13 = 1 5 − 3 5 + 1 = 3 5 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 14
  • 15. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑃𝑃20 = 50.5 จะได้ว่า ถ้าเราทําคะแนนได้50.5 คะแนน จะชนะคนได้20% ของนักเรียนทั้งหมด นั้นคือ จํานวนนักเรียนในสองชั้นแรก จะคิดเป็น 20% ของนักเรียนทั้งหมด ดังนั้น 𝑥𝑥+6 80 = 20 100 จะได้ว่า 𝑥𝑥 = 10 เนื่องจากเรารู้ว่ามีนักเรียนอยู่ทั้งหมด 80 คน ดังนั้น จะได้ 𝑦𝑦 = 8 เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 15
  • 16. ข้อ 20 (ต่อ) : จากโจทย์บอกว่า นักเรียนที่ได้เกรด A จะต้องได้คะแนนในกลุ่มสูงสุด10% เพราะฉะนั้น คะแนนตํ่าสุดของนักเรียนเกรด A จะมีค่าเท่ากับ 𝑃𝑃90 ซึ่ง 𝑃𝑃90 จะเป็นข้อมูลตัวที่ 90 100 (80) = 72 ซึ่งข้อมูลตัวที่ 72 จะตกที่ชั้น 81 − 90 คะแนน โดยความถี่สะสมของชั้นก่อนหน้า จะเท่ากับ69 คน และความถี่สะสมของชั้นนี้ จะเท่ากับ 77 คน จากกฎการเทียบเปอร์เซ็นไทล์ จะได้ว่า ข้อมูลตัวที่ 69 = ขอบล่างของชั้นนั้น = 80.5 . ข้อมูลตัวที่ 72 = 𝑃𝑃90 ข้อมูลตัวที่ 77 = ขอบบนของชั้นนั้น = 90.5 จากการเทียบสัดส่วน จะได้ว่า 𝑃𝑃90−80.5 90.5−80.5 = 72−69 77−69 ดังนั้น 𝑃𝑃90 = 84.25 เพราะฉะนั้น คะแนนตํ่าสุดของนักเรียนที่ได้เกรด A จะเท่ากับ 84.25 คะแนน ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 16
  • 17. วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า จะสามารถสร้างคู่อันดับได้ทั้งหมด 100 คู่อันดับ แต่พบว่าจะมีคู่อันดับที่ทําให้ 𝑥𝑥2 + 𝑦𝑦2 < 25 ได้แก่ (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (2,1) , (2,2) , (2,3) , (2,4) , (3,1) , (3,2) , (3,3) , (4,1) , (4,2) (ค่อยๆไล่ไปเรื่อยๆ) ซึ่งมีทั้งหมด 13 คู่อันดับ เพราะฉะนั้น ความน่าจะเป็นที่สุ่มคู่อันดับในเซต 𝑆𝑆 แล้วตรงกับเงื่อนไข เท่ากับ 13 100 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 17
  • 18. วิธีทํา จากโจทย์บอกว่า มีคนสอบได้มากกว่า80 คะแนนอยู่10% และ มีคนสอบได้น้อยกว่า40 คะแนนอยู่10% จะได้ว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิตควรจะอยู่กึ่งกลาง 40 และ 80 คะแนน เพราะฉะนั้น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบจะเท่ากับ60 คะแนน เมื่อเทียบกับตารางพื้นที่เส้นโค้งปกติ จะได้ว่า คะแนนมาตรฐานของ 80 คะแนนเท่ากับ 1.28 จะได้ว่า 1.28 = 80−60 𝜎𝜎 𝜎𝜎 = 15.625 ดังนั้น คะแนนมาตรฐานของ65 คะแนน เท่ากับ 65−60 15.625 ดังนั้น 𝑧𝑧 = 0.32 เมื่อเทียบตารางพื้นที่เส้นโค้งปกติ จะได้ว่า จากตรงกลางถึง 65 คะแนน มีพื้นที่ 0.1255 เพราะฉะนั้น จะมีคนได้มากกว่า65 คะแนนอยู่37.45% ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 18
  • 19. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑓𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥𝑥 = 1 จะได้ว่า 𝑓𝑓(1) = 𝑔𝑔(1) = lim 𝑥𝑥→1+ (𝑥𝑥3 + 2𝑥𝑥) เพราะฉะนั้น 𝑔𝑔(1) = 3 จากโจทย์(𝑓𝑓 ∘ 𝑔𝑔)′ (1) = 58 จะได้ว่า 𝑓𝑓′ �𝑔𝑔(1)� ∙ 𝑔𝑔′ (1) = 58 𝑓𝑓′ (3) ∙ 𝑔𝑔′ (1) = 58 ---------------- (*) เนื่องจาก 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥3 + 2𝑥𝑥 เมื่อ 𝑥𝑥 > 1 ดังนั้น 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 3𝑥𝑥2 + 2 เมื่อ 𝑥𝑥 > 1 เพราะฉะนั้น 𝑓𝑓′ (3) = 29 นําไปแทนใน (*) ดังนั้น 𝑔𝑔′ (1) = 2 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 19
  • 20. วิธีทํา จากโจทย์บอกว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 4𝑥𝑥 + 1 จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 2𝑥𝑥2 + 𝑥𝑥 + 𝐶𝐶 แต่เนื่องจาก 𝑓𝑓 ผ่านจุด (1,0) ดังนั้น 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 2𝑥𝑥2 + 𝑥𝑥 − 3 จากโจทย์บอกว่า 𝐹𝐹(𝑥𝑥) = ∫ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) 𝑑𝑑𝑑𝑑 จะหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝐹𝐹 เนื่องจาก 𝑥𝑥 จะเป็นจุดวิกฤต เมื่อ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 0 ดังนั้น 2𝑥𝑥2 + 𝑥𝑥 − 3 = 0 (2𝑥𝑥 + 3)(𝑥𝑥 − 1) = 0 แสดงว่า 𝑥𝑥วิกฤต = − 3 2 , 1 ตรวจสอบ 𝐹𝐹′′ (𝑥𝑥) = 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) เพื่อหาว่าเป็นจุดสูงสุดหรือตํ่าสุด แทน 𝑥𝑥 = − 3 2 จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) < 0 แทน 𝑥𝑥 = 1 จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) > 0 เพราะฉะนั้น 𝐹𝐹(𝑥𝑥) จะมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥𝑥 = − 3 2 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 20
  • 21. วิธีทํา ลองทํา 𝑆𝑆𝑛𝑛 ในรูปของซิกมา จะได้ว่า 𝑆𝑆𝑛𝑛 = ∑ �𝑎𝑎𝑖𝑖 + 1� 2𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 = ∑ �𝑎𝑎2𝑖𝑖 + 2𝑎𝑎𝑖𝑖 + 1�𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 = ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 + 2 ∑ 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 + ∑ 1𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 เนื่องจาก ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 𝑎𝑎2 และมีพจน์แรกคือ 𝑎𝑎2 เพราะฉะนั้น ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 = 𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 � 1−𝑎𝑎2 เนื่องจาก ∑ 𝑎𝑎𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ 𝑎𝑎 และมีพจน์แรกคือ 𝑎𝑎 เพราะฉะนั้น ∑ 𝑎𝑎2𝑖𝑖𝑛𝑛 𝑖𝑖=1 = 𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 ) 1−𝑎𝑎 เพราะฉะนั้น 𝑆𝑆𝑛𝑛 = 𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 � 1−𝑎𝑎2 + 2𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 ) 1−𝑎𝑎 + 𝑛𝑛 ดังนั้น lim 𝑛𝑛→∞ (𝑆𝑆𝑛𝑛 − 𝑛𝑛) = lim 𝑛𝑛→∞ � 𝑎𝑎2�1−𝑎𝑎2𝑛𝑛 � 1−𝑎𝑎2 + 2𝑎𝑎(1−𝑎𝑎 𝑛𝑛 ) 1−𝑎𝑎 � = 𝑎𝑎2�1− lim 𝑛𝑛→∞ 𝑎𝑎2𝑛𝑛 � 1−𝑎𝑎2 + 2𝑎𝑎�1− lim 𝑛𝑛→∞ 𝑎𝑎 𝑛𝑛 � 1−𝑎𝑎 เนื่องจาก |𝑎𝑎| < 1 ดังนั้น lim 𝑛𝑛→∞ 𝑎𝑎2𝑛𝑛 = lim 𝑛𝑛→∞ 𝑎𝑎𝑛𝑛 = 0 เพราะฉะนั้น lim 𝑛𝑛→∞ (𝑆𝑆𝑛𝑛 − 𝑛𝑛) = 𝑎𝑎2 1−𝑎𝑎2 + 2𝑎𝑎 1−𝑎𝑎 = 3𝑎𝑎2+2𝑎𝑎 1−𝑎𝑎2 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 21
  • 22. วิธีทํา เนื่องจาก 𝑎𝑎1 , 𝑎𝑎2 , 𝑎𝑎3 , … , 𝑎𝑎9 เป็นลําดับเลขคณิต แสดงว่า ข้อมูลจะเรียงจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย แสดงว่า มัธยฐานของข้อมูล ก็คือ 𝑎𝑎5 = 15 (𝑎𝑎5 − 4𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 − 3𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 − 2𝑑𝑑) เพราะฉะนั้น ผลบวกของ 𝑎𝑎1 ถึง 𝑎𝑎9 = (𝑎𝑎5 − 𝑑𝑑) + 𝑎𝑎5 + (𝑎𝑎5 + 𝑑𝑑) (𝑎𝑎5 + 2𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 + 3𝑑𝑑) + (𝑎𝑎5 + 4𝑑𝑑) = 9𝑎𝑎5 ดังนั้น ผลบวกของ 𝑎𝑎1 ถึง 𝑎𝑎9 จะเท่ากับ 135 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 22
  • 23. วิธีทํา พิจารณาหลักหน่วยของ 4999 เนื่องจาก 41 มีหลักหน่วยเท่ากับ 4 42 มีหลักหน่วยเท่ากับ 6 43 มีหลักหน่วยเท่ากับ 4 44 มีหลักหน่วยเท่ากับ 6 จึงสามารถสรุปได้ว่า 4999 มีหลักหน่วยเท่ากับ 4 พิจารณาหลักหน่วยของ 9999 เนื่องจาก 91 มีหลักหน่วยเท่ากับ 9 92 มีหลักหน่วยเท่ากับ 1 93 มีหลักหน่วยเท่ากับ 9 94 มีหลักหน่วยเท่ากับ 1 จึงสามารถสรุปได้ว่า 9555 มีหลักหน่วยเท่ากับ 9 ดังนั้น 4999 + 9555 มีหลักหน่วยเท่ากับ 3 เพราะฉะนั้น 4999 + 9555 หารด้วย 5 จะเหลือเศษ 3 เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 23
  • 24. วิธีทํา จากโจทย์พบว่า 𝑆𝑆 จะมีจํานวนสมาชิกเท่ากับ 103 = 1000 จะหาจํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข กรณีที่ 1 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 1 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 2,3,4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 92 วิธี กรณีที่ 2 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 2 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 3,4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 82 วิธี กรณีที่ 3 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 3 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 4,5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้72 วิธี กรณีที่ 4 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 4 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 5,6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 62 วิธี กรณีที่ 5 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 5 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 6,7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้52 วิธี กรณีที่ 6 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 6 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 7,8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 42 วิธี กรณีที่ 7 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 7 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 8,9,10 ซึ่งสร้างได้ 32 วิธี กรณีที่ 8 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 8 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 9,10 ซึ่งสร้างได้22 วิธี กรณีที่ 9 : ถ้าเลือก 𝑥𝑥 = 9 ดังนั้น 𝑦𝑦 , 𝑧𝑧 = 10 ซึ่งสร้างได้ 12 วิธี ดังนั้น จํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข = 12 + 22 + ⋯ + 92 = 9 6 (9 + 1)(18 + 1) จะได้ว่า จํานวนเมตริกซ์ที่ตรงตามเงื่อนไข มีทั้งหมด 285 เมตริกซ์ ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะสุ่มเมตริกซ์แล้วตรงตามเงื่อนไข จะเท่ากับ 285 1000 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 24
  • 25. วิธีทํา กรณีที่1 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 มีค่าเป็นบวก จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = 2𝑎𝑎𝑎𝑎 ซึ่งมีค่าเป็นบวก เนื่องจากเราใช้ 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ซํ้ากันได้จึงต้องแบ่งเป็นอีก 2 กรณี กรณีที่ 1.1 𝑎𝑎 ≠ 𝑏𝑏 เนื่องจาก ลําดับไม่มีผลต่อผลคูณจึงต้องเลือกตัวเลขแบบไม่สนใจลําดับ ดังนั้น ในกรณีนี้จะเลือก 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ได้�6 2 � = 15 วิธี เนื่องจากจํานวนในเซต 𝑆𝑆 ทั้งหมดเป็นจํานวนเฉพาะ จึงมั่นใจได้ว่าเมื่อนําตัวเลขมาคูณกันแล้ว จะได้ผลลัพธ์ที่ไม่ซํ้ากันเลย กรณีที่ 1.2 𝑎𝑎 = 𝑏𝑏 จะได้ว่า 𝑏𝑏 ต้องเลือกตาม 𝑎𝑎 ดังนั้น ในกรณีนี้จะเลือก 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 ได้6 วิธี เมื่อรวมทั้ง 2 กรณี จะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด 21 ตัว กรณีที่ 2 𝑎𝑎 และ 𝑏𝑏 มีค่าเป็นลบ จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = −2𝑎𝑎𝑎𝑎 ซึ่งมีค่าเป็นลบ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด เป็นจํานวนตรงข้ามของกรณีแรก จะได้ว่า กรณีนี้จะได้ผลลัพธ์อีก 21 ตัว กรณีที่ 3 ตัวนึงเป็นบวก อีกตัวเป็นลบ จะได้ว่า 𝑎𝑎|𝑏𝑏| + |𝑎𝑎|𝑏𝑏 = 0 เสมอ ได้ผลลัพธ์อีก 1 วิธี เมื่อรวมทั้ง 3 กรณี จะได้ผลลัพธ์ทั้งหมด 43 วิธี ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 25
  • 26. วิธีทํา จากโจทย์จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥(𝑥𝑥 + 3)(𝑥𝑥 − 3) ดังนั้น 𝑓𝑓(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥3 − 9𝑥𝑥 จะได้ว่า 𝑓𝑓′ (𝑥𝑥) = 3𝑥𝑥2 − 9 เนื่องจาก 𝑥𝑥 จะเป็นจุดวิกฤต เมื่อ 𝑓𝑓′(𝑥𝑥) = 0 ดังนั้น 𝑥𝑥วิกฤต = −√3 , √3 แทนค่าค่าวิกฤตใน 𝑓𝑓(𝑥𝑥) จะได้ว่า 𝑚𝑚 = −6√3 และ 𝑀𝑀 = 6√3 ดังนั้น 𝑆𝑆 = �𝑎𝑎 | 𝑎𝑎 เป็นจํานวนเต็ม ซึ่ง − 6√3 ≤ 𝑓𝑓(𝑎𝑎) ≤ 6√3� แก้อสมการ −6√3 ≤ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≤ 6√3 สมมติว่าแก้อสมการเสร็จแล้ว(ดูวิธีการแก้ในหน้าต่อไป) จะได้ว่า เซตคําตอบของอสมการ คือ �−2√3 , 2√3� ดังนั้น 𝑆𝑆 = {−3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3} เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛(𝑆𝑆) = 7 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 26
  • 27. ข้อ 30 (ต่อ) : จะแก้อสมการ −6√3 ≤ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≤ 6√3 ดังนั้น 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≥ −6√3 และ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≤ 6√3 แก้อสมการ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≥ −6√3 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 + 6√3 ≥ 0 �𝑎𝑎 − √3� 2 �𝑎𝑎 + 2√3� ≥ 0 จะได้ว่า 𝑎𝑎 ≥ −2√3 แก้อสมการ 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 ≤ 6√3 𝑎𝑎3 − 9𝑎𝑎 − 6√3 ≤ 0 �𝑎𝑎 + √3� 2 �𝑎𝑎 − 2√3� ≤ 0 จะได้ว่า 𝑎𝑎 ≤ 2√3 เพราะฉะนั้น เซตคําตอบของอสมการนี้ คือ�−2√3 , 2√3� จริงๆแล้ว ข้อนี้มีวิชามารในการจะหาเซต 𝑆𝑆 เช่นกัน ลองใช้การวาดกราฟของ 𝑓𝑓(𝑥𝑥) คร่าวๆดูก่อน M พบว่า ตั้งแต่ 𝑥𝑥 = −3 จนถึง 𝑥𝑥 = 3 จะได้ว่า 𝑓𝑓(𝑥𝑥) อยู่ระหว่าง 𝑚𝑚 และ 𝑀𝑀 ทั้งหมด -3 3 m ลองแทน 𝑥𝑥 = 4 จะได้ว่า 𝑓𝑓(4) = 28 > 𝑀𝑀 ลองแทน 𝑥𝑥 = −4 จะได้ว่า 𝑓𝑓(−4) = −28 < 𝑚𝑚 ดังนั้น จํานวนเต็ม 𝑎𝑎 ซึ่งทําให้ 𝑚𝑚 ≤ 𝑓𝑓(𝑎𝑎) ≤ 𝑀𝑀 จะมีแค่ −3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3 ดังนั้น 𝑆𝑆 = {−3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3} เพราะฉะนั้น 𝑛𝑛(𝑆𝑆) = 7 ตอบ เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 27
  • 28. เฉลยไม่ละเอียด ข้อสอบ กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 1. 4 16. ตอบข้อ 2 2. 55 17. ตอบข้อ 2 3. 3 18. ตอบข้อ 3 4. 2.5 19. ตอบข้อ 3 5. 5 20. ตอบข้อ 4 6. 4 21. ตอบข้อ 1 7. 15.42 22. ตอบข้อ 1 8. 64 23. ตอบข้อ 5 9. 7 24. ตอบข้อ 2 10. 0.75 25. ตอบข้อ 5 11. ตอบข้อ 2 26. ตอบข้อ 3 12. ตอบข้อ 5 27. ตอบข้อ 4 13. ตอบข้อ 3 28. ตอบข้อ 5 14. ตอบข้อ 4 29. ตอบข้อ 1 15. ตอบข้อ 3 30. ตอบข้อ 4 เฉลยข้อสอบ : กสพท. คณิตศาสตร์ 2557 Page 28