SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
การสะกดและการออกเสียงคําภาษาอังกฤษ
คารม ไปยะพรหม
ผูเขียนเคยไดยินผูคนกลาวถึงภาษาอังกฤษที่ไมคอยจะถูกตองนักเชน ภาษาอังกฤษนั้นอาน
ได แตแปลไมได หรือ ภาษาอังกฤษมี พยัญชนะ 21 ตัว และมีสระ 5 ตัว (a, e, i, o และ u) และได
ยินผูบริหารระดับสูงและคนไทยบางคนพูดภาษาไทยสลับกับคําศัพทภาษาอังกฤษที่ออกเสียงแบบ
แปลกๆชนิดที่เจาของภาษาไดยินแลวงุนงงและคนไทยดวยกันเองฟงแลวตองปวดศีรษะซีกเดียว
เพราะไมรูเรื่องวาพูดวากระไร ทั้งๆที่คําศัพทเหลานั้นสามารถแปลเปนภาษาไทยได ในฐานะที่เปน
ผูสอนวิชาภาษาอังกฤษมาหลายปรูสึกไมสบายใจยิ่งนัก ที่ผูคนเขาใจภาษาอยางนั้น แตพอจะเขาใจ
วาผูพูดคงตองการแสดงภูมิรูออกมาเพื่อยกระดับตนเองใหสูงขึ้นกวาผูอื่นซึ่งเปนเรื่องที่สามารถ
เขาใจไดอยางไมยากนักตามหลักจิตวิทยาเพราะเปนวิสัยปกติของผูบริหารระดับสูงหรือผูที่คิดวา
ตนเองเปนนักวิชาการที่มีความรูความสามารถระดับเอกอุ ตองใชภาษาที่แปลกประหลาดเขาไว หาก
ไมทําอยางนั้นเกรงวาจะไมขลัง(กระมัง) ในความเปนจริงแลวการอานที่กลาววาอานไดนั้นเปนการ
อานตามความเขาใจของผูอานเอง ถูกหรือผิดตามหลักการออกเสียงอยางไรไมตองพูดถึง หากแปล
ไมไดดวยแลวก็ชวนใหสงสัยเปนยิ่งนัก สวนพยัญชนะภาษาอังกฤษนั้นแทจริงแลวมี 24 ตัวและสระมี
ถึง 20 ตัว ไมใชตามที่ผูคนเหลานั้นเขาใจ
บรรดาภาษาตางๆในโลกนี้ มีการประมาณวามีมากกวา 6,000ภาษา และเปนภาษาที่มี
ตัวเขียนประมาณรอยละ 15 แตละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตนไมวาจะเปนระบบเสียง คํา โครงสราง
ทางดานไวยากรณหรือระบบความหมาย ดังนั้นผูที่ศึกษาภาษาโดยมีจุดประสงคเพื่อจุดประสงคใดก็
ตาม ควรที่จะศึกษาใหถูกตองทั้ง 4 ทักษะ (ฟง พูด อานและเขียน) โดยเฉพาะการอานจากระบบ
การเขียน
ในมุมมองของนักภาษาศาสตรแลว ตัวเขียนเปนเพียงสัญลักษณที่ใชแทนเสียงพูดในภาษา
เทานั้น ไมใชภาษาที่แทจริง ทั้งนี้เพราะวา ตัวเขียนไมสามารถเขียนแทนเสียงพูดไดถูกตอง แมนยํา
ยกเวนสัทอักษร (phonetic alphabet) เชน ในภาษาไทย การสะกดคํา หรือ การเขียนไมสามารถ
เขียนใหออกเสียงไดเหมือนภาษาพูด เชน ๙ ไมออกเสียงวาเลข “เกา” (ตามการสะกดแบบแจกลูก
เกา เกา และ เกา) แตกลับออกเสียงเปน กาว เหมือนกับคํากริยา “กาว” ที่มีความหมายวา เดิน
ขาพเจา (ขา-พะ-จาว ไมใช ขา-พะ-เจา) ดื่มน้ํา ( ดื่ม-นามไมใช ดื่ม-น้ํา)การสะกดคําในภาษาอังกฤษ
ก็เชนเดียวกัน เราไมสามารถหากฎเกณฑมาอธิบายหลักการเขียนและการออกเสียงใหสอดคลองกัน
ได เชน do และ go สะกด ดวย ตัวอักษร o เหมือนกัน แตออกเสียงเปน / / หรือ /อู/ ในคําวา do
และ / / /เออะ+อุ/ คําวา go
ความสัมพันธระหวางตัวเขียน และภาษาพูดมักจะเปนปญหาและอุปสรรคตอการเรียนรูการ
ออกเสียงคําศัพทใหม ตามปกติแลวการเรียนจะเริ่มตนดวยการพูดออกเสียงดังๆกอน ตามดวยการ
2
ใชคําศัพทใหมนั้นสนทนาในชั้นเรียน แลวครูจะเขียนคําศัพทลงบนกระดานเพื่อใหนักศึกษาจดจํา
ความสัมพันธระหวางตัวเขียนละการออกเสียงคําศัพทนั้น ในการสอนไวยากรณ จะตองเริ่มตนจาก
โครงสรางประโยคกอนจากนั้นก็ตามดวยการพูด ในการสอนอาน นักศึกษาอาจจะถูกกระตุนใหอาน
คําศัพทดังๆ ซ้ํากันหลายครั้งกอนที่จะจบดวยการเขียน
แตปญหาที่สําคัญคือ รูปแบบภาษาพูดและการเขียนไมสอดคลองกัน การเขียนอาจจะ
นําไปสูการออกเสียงผิดได ในภาษาอังกฤษ มีคําจํานวนมากที่มีองคประกอบของคําการสะกดอยาง
เดียวกัน แตออกเสียงแตกตางกันอยางสิ้นเชิง ลองอานออกเสียงและสังเกตเสียงคําที่พิมพดวยอักษร
ตัวทึบ ในโคลงตอไปนี้
Our strange language
When the Enlishe tongue we speak
Why is “break” not rhymed with “freak”?
Will you tell me why it’s true
We say “sew” but likewise “few”;
And the maker of a verse
Cannot cap his “horse” with “worse”;
“Beard” sounds not the same as “heard”
“Cord” is different from “word”.
Cow is “cow” but low is “low”.
“Shoes” is never rhymed with “foe”;
Think of “hose” and “dose” and “lose”;
Think of “goose” and not of “choose”;
Think of “comb” and “tomb” and “bomb”;
“Doll” and “roll”, “home” and “some”;
And since “pay” is rhymed with “say”
Why not “paid” with “said”, I pray?
We have “blood” and “food” and “good”’
“Mould” is not pronounced like “could;
Wherefore “done” but “gone” and “lone”?
Is there any reason known?
And in short seems to me
Sounds and letters disagree.
Author unknown
จากโคลงขางบน จะพบวา คําที่สะกดดวยอักษรที่เหมือนกันหรือคลายกันไมไดออกเสียง
เหมือนกันแตอยางใด
ความสําคัญที่พิเศษอยางหนึ่ง ของภาษาอังกฤษคือ มีสระเปนจํานวนมากไมออกเสียง
หรือไมก็ออกเสียง สระ schwa / / เชน การออกเสียง a ในพยางคที่สองของคําวา breakfast หรือ
คําวา man กับ woman เปนตน ในกรณีที่สระในคําที่ทําหนาที่ทางดานไวยากรณแตกตางกัน
อาจจะออกเสียงเต็มพยางคหรือ ลดเสียง ตัวอยางเชน democracy เมื่อเปนคํานามสระในพยางค
2
3
แรกและพยางคที่สามจะลดเสียง ในขณะที่พยางคที่สองจะไดรับการเนนเสียง ในทางตรงขามคําวา
democratic เปนคํานามคุณศัพท พยางคที่สองลดเสียงลงและพยางคที่หนึ่งและพยางคที่สามกลับ
ออกเสียงสระเต็มเสียง ในกรณีที่ยกตัวอยางนี้ ตําแหนงการลงเสียงหนักเบาไมไดเปนตัวบงชี้การ
สะกดคําที่ถูกตองแตอยางใด
กลาวโดยสรุป การสะกดคําในภาษาอังกฤษ (เชนเดียวกับหลายภาษา) ไมไดเปนตัวบงชี้ใน
การออกเสียงได ดังนั้นการออกเสียงคําในภาษาอังกฤษจะตองพิจารณา 1. ประวัติของแตละคํา 2.
ตําแหนงการลงเสียงหนักเบาดวย ตัวอยาง สระเสียงแรกในคําวา demon คือ /i:/ ในขณะที่ สระตัวที่
สองออกเสียง schwa เพราะอยูภายใตอิทธิพลของพยางคที่ไมไดรับการลงเสียงหนักเบา หรือ การ
เนนเสียง (stress) ในคําวา demonic สระตัวแรกซึ่งไมไดรับการเนนเสียง จะเปลี่ยนจาก /i:/ เปน
/∩/ และออกเสียง / / ในพยางคที่สองเพราะไดรับการเนนเสียงเต็มเสียง สวนในคําวา
demonstrate, democratic เสียงสระตัวแรกจะออกเสียงเปน / /
ปญหาที่เกิดจากการสะกดคําไมสอดคลองกับการออกเสียง คือ ออกเสียงไมถูกตองเพราะ
การออกเสียงที่ถูกตองมีความสําคัญเปนอยางมากในการสื่อสารดวยเสียงพูด เนื่องจากการเขียน
ไมไดบงบอกถึงการสะกดคําในภาษาพูดที่ใชสนทนาในชีวิตประจําวันทําใหผูที่ศึกษาการออกเสียง
จากการสังเกตการสะกดคําเปนแนวทางจึงออกเสียงผิด เพราะไมไดตรวจสอบการออกเสียงที่ถูกตอง
จากพจนานุกรม
นอกจากปญหาในเรื่องการออกเสียงแลว ยังมีปญหาความยุงยากในการสะกดคํา ความ
ยุงยากนี้ทําใหเด็กที่เรียนรูการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเปนครั้งแรก หรือ ผูที่ศึกษาภาษา
อังกฤษเปนภาษาที่สอง พบวาความยุงยากในการออกเสียงที่มีความเกี่ยวของโดยตรงกับการออก
เสียงในภาษาแม เราลองจินตนาการผูเรียนที่มีภาษาแมมีการสะกดคําและการออกเสียงที่สัมพันธ
กัน หรือ ผูเรียนที่ใชตัวอักษรโรมันในการสะกดเสียงภาษาของตนเอง จะมีความยุงยากลําบาก
เพียงไร เมื่อตองพยายามเรียนระบบการสะกดในภาษาอังกฤษหรือเรียนรูความสัมพันธในการออก
เสียงกับการสะกดคํา เชน ในภาษาญี่ปุน จะเขียนคําที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษดวยอักษรโรมัน
(โรมันจิ) และอาจจะเคยเห็นคําเหลานี้ในโฆษณาสินคาทางโทรทัศน หรือ ปายโฆษณาตางๆ เชน
kohi, biru miruku แทนการออกเสียงแบบอังกฤษในคําวา coffee, beer, milk สวนสาเหตุวา
ทําไมการสะกดคําและการออกเสียงจึงไมสัมพันธกันนั้น มีขอสังเกตดังนี้
1. รูปแบบการเขียนภาษาอังกฤษในอดีตและปจจุบัน
การสะกดคําหรือระบบการเขียนมีความแตกตางจากภาษาพูด ระบบการเขียนที่เปนรูปแบบ
เดียวกันมีความสําคัญตอการรักษาภาษาเอาไวเมื่อมีการสื่อสารดวยการเขียนกับผูที่อยูภายนอก
ชุมชน ตรงกันขามการออกเสียงภายในชุมชนหรือระหวางชุมชนจะมีความหลากหลายสําเนียงมาก
นอกจากนี้ ตัวเขียนสามารถถายทอดจากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่งไดอยางเปนระบบ ในขณะเดียว
กันก็เปนการอนุรักษภาษาไดอีกทางหนึ่ง ในขณะที่ภาษาพูดนั้นมีความยุงยากเปนอยางยิ่งที่รักษาไว
ถึงแมวาจะมีการบันทึกเสียงพูดเอาไว แตจะมีปญหามากกวาการเขียน และไมสามารถรักษาเปน
4
รูปแบบอันเดียวกันได มีความเชื่อกันวารูปแบบการเขียนภาษาอังกฤษนั้นเปนระบบพอสมควรและ
สามารถเปนตัวแทนทั้งระบบอังกฤษ ระบบอเมริกัน และภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษ (dialect) ที่
หลากหลายในประเทศตางๆทั่วโลกได (ชอมสกี้ 1970: 295)
ถึงแมวาระบบการเขียนเปนระบบที่นาเชื่อถือเพียงพอในการเขียนภาษาอังกฤษแทนภาษา
พูดที่หลากหลายทั่วโลก ความสัมพันธระหวางเสียง ตัวสะกด การออกเสียงพยัญชนะแตละตัวและ
การผสมตัวอักษรเหลานี้เปนเรื่องที่สลับซับซอนพอสมควร ทั้งนี้เพราะตัวอักษรในภาษาอังกฤษมี
คอนขางจํากัดคือ มีเพียง 26 ตัวอักษรเทานั้น แตตองใชเขียนแทนเสียงทั้งระบบ (พยัญชนะ 24 ตัว
และสระ 20 เสียง) ผสมผสานกันเปนเสียงที่มีความหมายในภาษา จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลง
รูปแบบการออกเสียงเชิงประวัติในเรื่องคําศัพท รูปแบบการสะกดคําและระบบเสียงจากอดีตมาจนถึง
ปจจุบัน พบวามีการเปลี่ยนเสียงและการยืมคําจากภาษาอื่น ถึงแมวาการเปลี่ยนแปลงมีไมบอยและ
ไมมากนัก แตเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจากชวงเวลาอดีตมาจนถึงปจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบตอระบบเสียง รูปแบบการสะกดคํา และมีคําศัพท
หลากหลายในภาษา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณการออกเสียงแตละตัวและเปลี่ยน
หลักการเขียนแบบตัวตอตัว หนึ่งเสียงหนึ่งสัญลักษณ เปนหนึ่งสัญลักษณมีหลายเสียง หรือ หนึ่ง
เสียงมีหลายสัญลักษณ เชน f และ ph และ j และ dg มีลักษณะทางสัทศาสตรเหมือนกัน คือ / /
และ /○ / ใชแทนเสียงเดียวกัน ในทํานองเดียวกันการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเขียนหรือการรวม
หนวยเสียง ไมจําเปนตองมีเสียงเดียวกัน เสมอไปเชน oo ออกเสียง / / ในคําวา blood ออกเสียง
/ ⁄/ ในคําวา boot และออกเสียง / ∪/ ในคําวา book
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางดานเสียง ไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการเขียนและ
การออกเสียงคําศัพทในภาษาที่ยืมเขาไป เชน ในปายโฆษณาและปายตางๆ มีการสะกดคําทั่วไปที่
ลงทายดวย ight ดวย ite เชน delight เปน delite ตัวอักษรหลายตัวที่ใชเขียนคําในภาษากรีก ก็
เขียนแทนดวยรูปแบบการเขียนที่งายตอการออกเสียง (ซึ่งแตกตางจากระบบการเขียนภาษาอังกฤษ
ทั่วไป)เชน photo fast เขียนเปน foto fast , easy เปน ezy, quick gas เปน kwick gas และ
clean gas เปน kleen gas เปนตน
การเปลี่ยนแปลงเสียงและการยืมคําศัพทนี้ เกิดขึ้นบอย สม่ําเสมอ และเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงเสียงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ การแพรกระจายคําศัพท หรือ
analogy (คําศัพทที่ใชในภาษาศาสตรเชิงประวัติ) จะสงผานระยะเวลา ผลกระทบดังกลาวมีการ
เปลี่ยนแปลงการสะกดคําดวยรูปแบบที่แตกตางกันออกไป การสะกดคําแบบรักษารูปแบบเดิมของ
คําในภาษาหนึ่งอาจจะมีรูปคําที่แตกตางกันออกไปในภาษาที่ยืม มีการเปลี่ยนรูปแบบการสะกดคํา
ใหม อิทธิพลรูปแบบการสะกดของหนวยเสียงแตละเสียงหรือคํา และจะใชอยางแพรหลายเมื่อผาน
ระบบการพิมพ
การสะกดคําในภาษาอังกฤษมีหลายรูปแบบที่ยอมรับไดเชน adviser / advisor, cigaret/
cigarette และอาจพบเพียงรูปแบบคําเพียงรูปเดียวที่นิยมมากในพจนานุกรมบางเลม ในขณะที่บาง
เลมอาจจะบรรจุเอาไวทั้งสองคํา การสะกดแบบอังกฤษและแบบอเมริกัน ที่อาจพบในพจนานุกรม
4
5
เชน –re มากกวา –er theatre/theater, centre/center, -ise มากกวา ize civilisation/ civilization,
naturalisation/ naturalization, -our มากกวา - or colour/color และ -mme มากกวา m ในคําวา
programme / program เปนตน ระบบการสะกดคําภาษาอังกฤษแบบแคนาดาและออสเตรเลีย
รวมทั้งในประเทศที่ใชภาษาอังกฤษ นิยมทั้งแบบเอมริกันและอังกฤษ เชน centre (อังกฤษ) และ
program (อเมริกัน)
ในขณะที่ระบบเสียงภาษาเปลี่ยนไป และรับคําใหมมาจากภาษาตางๆเขามา ระบบการ
สะกดคํายิ่งลดความตรงไปตรงมาลง ความสัมพันธระหวางการเขียนและระบบเสียงมีความสัมพันธ
กันมากขึ้น มีความหลากหลายในการสะกดคํา ทําใหรูปแบบการสะกดคําเปลี่ยนไป และเปดโอกาส
ใหมีการใชคําที่มีรูปการสะกดแบบแปลกๆดวย เชน คนในวงการภาษาโฆษณา มีการใชการสะกดคํา
-ite แทน -ight ในการโฆษณา beer ในขณะเดียวกัน ผูคนที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
จะมีความตระหนักในการสะกดคําแบบอังกฤษมากกวาแบบอเมริกันเพราะจะบงบอกความภาคภูมิใจ
และบอกความหมายโดยนัยถึงคุณภาพดวย
เมื่อมีระบบการสะกดคํายอย นักเขียนที่ตองการประสบความสําเร็จอยางแทจริงอาจใช
รูปแบบการการสะกดคําที่หลากหลายออกไปซึ่งแตกตางจากพจนานุกรม หากนักเขียนตองการสื่อ
ถึงการออกเสียง สําเนียงทองถิ่น หรือ รูปแบบการพูดแบบดั้งเดิม ก็อาจใชการสะกดแบบแทน
เสียงพูด เชน
riot (right)
dat (that) , dis (this ) , de (the), den (then)
cuz/ coz (because, cousin)
doin’ / doin (doing), runnin’ / runnin (running)
nuthin (nothing), sumpin (something)
bidnis (business) wadn’t (wasn’t)
durty (dirty), wull (will)
gonna, gunna (going to ) wanna (want to), oughta, orta (ought to), useta (used to),
hafta (have to), sorta (sort to)
kinda (kind of)
woulda (would’ve) coulda (could’ve), shoulds (should’ve) musta (must’ve)
hadda (had to, had’ve)
gotcha (got you), watcha (what you)
didja (did you), couldja (could you), wouldja (would you)
การสะกดแบบใหม ดังตัวอยางอาจนําไปสูการเปลี่ยนแปลงการสะกดคําในภาษาอยางถาวร
6
2. อิทธิพลทางประวัติศาสตรตอการสะกดคําในภาษาอังกฤษ
กอนสงครามฮิสติ้ง ระบบการเขียนของแซกซอนตะวันตกไดพัฒนารูปแบบการเขียนอยาง
ตอเนื่อง หลังจากชาวนอรมันพิชิตอังกฤษใน ค.ศ.1066 ภาษาฝรั่งเศสไดกลายเปนภาษาราชการ
ของแควนบริตอนเทนภาษาอังกฤษ ทําใหระบบการออกเสียงและการเขียนภาษาอังกฤษมีความ
หลากหลายและเปลี่ยนแปลงมาก โดยเฉพาะการสะกดคําที่ไมเปนระบบ จนกระทั่งถึงยุคใหม
(ศตวรรษที่ 17) หลังจากการพิมพเริ่มเปนที่รูจักกันแพรหลายและไดรับการยอมรับ ไดมีการพิมพ
พจนานุกรมเพื่ออธิบายการเขียนคําภาษาอังกฤษที่ถูกตอง
การสะกดคําในยุคกลางของอังกฤษ (เริ่มตนประมาณ ค.ศ.1100 – 1600) มีความแตกตาง
กับยุคที่ผานมา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแตละคนในแตละภูมิภาค เชน พจนานุกรมออกซฟอรด (Oxford
English Dictionary (OED)) มีตัวอยางการสะกดคํา disease ดังนี้
disseases ศตวรรษที่ 14-15
disese ศตวรรษที่ 14-16
disees, disesse, dysese, dysesse, dessayse, deshaese ศตวรรษที่ 16
discese สะกดแบบสกอต
dysease, desease ศตวรรษที่ 15-16
desesse ศตวรรษที่ 16
discease ศตวรรษที่ 17
3. เสียงสระและการเปลี่ยนแปลงการสะกดคํา
เสียงสระในภาษาอังกฤษนั้น มักจะสะกดในหลายรูปแบบทั้งๆที่เปนเสียงเดียวกัน ทั้งนี้
อาจจะเปนคําที่มีมาตั้งแตดั้งเดิม หรือ คํายืม เชน
1. /∵/ สะกดดวย a เชน apple, happy, hat
2. / / สะกดดวย e เชน end, pep, men
บางครั้งสะกดดวย ea เชน head, read(past tense read) , breakfast
สะกดดวย ai เชน said
3. /∩/ ตามปกติสะกดดวย i เชน it, him, pig
คําที่ขึ้นตนดวย cy หนา /I/ ยกเวน cycle เชน bicycle, cyclic, cylinder, cylindrical
มีคําเดียวที่สะกดดวย o เชน women
4. / / สะกดดวย a ที่นําหนา r เชน car, park, bar
สะกดดวย o ที่นําหนา t เชน hot, lot, got
5. / / สะกดดวย o ที่นําหนา r เชน port, glory, bore
สะกดดวย a ที่นําหนาดวย ll เชน ball call หรือ นําหนาดวย w เชน law saw
6
7
สะกดดวย ou หรือ au ที่นําหนา ght เชน ought, bought, caught, taught
6. /∪/สะกดดวย u ll sh pull full push bush
สะกดดวย ou ในกริยาชวย เชน would could should
สะกดดวย oo ที่นําหนาดวย k เชน book, took, look
สะกดดวย oo ที่นําหนาดวย t หรือ d เชน foot, soot, good, stood
****** oo อาจเปนเสียง /u:/ ในคํา food, boot, boom, zoo
7. / /สะกดดวย u หรือ o เมื่อสระตามดวยพยัญชนะ เชน up, cut, fuss, come, mother,
coming, wonder
8. / / อาจสะกดหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพยางคที่ไมไดรับการเนน เชน sofa,
capable, bullet, competition, competitive, flexible, connect circus, circumstance
4. สระเสียงสั้นและเสียงยาว
ความสั้นยาวของสระในภาษาอังกฤษนั้นไมมีนัยสําคัญในเรื่องหนวยเสียงสําคัญ (phoneme)
กลาวคือ ไมมีความแตกตางในเรื่องเสียงสระ คําที่สะกดดวยสระตัวเดียวกัน อาจจะมีเสียงสระสั้นยาว
แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอิทธิพลของตัวสะกด เนื่องจากคําที่สะกดดวยพยัญชนะโฆษะ เสียงสระจะ
ยาวกวาคําที่สะกดดวยพยัญชนะอโฆษะเชน คําวา bat กับคําวา bad สะกดดวยสระตัวเดียวกันคือ
/∵/ แตในคําวา bat เสียงจะสั้นกวาในคําวา bad ซึ่งแตกตางจากภาษาไทย สระแอะและแอ เปนสระ
คนละตัว เชนคําวา แกะ กับ แก เปนตน
1. เสียงสระตอไปนี้พิจารณาเปนสระเสียงสั้น
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
rat, ran rate ,rain
bed, set bead, here
lid, grim lied, grime
rod, hop road, rode, hope
run, luck rune, ruin, Luke
2. โดยทั่วไปหนวยเสียงที่สะกดดวยสระสองตัว สระตัวที่หนึ่งแทนดวยตัวอักษรที่เปน
ตัวแทนของเสียงสําคัญ ตัวอักษรที่สองคือ ตัวอักษรที่แทนเสียงสระตัวที่สอง อาจตามสระตัวแรก
ทันทีหรือไมก็ตามพยัญชนะ เชน
a paid, day, date, naming
e seem, mean, receive, people, scene, here, Pete
i tie, lie, time, fine, lining
8
o coat, hoe, going, home, spoke, smoking
1. อยูตนคํา
w r write, wrong, wreath
g n gnat, gnaw, gnu
k n knee, know, knight
p n pneumonia, pneumatic, pneumonic
p s psychology, pseudonym
p t ptomaine, ptosis, pterodactyl
h สระ hour, honest, heir
2. อยูหลังพยัญชนะตน
u g guarantee, guard, guess
h g ghost, ghastly, ghetto
h r rheumatic, rhythm, rhapsody
h w white, why, where
c s science, scenic, scent
3. อยูกลางคําหรือทายคํา
g n m reign, feign, diaphragm
b m dumb, thumb, plumber
b t debt, doubt
t en soften, listen, fasten
s i island, aisle
l a f half, calf
l ou d could, would, should
gh ou, through, dough
gh ou, au, bought, thought, taught, caught
gh i high, thigh
gh i, t night, right, height
4. ไมออกเสียง e เมื่ออยูหนาสระเสียงยาว
i time, like, mine
e scene, here, Pete
a hate, sane, fame
u flute, tune, tube
o bone, home, tote
8
9
5. ธรรมชาติของระบบตัวเขียนอังกฤษปจจุบัน
สตับต กลาววา ในภาษาอังกฤษ ไมมีคําใดที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับการสะกดคํา ใน
ขณะเดียวกันคํากลับมีความสัมพันธระหวางระบบการเขียนและระบบเสียงที่สามารถทํานาย
ความสัมพันธระหวางเสียง หลักการเขียนที่แตกตางกันได และไมมีความผิดปกติในการสะกดคําที่
เกี่ยวของกับระบบเสียง เชน รูปเขียน c ออกเสียง /s/ หรือ /k/ ขึ้นอยูกับเนื้อหา e ออกเสียง /i/ ใน
กลุมคําเปด เชน me, she, he แต /e/ ในกลุมพยางคปด เชน men, shell, hen นอกจากนี้การออก
เสียงของคําเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเติมหนวยคําเติมคําศัพท (affixes) ถึงแมวาระบบการเขียน
แบบเดิม เชน nation , national การสะกดคําภาษาอังกฤษเปนตัวอยางการอธิบายการสะกดคําไม
เปนระบบที่ดีที่สุด เพราะมีระบบคําที่สลับซับซอน กฎเกณฑบางขอเครงครัดในระบบเสียง ในขณะที่
บางขอเกี่ยวของกับระบบคํา ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของคํายืมจากภาษาตางประเทศ
จากขอความที่กลาวมาแลว พอที่จะสรุปไดวา รูปแบบการเขียนคําในภาษาอังกฤษนั้นไม
สามารถเปนแนวทางในการออกเสียงที่ถูกตองได เนื่องจากสาเหตุหลายประการที่กลาวมาแลว และ
ไมมีหลักเกณฑใดที่จะชวยการสะกดคําหรือออกเสียงไดถูกตองรอยเปอรเซ็นต อยางมากทีสุดก็แค
เปนแนวทางเทานั้น หากไดศึกษาวิชานิรุกติศาสตรภาษาอังกฤษอยางละเอียดถี่ถวนแลวจะทําให
เขาใจและสามารถอธิบายไดวาคําในภาษาอังกฤษที่มีมากกวา 1,200,000 คํานั้น มาจากการสรางคํา
ขึ้นมาใชเองโดยการเติมปจจัย อุปสรรค ประสมคํา ตั้งชื่อตามบุคคล หรือสถานที่สําคัญ หรือ คิด
คําศัพทใหมขึ้นมาใชโดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการเปนจํานวนมากมาย และที่ไม
สามารถปฏิเสธถึงสาเหตุที่มีการออกเสียงและการสะกดคําที่หลากหลายในภาษาอังกฤษนั้นก็คือ
การยืมคําจากภาษาอื่นมาใชนั่นเอง
หนังสืออานประกอบ
Avery, P.& Enrich, S. (1996). Teaching American English Pronunciation. Oxford
University Press. P.8
Chomsky, N. (1970). Syntactic structure. Cambridge: Cambridge University Press.
Cystal, D. (1994). The Cambridge Encyclopedia of The English Language. Cambridge:
Cambridge University Press.
Hewings, M. (1999). Advance Grammar in Use. Cambridge: Cambridge University Press.
Hornby, A.S. (2003). Oxford Advanced Learner’s Dictionary. Oxford: Oxford University
Press.
10
10

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJUnity' PeeBaa
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
Basic Thai Language Course
Basic Thai Language CourseBasic Thai Language Course
Basic Thai Language Course101_languages
 

What's hot (17)

เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
Basic Thai Language Course
Basic Thai Language CourseBasic Thai Language Course
Basic Thai Language Course
 
คำอุทาน
คำอุทาน คำอุทาน
คำอุทาน
 

Viewers also liked

Computación Bio-Inspirada
Computación Bio-InspiradaComputación Bio-Inspirada
Computación Bio-Inspiradamenamigue
 
Conflux: gpgpu for .net (en)
Conflux: gpgpu for .net (en)Conflux: gpgpu for .net (en)
Conflux: gpgpu for .net (en)Andrei Varanovich
 
Evaluation - Continued
Evaluation - ContinuedEvaluation - Continued
Evaluation - Continuedtarristmarys
 
campanha , descontos num supermercado
campanha , descontos num supermercadocampanha , descontos num supermercado
campanha , descontos num supermercadoSusana Cardoso
 
Las nuevas tecnologias en la educacion
Las  nuevas tecnologias en la educacionLas  nuevas tecnologias en la educacion
Las nuevas tecnologias en la educacionalcocer carlos
 
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0aristotelesaraujo
 
Social networking&it’s models
Social networking&it’s modelsSocial networking&it’s models
Social networking&it’s modelsVishal Raj
 
Rosen Gren İletişim Modeli
Rosen Gren İletişim ModeliRosen Gren İletişim Modeli
Rosen Gren İletişim ModeliRojda Güzel Ayas
 
B2B nas redes sociais - Existe uma nova era
B2B nas redes sociais - Existe uma nova eraB2B nas redes sociais - Existe uma nova era
B2B nas redes sociais - Existe uma nova eraVictor Israel
 
2013 Telethon Slide Show
2013 Telethon Slide Show2013 Telethon Slide Show
2013 Telethon Slide ShowJames Loveys
 
Green Computing at RIT
Green Computing at RITGreen Computing at RIT
Green Computing at RITdaniellampie
 
Ppt kemahasiswaan
Ppt kemahasiswaanPpt kemahasiswaan
Ppt kemahasiswaanmaiiaarlam
 
Pengajran sajak kita kan pulang copy
Pengajran sajak kita kan pulang   copyPengajran sajak kita kan pulang   copy
Pengajran sajak kita kan pulang copymanjaiqbal257
 
Calendario escolar 2010 2011
Calendario escolar 2010 2011Calendario escolar 2010 2011
Calendario escolar 2010 2011gared
 

Viewers also liked (20)

Libr Ae
Libr AeLibr Ae
Libr Ae
 
Learn Matlab
Learn MatlabLearn Matlab
Learn Matlab
 
Computación Bio-Inspirada
Computación Bio-InspiradaComputación Bio-Inspirada
Computación Bio-Inspirada
 
Conflux: gpgpu for .net (en)
Conflux: gpgpu for .net (en)Conflux: gpgpu for .net (en)
Conflux: gpgpu for .net (en)
 
Ciencia
CienciaCiencia
Ciencia
 
Evaluation - Continued
Evaluation - ContinuedEvaluation - Continued
Evaluation - Continued
 
campanha , descontos num supermercado
campanha , descontos num supermercadocampanha , descontos num supermercado
campanha , descontos num supermercado
 
Las nuevas tecnologias en la educacion
Las  nuevas tecnologias en la educacionLas  nuevas tecnologias en la educacion
Las nuevas tecnologias en la educacion
 
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0
FLISOL-Jaguaruana/CE - 2013 - Monitoramento com Software Livre - Zabbix 2.0
 
Social networking&it’s models
Social networking&it’s modelsSocial networking&it’s models
Social networking&it’s models
 
Rosen Gren İletişim Modeli
Rosen Gren İletişim ModeliRosen Gren İletişim Modeli
Rosen Gren İletişim Modeli
 
B2B nas redes sociais - Existe uma nova era
B2B nas redes sociais - Existe uma nova eraB2B nas redes sociais - Existe uma nova era
B2B nas redes sociais - Existe uma nova era
 
Yunaiboon 2550 02
Yunaiboon 2550 02Yunaiboon 2550 02
Yunaiboon 2550 02
 
2013 Telethon Slide Show
2013 Telethon Slide Show2013 Telethon Slide Show
2013 Telethon Slide Show
 
Green Computing at RIT
Green Computing at RITGreen Computing at RIT
Green Computing at RIT
 
Search for iTopia
Search for iTopiaSearch for iTopia
Search for iTopia
 
Ppt kemahasiswaan
Ppt kemahasiswaanPpt kemahasiswaan
Ppt kemahasiswaan
 
Pengajran sajak kita kan pulang copy
Pengajran sajak kita kan pulang   copyPengajran sajak kita kan pulang   copy
Pengajran sajak kita kan pulang copy
 
Rococó
RococóRococó
Rococó
 
Calendario escolar 2010 2011
Calendario escolar 2010 2011Calendario escolar 2010 2011
Calendario escolar 2010 2011
 

Similar to 2 004

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์Rangson Sangboonruang
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.จีระภา ตราโชว์
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิWataustin Austin
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80Rose Banioki
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to 2 004 (20)

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
I Love English by KR No.8 (9Dec08)
I Love English by KR No.8 (9Dec08)I Love English by KR No.8 (9Dec08)
I Love English by KR No.8 (9Dec08)
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 

2 004

  • 1. การสะกดและการออกเสียงคําภาษาอังกฤษ คารม ไปยะพรหม ผูเขียนเคยไดยินผูคนกลาวถึงภาษาอังกฤษที่ไมคอยจะถูกตองนักเชน ภาษาอังกฤษนั้นอาน ได แตแปลไมได หรือ ภาษาอังกฤษมี พยัญชนะ 21 ตัว และมีสระ 5 ตัว (a, e, i, o และ u) และได ยินผูบริหารระดับสูงและคนไทยบางคนพูดภาษาไทยสลับกับคําศัพทภาษาอังกฤษที่ออกเสียงแบบ แปลกๆชนิดที่เจาของภาษาไดยินแลวงุนงงและคนไทยดวยกันเองฟงแลวตองปวดศีรษะซีกเดียว เพราะไมรูเรื่องวาพูดวากระไร ทั้งๆที่คําศัพทเหลานั้นสามารถแปลเปนภาษาไทยได ในฐานะที่เปน ผูสอนวิชาภาษาอังกฤษมาหลายปรูสึกไมสบายใจยิ่งนัก ที่ผูคนเขาใจภาษาอยางนั้น แตพอจะเขาใจ วาผูพูดคงตองการแสดงภูมิรูออกมาเพื่อยกระดับตนเองใหสูงขึ้นกวาผูอื่นซึ่งเปนเรื่องที่สามารถ เขาใจไดอยางไมยากนักตามหลักจิตวิทยาเพราะเปนวิสัยปกติของผูบริหารระดับสูงหรือผูที่คิดวา ตนเองเปนนักวิชาการที่มีความรูความสามารถระดับเอกอุ ตองใชภาษาที่แปลกประหลาดเขาไว หาก ไมทําอยางนั้นเกรงวาจะไมขลัง(กระมัง) ในความเปนจริงแลวการอานที่กลาววาอานไดนั้นเปนการ อานตามความเขาใจของผูอานเอง ถูกหรือผิดตามหลักการออกเสียงอยางไรไมตองพูดถึง หากแปล ไมไดดวยแลวก็ชวนใหสงสัยเปนยิ่งนัก สวนพยัญชนะภาษาอังกฤษนั้นแทจริงแลวมี 24 ตัวและสระมี ถึง 20 ตัว ไมใชตามที่ผูคนเหลานั้นเขาใจ บรรดาภาษาตางๆในโลกนี้ มีการประมาณวามีมากกวา 6,000ภาษา และเปนภาษาที่มี ตัวเขียนประมาณรอยละ 15 แตละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตนไมวาจะเปนระบบเสียง คํา โครงสราง ทางดานไวยากรณหรือระบบความหมาย ดังนั้นผูที่ศึกษาภาษาโดยมีจุดประสงคเพื่อจุดประสงคใดก็ ตาม ควรที่จะศึกษาใหถูกตองทั้ง 4 ทักษะ (ฟง พูด อานและเขียน) โดยเฉพาะการอานจากระบบ การเขียน ในมุมมองของนักภาษาศาสตรแลว ตัวเขียนเปนเพียงสัญลักษณที่ใชแทนเสียงพูดในภาษา เทานั้น ไมใชภาษาที่แทจริง ทั้งนี้เพราะวา ตัวเขียนไมสามารถเขียนแทนเสียงพูดไดถูกตอง แมนยํา ยกเวนสัทอักษร (phonetic alphabet) เชน ในภาษาไทย การสะกดคํา หรือ การเขียนไมสามารถ เขียนใหออกเสียงไดเหมือนภาษาพูด เชน ๙ ไมออกเสียงวาเลข “เกา” (ตามการสะกดแบบแจกลูก เกา เกา และ เกา) แตกลับออกเสียงเปน กาว เหมือนกับคํากริยา “กาว” ที่มีความหมายวา เดิน ขาพเจา (ขา-พะ-จาว ไมใช ขา-พะ-เจา) ดื่มน้ํา ( ดื่ม-นามไมใช ดื่ม-น้ํา)การสะกดคําในภาษาอังกฤษ ก็เชนเดียวกัน เราไมสามารถหากฎเกณฑมาอธิบายหลักการเขียนและการออกเสียงใหสอดคลองกัน ได เชน do และ go สะกด ดวย ตัวอักษร o เหมือนกัน แตออกเสียงเปน / / หรือ /อู/ ในคําวา do และ / / /เออะ+อุ/ คําวา go ความสัมพันธระหวางตัวเขียน และภาษาพูดมักจะเปนปญหาและอุปสรรคตอการเรียนรูการ ออกเสียงคําศัพทใหม ตามปกติแลวการเรียนจะเริ่มตนดวยการพูดออกเสียงดังๆกอน ตามดวยการ
  • 2. 2 ใชคําศัพทใหมนั้นสนทนาในชั้นเรียน แลวครูจะเขียนคําศัพทลงบนกระดานเพื่อใหนักศึกษาจดจํา ความสัมพันธระหวางตัวเขียนละการออกเสียงคําศัพทนั้น ในการสอนไวยากรณ จะตองเริ่มตนจาก โครงสรางประโยคกอนจากนั้นก็ตามดวยการพูด ในการสอนอาน นักศึกษาอาจจะถูกกระตุนใหอาน คําศัพทดังๆ ซ้ํากันหลายครั้งกอนที่จะจบดวยการเขียน แตปญหาที่สําคัญคือ รูปแบบภาษาพูดและการเขียนไมสอดคลองกัน การเขียนอาจจะ นําไปสูการออกเสียงผิดได ในภาษาอังกฤษ มีคําจํานวนมากที่มีองคประกอบของคําการสะกดอยาง เดียวกัน แตออกเสียงแตกตางกันอยางสิ้นเชิง ลองอานออกเสียงและสังเกตเสียงคําที่พิมพดวยอักษร ตัวทึบ ในโคลงตอไปนี้ Our strange language When the Enlishe tongue we speak Why is “break” not rhymed with “freak”? Will you tell me why it’s true We say “sew” but likewise “few”; And the maker of a verse Cannot cap his “horse” with “worse”; “Beard” sounds not the same as “heard” “Cord” is different from “word”. Cow is “cow” but low is “low”. “Shoes” is never rhymed with “foe”; Think of “hose” and “dose” and “lose”; Think of “goose” and not of “choose”; Think of “comb” and “tomb” and “bomb”; “Doll” and “roll”, “home” and “some”; And since “pay” is rhymed with “say” Why not “paid” with “said”, I pray? We have “blood” and “food” and “good”’ “Mould” is not pronounced like “could; Wherefore “done” but “gone” and “lone”? Is there any reason known? And in short seems to me Sounds and letters disagree. Author unknown จากโคลงขางบน จะพบวา คําที่สะกดดวยอักษรที่เหมือนกันหรือคลายกันไมไดออกเสียง เหมือนกันแตอยางใด ความสําคัญที่พิเศษอยางหนึ่ง ของภาษาอังกฤษคือ มีสระเปนจํานวนมากไมออกเสียง หรือไมก็ออกเสียง สระ schwa / / เชน การออกเสียง a ในพยางคที่สองของคําวา breakfast หรือ คําวา man กับ woman เปนตน ในกรณีที่สระในคําที่ทําหนาที่ทางดานไวยากรณแตกตางกัน อาจจะออกเสียงเต็มพยางคหรือ ลดเสียง ตัวอยางเชน democracy เมื่อเปนคํานามสระในพยางค 2
  • 3. 3 แรกและพยางคที่สามจะลดเสียง ในขณะที่พยางคที่สองจะไดรับการเนนเสียง ในทางตรงขามคําวา democratic เปนคํานามคุณศัพท พยางคที่สองลดเสียงลงและพยางคที่หนึ่งและพยางคที่สามกลับ ออกเสียงสระเต็มเสียง ในกรณีที่ยกตัวอยางนี้ ตําแหนงการลงเสียงหนักเบาไมไดเปนตัวบงชี้การ สะกดคําที่ถูกตองแตอยางใด กลาวโดยสรุป การสะกดคําในภาษาอังกฤษ (เชนเดียวกับหลายภาษา) ไมไดเปนตัวบงชี้ใน การออกเสียงได ดังนั้นการออกเสียงคําในภาษาอังกฤษจะตองพิจารณา 1. ประวัติของแตละคํา 2. ตําแหนงการลงเสียงหนักเบาดวย ตัวอยาง สระเสียงแรกในคําวา demon คือ /i:/ ในขณะที่ สระตัวที่ สองออกเสียง schwa เพราะอยูภายใตอิทธิพลของพยางคที่ไมไดรับการลงเสียงหนักเบา หรือ การ เนนเสียง (stress) ในคําวา demonic สระตัวแรกซึ่งไมไดรับการเนนเสียง จะเปลี่ยนจาก /i:/ เปน /∩/ และออกเสียง / / ในพยางคที่สองเพราะไดรับการเนนเสียงเต็มเสียง สวนในคําวา demonstrate, democratic เสียงสระตัวแรกจะออกเสียงเปน / / ปญหาที่เกิดจากการสะกดคําไมสอดคลองกับการออกเสียง คือ ออกเสียงไมถูกตองเพราะ การออกเสียงที่ถูกตองมีความสําคัญเปนอยางมากในการสื่อสารดวยเสียงพูด เนื่องจากการเขียน ไมไดบงบอกถึงการสะกดคําในภาษาพูดที่ใชสนทนาในชีวิตประจําวันทําใหผูที่ศึกษาการออกเสียง จากการสังเกตการสะกดคําเปนแนวทางจึงออกเสียงผิด เพราะไมไดตรวจสอบการออกเสียงที่ถูกตอง จากพจนานุกรม นอกจากปญหาในเรื่องการออกเสียงแลว ยังมีปญหาความยุงยากในการสะกดคํา ความ ยุงยากนี้ทําใหเด็กที่เรียนรูการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเปนครั้งแรก หรือ ผูที่ศึกษาภาษา อังกฤษเปนภาษาที่สอง พบวาความยุงยากในการออกเสียงที่มีความเกี่ยวของโดยตรงกับการออก เสียงในภาษาแม เราลองจินตนาการผูเรียนที่มีภาษาแมมีการสะกดคําและการออกเสียงที่สัมพันธ กัน หรือ ผูเรียนที่ใชตัวอักษรโรมันในการสะกดเสียงภาษาของตนเอง จะมีความยุงยากลําบาก เพียงไร เมื่อตองพยายามเรียนระบบการสะกดในภาษาอังกฤษหรือเรียนรูความสัมพันธในการออก เสียงกับการสะกดคํา เชน ในภาษาญี่ปุน จะเขียนคําที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษดวยอักษรโรมัน (โรมันจิ) และอาจจะเคยเห็นคําเหลานี้ในโฆษณาสินคาทางโทรทัศน หรือ ปายโฆษณาตางๆ เชน kohi, biru miruku แทนการออกเสียงแบบอังกฤษในคําวา coffee, beer, milk สวนสาเหตุวา ทําไมการสะกดคําและการออกเสียงจึงไมสัมพันธกันนั้น มีขอสังเกตดังนี้ 1. รูปแบบการเขียนภาษาอังกฤษในอดีตและปจจุบัน การสะกดคําหรือระบบการเขียนมีความแตกตางจากภาษาพูด ระบบการเขียนที่เปนรูปแบบ เดียวกันมีความสําคัญตอการรักษาภาษาเอาไวเมื่อมีการสื่อสารดวยการเขียนกับผูที่อยูภายนอก ชุมชน ตรงกันขามการออกเสียงภายในชุมชนหรือระหวางชุมชนจะมีความหลากหลายสําเนียงมาก นอกจากนี้ ตัวเขียนสามารถถายทอดจากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่งไดอยางเปนระบบ ในขณะเดียว กันก็เปนการอนุรักษภาษาไดอีกทางหนึ่ง ในขณะที่ภาษาพูดนั้นมีความยุงยากเปนอยางยิ่งที่รักษาไว ถึงแมวาจะมีการบันทึกเสียงพูดเอาไว แตจะมีปญหามากกวาการเขียน และไมสามารถรักษาเปน
  • 4. 4 รูปแบบอันเดียวกันได มีความเชื่อกันวารูปแบบการเขียนภาษาอังกฤษนั้นเปนระบบพอสมควรและ สามารถเปนตัวแทนทั้งระบบอังกฤษ ระบบอเมริกัน และภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษ (dialect) ที่ หลากหลายในประเทศตางๆทั่วโลกได (ชอมสกี้ 1970: 295) ถึงแมวาระบบการเขียนเปนระบบที่นาเชื่อถือเพียงพอในการเขียนภาษาอังกฤษแทนภาษา พูดที่หลากหลายทั่วโลก ความสัมพันธระหวางเสียง ตัวสะกด การออกเสียงพยัญชนะแตละตัวและ การผสมตัวอักษรเหลานี้เปนเรื่องที่สลับซับซอนพอสมควร ทั้งนี้เพราะตัวอักษรในภาษาอังกฤษมี คอนขางจํากัดคือ มีเพียง 26 ตัวอักษรเทานั้น แตตองใชเขียนแทนเสียงทั้งระบบ (พยัญชนะ 24 ตัว และสระ 20 เสียง) ผสมผสานกันเปนเสียงที่มีความหมายในภาษา จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการออกเสียงเชิงประวัติในเรื่องคําศัพท รูปแบบการสะกดคําและระบบเสียงจากอดีตมาจนถึง ปจจุบัน พบวามีการเปลี่ยนเสียงและการยืมคําจากภาษาอื่น ถึงแมวาการเปลี่ยนแปลงมีไมบอยและ ไมมากนัก แตเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจากชวงเวลาอดีตมาจนถึงปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบตอระบบเสียง รูปแบบการสะกดคํา และมีคําศัพท หลากหลายในภาษา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณการออกเสียงแตละตัวและเปลี่ยน หลักการเขียนแบบตัวตอตัว หนึ่งเสียงหนึ่งสัญลักษณ เปนหนึ่งสัญลักษณมีหลายเสียง หรือ หนึ่ง เสียงมีหลายสัญลักษณ เชน f และ ph และ j และ dg มีลักษณะทางสัทศาสตรเหมือนกัน คือ / / และ /○ / ใชแทนเสียงเดียวกัน ในทํานองเดียวกันการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเขียนหรือการรวม หนวยเสียง ไมจําเปนตองมีเสียงเดียวกัน เสมอไปเชน oo ออกเสียง / / ในคําวา blood ออกเสียง / ⁄/ ในคําวา boot และออกเสียง / ∪/ ในคําวา book เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางดานเสียง ไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการเขียนและ การออกเสียงคําศัพทในภาษาที่ยืมเขาไป เชน ในปายโฆษณาและปายตางๆ มีการสะกดคําทั่วไปที่ ลงทายดวย ight ดวย ite เชน delight เปน delite ตัวอักษรหลายตัวที่ใชเขียนคําในภาษากรีก ก็ เขียนแทนดวยรูปแบบการเขียนที่งายตอการออกเสียง (ซึ่งแตกตางจากระบบการเขียนภาษาอังกฤษ ทั่วไป)เชน photo fast เขียนเปน foto fast , easy เปน ezy, quick gas เปน kwick gas และ clean gas เปน kleen gas เปนตน การเปลี่ยนแปลงเสียงและการยืมคําศัพทนี้ เกิดขึ้นบอย สม่ําเสมอ และเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงเสียงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ การแพรกระจายคําศัพท หรือ analogy (คําศัพทที่ใชในภาษาศาสตรเชิงประวัติ) จะสงผานระยะเวลา ผลกระทบดังกลาวมีการ เปลี่ยนแปลงการสะกดคําดวยรูปแบบที่แตกตางกันออกไป การสะกดคําแบบรักษารูปแบบเดิมของ คําในภาษาหนึ่งอาจจะมีรูปคําที่แตกตางกันออกไปในภาษาที่ยืม มีการเปลี่ยนรูปแบบการสะกดคํา ใหม อิทธิพลรูปแบบการสะกดของหนวยเสียงแตละเสียงหรือคํา และจะใชอยางแพรหลายเมื่อผาน ระบบการพิมพ การสะกดคําในภาษาอังกฤษมีหลายรูปแบบที่ยอมรับไดเชน adviser / advisor, cigaret/ cigarette และอาจพบเพียงรูปแบบคําเพียงรูปเดียวที่นิยมมากในพจนานุกรมบางเลม ในขณะที่บาง เลมอาจจะบรรจุเอาไวทั้งสองคํา การสะกดแบบอังกฤษและแบบอเมริกัน ที่อาจพบในพจนานุกรม 4
  • 5. 5 เชน –re มากกวา –er theatre/theater, centre/center, -ise มากกวา ize civilisation/ civilization, naturalisation/ naturalization, -our มากกวา - or colour/color และ -mme มากกวา m ในคําวา programme / program เปนตน ระบบการสะกดคําภาษาอังกฤษแบบแคนาดาและออสเตรเลีย รวมทั้งในประเทศที่ใชภาษาอังกฤษ นิยมทั้งแบบเอมริกันและอังกฤษ เชน centre (อังกฤษ) และ program (อเมริกัน) ในขณะที่ระบบเสียงภาษาเปลี่ยนไป และรับคําใหมมาจากภาษาตางๆเขามา ระบบการ สะกดคํายิ่งลดความตรงไปตรงมาลง ความสัมพันธระหวางการเขียนและระบบเสียงมีความสัมพันธ กันมากขึ้น มีความหลากหลายในการสะกดคํา ทําใหรูปแบบการสะกดคําเปลี่ยนไป และเปดโอกาส ใหมีการใชคําที่มีรูปการสะกดแบบแปลกๆดวย เชน คนในวงการภาษาโฆษณา มีการใชการสะกดคํา -ite แทน -ight ในการโฆษณา beer ในขณะเดียวกัน ผูคนที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว จะมีความตระหนักในการสะกดคําแบบอังกฤษมากกวาแบบอเมริกันเพราะจะบงบอกความภาคภูมิใจ และบอกความหมายโดยนัยถึงคุณภาพดวย เมื่อมีระบบการสะกดคํายอย นักเขียนที่ตองการประสบความสําเร็จอยางแทจริงอาจใช รูปแบบการการสะกดคําที่หลากหลายออกไปซึ่งแตกตางจากพจนานุกรม หากนักเขียนตองการสื่อ ถึงการออกเสียง สําเนียงทองถิ่น หรือ รูปแบบการพูดแบบดั้งเดิม ก็อาจใชการสะกดแบบแทน เสียงพูด เชน riot (right) dat (that) , dis (this ) , de (the), den (then) cuz/ coz (because, cousin) doin’ / doin (doing), runnin’ / runnin (running) nuthin (nothing), sumpin (something) bidnis (business) wadn’t (wasn’t) durty (dirty), wull (will) gonna, gunna (going to ) wanna (want to), oughta, orta (ought to), useta (used to), hafta (have to), sorta (sort to) kinda (kind of) woulda (would’ve) coulda (could’ve), shoulds (should’ve) musta (must’ve) hadda (had to, had’ve) gotcha (got you), watcha (what you) didja (did you), couldja (could you), wouldja (would you) การสะกดแบบใหม ดังตัวอยางอาจนําไปสูการเปลี่ยนแปลงการสะกดคําในภาษาอยางถาวร
  • 6. 6 2. อิทธิพลทางประวัติศาสตรตอการสะกดคําในภาษาอังกฤษ กอนสงครามฮิสติ้ง ระบบการเขียนของแซกซอนตะวันตกไดพัฒนารูปแบบการเขียนอยาง ตอเนื่อง หลังจากชาวนอรมันพิชิตอังกฤษใน ค.ศ.1066 ภาษาฝรั่งเศสไดกลายเปนภาษาราชการ ของแควนบริตอนเทนภาษาอังกฤษ ทําใหระบบการออกเสียงและการเขียนภาษาอังกฤษมีความ หลากหลายและเปลี่ยนแปลงมาก โดยเฉพาะการสะกดคําที่ไมเปนระบบ จนกระทั่งถึงยุคใหม (ศตวรรษที่ 17) หลังจากการพิมพเริ่มเปนที่รูจักกันแพรหลายและไดรับการยอมรับ ไดมีการพิมพ พจนานุกรมเพื่ออธิบายการเขียนคําภาษาอังกฤษที่ถูกตอง การสะกดคําในยุคกลางของอังกฤษ (เริ่มตนประมาณ ค.ศ.1100 – 1600) มีความแตกตาง กับยุคที่ผานมา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแตละคนในแตละภูมิภาค เชน พจนานุกรมออกซฟอรด (Oxford English Dictionary (OED)) มีตัวอยางการสะกดคํา disease ดังนี้ disseases ศตวรรษที่ 14-15 disese ศตวรรษที่ 14-16 disees, disesse, dysese, dysesse, dessayse, deshaese ศตวรรษที่ 16 discese สะกดแบบสกอต dysease, desease ศตวรรษที่ 15-16 desesse ศตวรรษที่ 16 discease ศตวรรษที่ 17 3. เสียงสระและการเปลี่ยนแปลงการสะกดคํา เสียงสระในภาษาอังกฤษนั้น มักจะสะกดในหลายรูปแบบทั้งๆที่เปนเสียงเดียวกัน ทั้งนี้ อาจจะเปนคําที่มีมาตั้งแตดั้งเดิม หรือ คํายืม เชน 1. /∵/ สะกดดวย a เชน apple, happy, hat 2. / / สะกดดวย e เชน end, pep, men บางครั้งสะกดดวย ea เชน head, read(past tense read) , breakfast สะกดดวย ai เชน said 3. /∩/ ตามปกติสะกดดวย i เชน it, him, pig คําที่ขึ้นตนดวย cy หนา /I/ ยกเวน cycle เชน bicycle, cyclic, cylinder, cylindrical มีคําเดียวที่สะกดดวย o เชน women 4. / / สะกดดวย a ที่นําหนา r เชน car, park, bar สะกดดวย o ที่นําหนา t เชน hot, lot, got 5. / / สะกดดวย o ที่นําหนา r เชน port, glory, bore สะกดดวย a ที่นําหนาดวย ll เชน ball call หรือ นําหนาดวย w เชน law saw 6
  • 7. 7 สะกดดวย ou หรือ au ที่นําหนา ght เชน ought, bought, caught, taught 6. /∪/สะกดดวย u ll sh pull full push bush สะกดดวย ou ในกริยาชวย เชน would could should สะกดดวย oo ที่นําหนาดวย k เชน book, took, look สะกดดวย oo ที่นําหนาดวย t หรือ d เชน foot, soot, good, stood ****** oo อาจเปนเสียง /u:/ ในคํา food, boot, boom, zoo 7. / /สะกดดวย u หรือ o เมื่อสระตามดวยพยัญชนะ เชน up, cut, fuss, come, mother, coming, wonder 8. / / อาจสะกดหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพยางคที่ไมไดรับการเนน เชน sofa, capable, bullet, competition, competitive, flexible, connect circus, circumstance 4. สระเสียงสั้นและเสียงยาว ความสั้นยาวของสระในภาษาอังกฤษนั้นไมมีนัยสําคัญในเรื่องหนวยเสียงสําคัญ (phoneme) กลาวคือ ไมมีความแตกตางในเรื่องเสียงสระ คําที่สะกดดวยสระตัวเดียวกัน อาจจะมีเสียงสระสั้นยาว แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอิทธิพลของตัวสะกด เนื่องจากคําที่สะกดดวยพยัญชนะโฆษะ เสียงสระจะ ยาวกวาคําที่สะกดดวยพยัญชนะอโฆษะเชน คําวา bat กับคําวา bad สะกดดวยสระตัวเดียวกันคือ /∵/ แตในคําวา bat เสียงจะสั้นกวาในคําวา bad ซึ่งแตกตางจากภาษาไทย สระแอะและแอ เปนสระ คนละตัว เชนคําวา แกะ กับ แก เปนตน 1. เสียงสระตอไปนี้พิจารณาเปนสระเสียงสั้น สระเสียงสั้น สระเสียงยาว rat, ran rate ,rain bed, set bead, here lid, grim lied, grime rod, hop road, rode, hope run, luck rune, ruin, Luke 2. โดยทั่วไปหนวยเสียงที่สะกดดวยสระสองตัว สระตัวที่หนึ่งแทนดวยตัวอักษรที่เปน ตัวแทนของเสียงสําคัญ ตัวอักษรที่สองคือ ตัวอักษรที่แทนเสียงสระตัวที่สอง อาจตามสระตัวแรก ทันทีหรือไมก็ตามพยัญชนะ เชน a paid, day, date, naming e seem, mean, receive, people, scene, here, Pete i tie, lie, time, fine, lining
  • 8. 8 o coat, hoe, going, home, spoke, smoking 1. อยูตนคํา w r write, wrong, wreath g n gnat, gnaw, gnu k n knee, know, knight p n pneumonia, pneumatic, pneumonic p s psychology, pseudonym p t ptomaine, ptosis, pterodactyl h สระ hour, honest, heir 2. อยูหลังพยัญชนะตน u g guarantee, guard, guess h g ghost, ghastly, ghetto h r rheumatic, rhythm, rhapsody h w white, why, where c s science, scenic, scent 3. อยูกลางคําหรือทายคํา g n m reign, feign, diaphragm b m dumb, thumb, plumber b t debt, doubt t en soften, listen, fasten s i island, aisle l a f half, calf l ou d could, would, should gh ou, through, dough gh ou, au, bought, thought, taught, caught gh i high, thigh gh i, t night, right, height 4. ไมออกเสียง e เมื่ออยูหนาสระเสียงยาว i time, like, mine e scene, here, Pete a hate, sane, fame u flute, tune, tube o bone, home, tote 8
  • 9. 9 5. ธรรมชาติของระบบตัวเขียนอังกฤษปจจุบัน สตับต กลาววา ในภาษาอังกฤษ ไมมีคําใดที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับการสะกดคํา ใน ขณะเดียวกันคํากลับมีความสัมพันธระหวางระบบการเขียนและระบบเสียงที่สามารถทํานาย ความสัมพันธระหวางเสียง หลักการเขียนที่แตกตางกันได และไมมีความผิดปกติในการสะกดคําที่ เกี่ยวของกับระบบเสียง เชน รูปเขียน c ออกเสียง /s/ หรือ /k/ ขึ้นอยูกับเนื้อหา e ออกเสียง /i/ ใน กลุมคําเปด เชน me, she, he แต /e/ ในกลุมพยางคปด เชน men, shell, hen นอกจากนี้การออก เสียงของคําเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเติมหนวยคําเติมคําศัพท (affixes) ถึงแมวาระบบการเขียน แบบเดิม เชน nation , national การสะกดคําภาษาอังกฤษเปนตัวอยางการอธิบายการสะกดคําไม เปนระบบที่ดีที่สุด เพราะมีระบบคําที่สลับซับซอน กฎเกณฑบางขอเครงครัดในระบบเสียง ในขณะที่ บางขอเกี่ยวของกับระบบคํา ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลของคํายืมจากภาษาตางประเทศ จากขอความที่กลาวมาแลว พอที่จะสรุปไดวา รูปแบบการเขียนคําในภาษาอังกฤษนั้นไม สามารถเปนแนวทางในการออกเสียงที่ถูกตองได เนื่องจากสาเหตุหลายประการที่กลาวมาแลว และ ไมมีหลักเกณฑใดที่จะชวยการสะกดคําหรือออกเสียงไดถูกตองรอยเปอรเซ็นต อยางมากทีสุดก็แค เปนแนวทางเทานั้น หากไดศึกษาวิชานิรุกติศาสตรภาษาอังกฤษอยางละเอียดถี่ถวนแลวจะทําให เขาใจและสามารถอธิบายไดวาคําในภาษาอังกฤษที่มีมากกวา 1,200,000 คํานั้น มาจากการสรางคํา ขึ้นมาใชเองโดยการเติมปจจัย อุปสรรค ประสมคํา ตั้งชื่อตามบุคคล หรือสถานที่สําคัญ หรือ คิด คําศัพทใหมขึ้นมาใชโดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการเปนจํานวนมากมาย และที่ไม สามารถปฏิเสธถึงสาเหตุที่มีการออกเสียงและการสะกดคําที่หลากหลายในภาษาอังกฤษนั้นก็คือ การยืมคําจากภาษาอื่นมาใชนั่นเอง หนังสืออานประกอบ Avery, P.& Enrich, S. (1996). Teaching American English Pronunciation. Oxford University Press. P.8 Chomsky, N. (1970). Syntactic structure. Cambridge: Cambridge University Press. Cystal, D. (1994). The Cambridge Encyclopedia of The English Language. Cambridge: Cambridge University Press. Hewings, M. (1999). Advance Grammar in Use. Cambridge: Cambridge University Press. Hornby, A.S. (2003). Oxford Advanced Learner’s Dictionary. Oxford: Oxford University Press.
  • 10. 10 10