SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
จิตวิทยาจิตวิทยา
พัฒนาการพัฒนาการโดย นางสาวภวันตรีโดย นางสาวภวันตรี
ศรีดาดิษฐ์ศรีดาดิษฐ์
สาขาการสอนสาขาการสอน
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
Page  2
ความรู้ที่ได้
แหล่งศึกษาความรู้
จิตวิทยาจิตวิทยา
พัฒนาการพัฒนาการ
สะท้อนผลการเรียนรู้
แหล่งศึกษาความ
รู้หนังสือ
1. พื้นฐานกระบวนทัศน์ทางการศึกษา.
2. จิตวิทยาการศึกษา
Page  3
ความรู้ที่ได้รับ
1. จิตวิทยา
2. พัฒนาการ 4 ด้าน
- ด้านร่างกาย
- ด้านปัญญา
- ด้านจิตสังคม
- ด้านจริยธรรม
3. การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับพัฒนาการ
Page  4
Page  5
ContentContent
พัฒนาการ (Development)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา (Psycholog
ด้านร่างกาย (Physical Developme
ด้านปัญญา (Cognitive Developmen
ด้านจิตสังคม (Psychosocial Developme
ด้านจริยธรรม (Moral Developmen
จิตวิทยา
(Psychology)จิตวิทยา (Psychology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
2 คำา คือ
Psyche หมายถึง ลมหายใจของชีวิต (Breath of
Life)
หรือ จิต (Mind) และ Logos หมายถึง ความรู้
(Knowledge) หรือ การศึกษา (Study)
Psychology จึงหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับจิต
(the study of mind)
(Benson 1998)
Page  6
พัฒนาการ
(Development)พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทั้งมวล
ของบุคคล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นๆ มี
แบบแผนอย่างต่อเนื่อง และปรากฏอยู่อย่างถาวร
“ ครูจะต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
พัฒนาการในทุกๆ ด้านที่จะส่งผลต่อพฤติกรรม
ของผู้เรียน ”
Page  7
พัฒนาการ
(Development)พัฒนาการแบ่งออกเป็นด้าน ๆ ได้ ดังนี้
1. ด้านร่างกาย (Physical Development
2. ด้านปัญญา (Cognitive Development)
3. ด้านจิตสังคม (Psychosocial
Development)
4. ด้านจริยธรรม (Moral Development)
Page  8
พัฒนาการทาง
ร่างกาย (Physical
Development)
แบ่งเป็น 3 ช่วงวัย คือ
1) เด็กระดับปฐมวัย (3 – 6 ปี)
2) เด็กระดับประถมศึกษา (6 – 12 ปี)
3) เด็กระดับมัธยมศึกษา (12 – 17 ปี)
Page  9
พัฒนาการทาง
ร่างกาย – ปฐมวัย
ร่างกาย : เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการ
พัฒนาความเชี่ยวชาญด้านการเคลื่อนไหว กล้าม
เนื้อมัดใหญ่ และมัดเล็ก การเพิ่มของความสูงและ
นำ้าหนัก
สมอง : เด็กวัย 5 ปี จะมีนำ้าหนักสมองเป็น 90%
ของเมื่อเป็นผู้ใหญ่
สายตา : เด็กเล็กกว่า 5-6 ปี มีสายตายาว การ
อ่านและเคลื่อนไหวสายตาอาจเป็นไปได้ช้า
Page  10
พัฒนาการทาง
ร่างกาย – ปฐมวัย
การจัดการศึกษา : เน้นกล้ามเนื้อ เช่นเลน
ดินสอเทียน ระบายสี ฉีกกระดาษ ปั้นดินนำ้ามัน
เด็กที่ถนัดซ้ายหากถูกบังคับให้เปลี่ยนอาจเกิด
ความผิดปกติอื่นตามมาได้ ไม่ควรให้เด็กจ้องตัว
หนังสือใกล้ๆ เล็ก หรือเคลื่อนไหวไปมาอย่าง
รวดเร็ว
ไม่ควรเร่งพัฒนาการเด็ก และพัฒนาแต่ละคน
ตามความเหมาะสมและความต้องการของเขา
หลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบ
Page  11
พัฒนาการทางร่างกาย –
ประถมศึกษา
ร่างกาย : เด็กหญิงจะเริ่มโตทัน และอาจโตกว่า
เด็กชาย มีการพัฒนาของกล้ามเนื้อ และสรีระ
สายตา : เด็กก่อน 8 ขวบ ยังมีพัฒนาการทาง
สายตาไม่สมบูรณ์นัก
การจัดการศึกษา : ควรเน้นทักษะ เช่น การ
ทรงตัว การวิ่ง กระโดด การขว้าง เป็นต้น การจัด
ให้เลนเกมควรให้เกิดความยุติธรรมทางสรีระ
เด็กต้องการพักผ่อน และมีสมาธิไม่ยาวนัก จึงควร
จัดกิจกรรมเป็นช่วงสั้น Page  12
พัฒนาการทางร่างกาย –
มัธยมศึกษา
ร่างกาย : เจริญเติบโตเกือบสมบูรณ์ เด็กชาย
สวนใหญ่จะแข็งแรงความเด็กหญิง อวัยวะสืบพันธ์
เจริญเติบโตเต็มที่ เด็กจะเกิดความวิตกกังวลเกี่ยว
กับร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป
การจัดการศึกษา : ไม่ควรจัดกิจกรรมที่เน้น
ความแตกต่างของร่างกายมากเกินไป เน้นการ
ดูแลสุขภาพที่ถูกวิธี สนับสนุนการพัฒนา
บุคลิกภาพ
Page  13
พัฒนาการทาง
ปัญญา
(Cognitive
Development)เป็นการเปลี่ยนแปลงด้านการรู้ภาษา การจำา
การใช้เหตุผล ความสามารถในการคิด
ในช่วงปฐมวัย จะมีการเปลี่ยนแปลงด้านภาษา
เมื่อเข้าสูวัยเด็กจะมีการพัฒนาด้านการจำาและ
ทักษะ Metacognition เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะพัฒนา
ด้านสมมุติฐาน (salavin, 2009)
Page  14
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทางปัญญา
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญาของเพียเจต์
(Jean Piaget)
“เด็กไม่ได้ “โง่” เพราะขาดข้อมูล เพียงแต่คิด
และใช้หลักตรรกะที่แตกต่างจากผู้ใหญ่”
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญาของบรูเนอร์
(Jarome S. Bruner)
“บุคคลเลือกรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือกเรียน
รู้ผ่านกระบวนการค้นพบ (Discovery Learning)”
Page  15
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget
พัฒนาการของเด็กเป็นไปตาม
1) ระดับวุฒิภาวะ (Maturation)
2) การสะสมการเรียนรู้ (Learning)
3) การผสมผสานระหว่างทฤษฎีวุฒิภาวะ
(Maturation Theory) กับ ทฤษฎีการสะสมการ
เรียนรู้ (Learning Theory)
Page  16
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget
มีประเด็นสำาคัญต่อไปนี้
1. โครงสร้างความรู้ (Schema)
1.1 การปรับเข้าโครงสร้าง
1.2 การขยายโครงสร้าง
Page  17
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Piaget2. ทฤษฎีขั้นพัฒนาการ (Stage Theory) เกี่ยวกับ
พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
ขั้นที่ 1 (0-2 ปี) เรียนรู้ผ่านการสัมผัสและ
เคลื่อนไหว
ขั้นที่ 2 (2-7 ปี) เลียนแบบพฤติกรรม ภาษา เล่น
สมมุติ วาดรูปจากสิ่งที่คิด จินตนาการ มีการรับรู้แบบมุ่งสู่
ศูนย์กลาง เพ่งความสนใจได้ทีละอย่าง
ขั้นที่ 3 (7-11 ปี) สามารถคิดย้อนกลับได้ อนุรักษ์
พื้นที่ จัดกลุ่มหรือแบ่งหมู่ จัดลำาดับสิ่งของ
ขั้นที่ 4 (11 ขึ้นไป) สามารถคิดเหตุผลแบบอนุมาน
เชิงสถิติ คิดจากข้อมูลที่เป็นนามธรรมได้
Page  18
ทฤษฎีพัฒนาการทาง
ปัญญาของ Bruner
มีหลักการสำาคัญ 4 ประการ ดังนี้
1. หลักของโครงสร้าง (Structure)
2. การจูงใจ (Motivation)
3. ลำาดับขั้น (Sequence)
4. การเสริมแรง (Reinforcement)
Page  19
พัฒนาการทางจิต
สังคม
(Psychosocial
Development)อีริก อีริกสัน (Erik Erikson) เสนอแนวคิดการ
พัฒนาทางจิตสังคมตามแนวคิดของซิกมัน ฟรอย
ด์ ว่า
พัฒนาการในแต่ละลำาดับขั้นจะมีลักษณะเป็น
ปมขัดแย้งซึ่งเป็นวิกฤติทางจิตสังคม
(Psychosocial Crisis) ที่บุคคลจะต้องเผชิญ ซึ่ง
หากสามารถผ่านปมจัดแย้งแต่ละปมอย่างน่า
พอใจ ก็จะได้เผชิญหน้ากับบทท้าทายใหม่ ๆ แต่
ถ้าไม่สามรถผ่านปมขัดแย้งได้อย่างสมบูรณ์ก็จะ
Page  20
ขั้นพัฒนาการทางจิต
สังคม
1. ความรู้สึกไว้วางใจ – ความไมไว้วางใจ (0-18
เดือน)
2. ความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง – ความอายและเคลือบ
แคลงสงสัย
(18 เดือน – 3 ปี)
3. ความคิดริเริ่ม – ความรู้สึกผิด (3 - 6 ปี)
4. ความอุตสาหะ ภาคเพียร – ความรู้สึกด้อย (6 - 12
ปี)
5. ความมีเอกลักษณ์ – ความสับสนในบทบาท (12 -
18 ปี)
6. ความรู้สึกผูกพัน – ความโดดเดี่ยว (18 - 35 ปี)
Page  21
การนำาไปใช้จัดการ
ศึกษา (มัธยม)
1. ครูควรจัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับบทบาททางเพศที่เหมาะสม
2. ครูควรจัดกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
อาชีพที่หลากหลาย
3. ครูควรป้องกันการสร้างเอกลักษณ์เชิงลบ
(Negative identity)
4. ครูต้องอดทนตอพฤติกรรมของวัยรุ่น
5. ครูควรมีการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับตัวเด็ก เพื่อ
ให้เขาเข้าใจตนเอง เห็นจุดเด่น จุดด้อย
6. ครูควรมีสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก
Page  22
พัฒนาการทาง
จริยธรรม
(Moral
Development)โคล์เบิร์ก (Kohlberg) ได้พัฒนาแนวความคิดของ
เพียร์ เจต์ (Piaget)
การพัฒนาการทางจริยธรรม แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับละ 2 ขั้น รวมเป็น 6 ขั้น
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมของตนเอง (Pre-
conventional Level)
ระดับที่ 2 ระดับมีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ของสังคม
(Conventional Level)
ระดับที่ 3 ระดับมีจริยธรรมตามวิจารณญาณหรือ
เหนือกฎเกณฑ์ของสังคม (Post conventional Morality)
Page  23
พัฒนาการทาง
จริยธรรม
Page  24
ระดับ ขั้น
ระดับก่อนมีจริยธรรมของ
ตนเอง
(Pre conventional Level)
การลงโทษและการ
เชื่องฟัง
กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือ
เพื่อผลประโยชน์ของ
คน
ระดับมีจริยธรรมตามกฎ
เกณฑ์ของสังคม
(Conventional Level)
ความคาดหวังและการ
ยอมรับในสังคมสำาหรับ
เด็กดี
กฎและระเบียบ
ระดับมีจริยธรรมตาม
วิจารณญาณ
สัญญาสังคม
การนำาไปใช้
ประโยชน์
1. การสอน
- ทราบพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย
- นำาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม
กับพัฒนาการ
2. การวางแผนทำางานวิจัย
- เลือกใช้รูปแบบ และกิจกรรมที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการของนักเรียน
Page  25
เอกสาร
อ้างอิง
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พื้นฐาน
กระบวนทัศน์ทางการศึกษา.
พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์, 2555.
สุรวงค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2556.
Page  26
จบการนำาเสนอ
ขอบคุ
ณค่ะ

More Related Content

What's hot

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพัน พัน
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 

What's hot (20)

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อน
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 

Similar to จิตวิทยาพัฒนาการ

จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนphatcom10
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 

Similar to จิตวิทยาพัฒนาการ (20)

จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอน
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 

จิตวิทยาพัฒนาการ