SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
นางสาว สุภาภรณ์ ทิมสาราญ รหัสนักศึกษา 07530387
นางสาว วศินี จันทร์พราหมณ์ รหัสนักศึกษา 07540425
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
1
ความหมายของ TPM
TPM (Total Productive Maintenance)
เป็นระบบงานที่มีเป้าหมายปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรให้ได้สูงสุด
ปรับปรุงผลการดาเนินงาน และสร้างสถานที่ทางานให้มีชีวิตชีวาด้วยการขจัดความ
สูญเสีย และความสูญเปล่าของเครื่องจักร อันได้แก่ เหตุขัดข้องและของเสีย ให้หมดไป
2
T = Total
 ความร่วมมือของผู้ใช้เครื่องจักร หรืออุปกรณ์สานักงานและผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่พนักงานซ่อม
บารุง หัวหน้างาน (Foreman) ผู้จัดการและวิศวกรผู้กาหนดการใช้เทคโนโลยี
P = Productive
 ประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์สานักงานทั้ง ด้านการทางาน การผลิตผล
งาน และความคงทน โดยใช้งบประมาณซ่อมบารุงและเปลี่ยนอุปกรณ์น้อยทีสุด
M = Maintenance
 ระบบการดูแลรักษา บารุงรักษา เปลี่ยนอุปกรณ์และซ่อมแซมให้เครื่องจักรอุปกรณ์สานักงาน
มีความพร้อมใช้งาน และเกิดความสูญเสียระหว่างการทางานน้อยที่สุด
ลักษณะพิเศษของ TPM คือ การดาเนินกิจกรรมด้วยงานกลุ่มย่อยที่ซ้อน
กันแบบสามเหลี่ยมลงมาตามลาดับ) โดยการมีส่วนร่วมของทุกคน
3
จุดสาคัญของ TPM ทั้ง 5 ประการ
 มุ่งไปสู่การทาให้เครื่องจักรมีประสิทธิภาพสูงสุด
 สร้างระบบโดยรวมทั้งองค์กร
 ผู้เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรทุกคนร่วมมือกันทางาน
 ทุกคนมีส่วนร่วมตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ
 ดาเนินการบารุงรักษาเครื่องจักรด้วยกิจกรรมกลุ่มย่อยโดยตัวเองเป็นหลักในการ
ปรับปรุงงาน
4
ประโยชน์ของ TPM
1 การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน คือ
 การฝึกอบรมการใช้งานและดูแลรักษาเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ เพื่อส่งเสริมให้
พนักงานเห็นความสาคัญของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์และเพิ่มทักษะในการดูแลรักษา
และใช้งาน
 การฝึกอบรมพนักงานซ่อมบารุง ทาให้พนักงานซ่อมบารุงมีความสามารถดูแลและ
รักษาเครื่องจักรหรืออุปกรณ์สานักงานอย่างเป็นระบบ
 การวางแผนการบารุงรักษาแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้ใช้ พนักงานซ่อมบารุง และ
หัวหน้าหน่วยงาน ทาให้เกิดความเข้าใจ ความสัมพันธ์ และความช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการซ่อมบารุง
5
2 การเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยี การใช้การบารุงรักษา และการซ่อมแซม อย่าง
ถูกต้องและมีประสิทธิภาพของการใช้เครื่องจักร หรืออุปกรณ์สานักงานได้แก่
 ลดการสูญเสียวัตถุดิบจากการ Start up เพราะความไม่แน่นอนของเครื่องจักร
เมื่อเปิดเครื่องครั้งแรก มักต้องเสียวัตถุชิ้นแรกที่ป้อนเข้าไป
 ลดการสูญเสียผลผลิต (Wast -Input) ที่มักเกิดจากการขัดข้องของ
เครื่องจักรในระหว่างการทางาน
 ลดการเสียเวลาที่เกิดจากการซ่อมแซม เพราะต้องหยุดเครื่องเพื่อซ่อมหรือปรับแต่ง
เครื่องใหม่
 ลดปัญหาการผลิตต่ากว่าเป้าหมายที่มีผลมาจากเครื่องจักร มีอัตราเร่งที่ต่ากว่า
มาตรฐาน
 ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เพราะเครื่องจักรมีความสมบูรณ์พร้อมทางานทุกขั้นตอน
ผลผลิตที่ได้ก็จะเป็นไปตามข้อกาหนดหรือมาตรฐาน
6
วัตถุประสงค์ คือ มุ่งสู่การขจัดความสูญเสีย 6 อย่าง คือ
* การขัดข้องอย่างกะทันหัน * การเตรียมงานและการปรับแต่ง
* การเดิน ๆ หยุด ๆ ของเครื่องจักร * ความเร็วของเครื่องจักรลดลง
* การลดลงของผลได้วัสดุ (Yield) * ของเสีย
การลดลงของผลได้วัสดุ (Yield) เมื่อเครื่องจักรทางานดีขึ้น ก็จะทาให้ผล
ดาเนินการขององค์กรดีขึ้น สถานที่ทางานก็มีชีวิตชีวา เพราะ
สามารถผลิตได้ตามแผน ส่งมอบทันเวลา คุณภาพดีขึ้น ต้นทุนลดลง อุบัติเหตุ
ลดลง (เพื่อบริษัท สุดท้ายผลออกมาก็เพื่อตัวเองนั่นเอง)
วัตถุประสงค์ของกลุ่มงานย่อยใน TPM
7
โครงสร้างสามเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ของ TPM
ใน TPM นั้นมีกลุ่มย่อยซ้อนกันหลาย ๆ ชั้น มี
 กลุ่มย่อยของผู้บริหารสูงสุด เช่น กจก.เป็นประธาน, ผจส.เป็นสมาชิก
 กลุ่มย่อยของผู้บริหารระดับกลาง เช่น ผจส. เป็นประธาน, วศ./ผจผ./หน.เป็นสมาชิก
 กลุ่มย่อยของผู้บริหารระดับต้น เช่น ผจผ./หน. เป็นประธาน, หัวหน้ากลุ่มงานเป็น
สมาชิก
 กลุ่มย่อยของพนักงานปฏิบัติการ เช่น หัวหน้ากลุ่มเป็นประธาน และพนักงาน
ปฏิบัติการเป็นสมาชิก
8
กลุ่ม PM (PM Circle)
 การสร้างกลุ่มย่อยเพื่อเริ่มงาน TPM จะต้องทาให้กลุ่มย่อยเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกับโครงสร้างการ
 บริหารงาน โดยให้กลุ่มเดิมซึ่งเป็น ZD Circle และกลุ่ม QC Circle เป็น
กลุ่ม PM (PM Circle)
9
จุดสาคัญในการบริหารงานกลุ่มย่อย
1 จัดตั้งหน่วยส่งเสริมงานกลุ่มย่อย
 กาหนดผู้รับผิดชอบโดยเฉพาะ โดยเป็นผู้ที่เคยร่วมงานในงานบารุงรักษามาก่อน
หรือผู้ที่มีความรู้ เรื่องเครื่องจักรอยู่ในสานักงานส่งเสริมงานกลุ่มย่อย
2 สร้างให้ทุกคนมีส่วนร่วม
 การทางานกลุ่มย่อยต้องให้ทุกคนมีส่วนร่วม ประชุมปรึกษาอย่างกระตือรือร้น เพื่อ
มุ่งสู่การบรรลุ เป้าหมาย การเข้าร่วมประชุมจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่องานตามหน้าที่
และผู้บังคับบัญชายินยอม การมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย รณรงค์วิเคราะห์
เหตุขัดข้อง ปรับปรุง สารวจบันทึกผล ตรวจ ยืนยัน การบรรลุเป้าหมาย และประกาศ
ผลงาน
10
3. กุญแจ 3 ดอก สู่ความสาเร็จงานกลุ่มย่อย
การที่จะทางานให้สาเร็จนั้นจะต้องมี
(1) ความตั้งใจในการทา และ
(2) มีความสามารถในการทาตลอดจน
(3) สร้างสถานที่ให้มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่ดีทั้งทางจิตใจ และทางกายภาพ เช่น
โต๊ะ กระดาน บอร์ด
11
4 ขั้นตอนการทากลุ่มย่อย ในการทากลุ่มย่อย TPM มี
 กาหนดหัวข้อเรื่อง
 เลือกเรื่องที่จะทา
 ตั้งเป้าหมาย
 วางแผนกิจกรรมและแบ่งหน้าที่
 สารวจสภาพปัจจุบัน
 กาหนดมาตรฐานการแก้ไข
 ดาเนินการปฏิบัติ
 สารวจผลที่ได้และกาหนดมาตรฐานป้องกัน
12
5 โครงสร้างกลุ่มย่อย
กาหนดจานวนสมาชิก 5-10 คน กาหนดเครื่องจักรที่กลุ่มรับผิดชอบ (อย่าลืมแม้แต่
อุปกรณ์เล็ก ๆ)
 การตั้งกลุ่มอาจทา “กลุ่มร่วม” เพื่อแก้ปัญหากับกลุ่มอื่นขึ้นอยู่กับหัวเรื่องที่จะทา
 ผู้บังคับบัญชาต้องคอยส่งเสริม แนะนากลุ่มตลอดเวลา
6 การเลือกหัวหน้ากลุ่ม
 อาจเป็นหัวหน้างาน หรือจากการเลือกตั้งของพนักงานปฏิบัติการให้เป็นหัวหน้า
กลุ่มก็ได้อย่างไรก็
 ตามผู้จัดการส่วนและผู้จัดการแผนกจะต้องสนับสนุนให้อานาจหัวหน้ากลุ่มด้วย
13
7 นักส่งเสริม 3 ตาแหน่ง
ในการดูแลกลุ่มย่อย นอกจากผู้บังคับบัญชาดูแลแล้ว ยังต้องมีการแต่งตั้งนักส่งเสริม
อีก 3 ตาแหน่งคือ
 ตัวกลาง (Center Man) ช่วยเหลือแผนกทา TPM คอยนัดประชุมกลุ่ม
ช่วยกลุ่ม ดูแลความคืบหน้ากลุ่มและรายงานผู้จัดการแผนก
 หัวหน้ากลุ่ม (Circle Leader) ทาให้กลุ่มทากิจกรรมอย่างมีชีวิตชีวา
กาหนดทิศทางกลุ่มร่วมกับแผนก สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิก และกลุ่ม
อื่น เป็นผู้ริเริ่มงาน
 หัวหน้าเรื่อง (Theme Leader) เป็นแกนเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทางาน
ร่วมกับหัวหน้ากลุ่มจนจบเรื่อง
14
8 การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
 ใช้หลักการหมุนวงจร P (แผน) D (ปฏิบัติตามแผน) C (ตรวจสอบผลจาก
การปฏิบัติ) และ A(กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติที่ได้จากผล)
9 ผู้ใช้เครื่องจักรทุกคนต้องช่วยกันสังเกตความผิดปกติ
 ขณะที่คุมเครื่องจักร ผู้ใช้งานทุกคนต้องสังเกตความผิดปกติของเครื่องจักร เช่น
เสียงดัง สั่นสะเทือน อุณหภูมิ เป็น
10 การประชุม
 แจ้งให้ทราบล่วงหน้า พยายามให้ทุกคนเข้ามาร่วมประชุม เวลาประชุมให้ใช้หลัก
5W+1H (Who Why What When Where + How) ควรการประชุม 1 ครั้ง/
สัปดาห์ ครั้งละ 30-60 นาที ใช้เวลา 7-10 ครั้ง จนถึงการแก้ปัญหา
 ต้องมีการระดมสมองในที่ประชุม รวบรวมและเสนอแนวทางเพื่อนาไปแก้ปัญหา
ของกลุ่ม
15
1.1 ขจัด 3M
เมื่อไม่สามารถกาหนดหัวข้อปัญหาได้ หรือเกิดทางตันเมื่อเลือกหัวข้อ
เรื่องมาทา ทั้ง ๆ ที่ปัญหามากมายรอบ ๆ ตัว แบบภูเขาใต้น้าแข็ง โดยไม่
รู้ ตัว 3M มี
MUDA = สิ่งสูญเปล่า
MURA = ความไม่พอดี
MURI = สิ่งยุ่งยากหนักแรง
สารวจหา 3M จากเครื่องจักร อุปกรณ์ วิธีปฏิบัติงาน คุณภาพ ต้นทุน
ยอดผลิต การส่ งมอบ ขวัญกาลังใจ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม
การทางานให้งานกลุ่มย่อยคืบหน้า
1 การค้นหาปัญหา
16
1.2 ความสูญเสียของเครื่องจักร มักเกิดจากการสูญเสีย 6 อย่าง ดังนี้
 ความสูญเสียจากเหตุขัดข้อง (Failure Loss) มีทั้งแบบกระทันหัน หรือเรื้อรัง
เสียทั้งเวลา และผลผลิต
 ความสูญเสียจากการเตรียมงาน (Setup Loss)
 ความสูญเสียจากการปรับแต่ง (Adjustment Loss) เกิดจากเหตุปัจจัย
ภายนอกเครื่องจักร ทาให้ต้องหยุดเครื่องระยะสั้น หรือทาให้เครื่องจักรเสียเปล่า
 ความสูญเสียด้านความเร็ว (Speed Loss) เป็นความแตกต่างของความเร็ว
เครื่องจักร (อัตราการผลิต) ที่ออกแบบไว้เทียบกับอัตราตามที่เดินเครื่องจักรจริง
เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบต่างไปจากการออกแบบ
 ความสูญเสียจากของเสียหรือจากการซ่อม (Defects ,Repair,Loss) เป็น
ความสูญเสียจากการมีของเสีย มีของคืน สูญเสียเวลามาก ใช้ Man-hour
มาก ต้องซ่อมของเสียให้เป็นของดี
 ความสูญเสียจากการเริ่มงาน (Machine Startup Loss) เป็นการสูญเสีย
ช่วงเริ่มงานใหม่จนกระทั่งเครื่องจักรเดินได้คงที่และได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีออกมา
17
2.1 แสดงเป้ าหมายของเรื่องให้ชัดเจน ให้ดึงปัญหาหลาย ๆ จุดมา
แล้วประชุมกลุ่ม แล้วพิจารณามองจากหลาย ๆ มุม โดยอาศัย ความจริงเป็ นหลัก
2.2 เลือกเรื่องสอดคล้องกับความต้องการองค์กร กาหนดหัวข้อเรื่อง
ด้วยกลุ่มเอง เรื่องนั้นไม่ขัดนโยบายบริษัท เรื่องนั้นควรตอบสนองความ
คาดหวังขององค์กร อาจฟังจากผู้บังคับบัญชาว่าต้องการเน้นเรื่องอะไร ต้องการ
อะไรจากกลุ่ม
2.3 เลือกโดยอิสระ ให้เลือกเรื่องโดยอิสระในกลุ่มย่อย TPM ควร
เลือกเรื่องจากการหาปัญหาที่สอดคล้องกับนโยบายแผนก ที่มาจากภายใน
สถานที่ทางานของตนเอง เลือกให้เหมาะสมกับเวลาที่จะบรรลุเป้ าหมายอย่างท้า
ทายตามเป้ าหมายแผนกแต่ละปี
2 วิธีการเลือกหัวข้อเรื่อง
18
2.4 เลือกตามคาชี้แนะขององค์กร
 เลือกเรื่องที่เป็นเป้าหมายจากผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาตั้งกาหนดขึ้นมา
2.5 วิธีการค้นหาหัวข้อเรื่อง
 เลือกเรื่องหลังจากการค้นหาดู Muda, Mura, Muri หรือมีความ
สูญเสียใหญ่ทั้ง 6 หรือไม่ ค้นหาปัญหาไม่ได้อีกก็ให้เลือกตามรู้สึกของเรา เช่น มี
ของเสียมาก เครื่องจักรขัดข้องบ่อย ๆ
2.6 มุมมองสาหรับหัวข้อเรื่อง
 กลุ่ม TPM ไม่จาเป็นต้องจากัดเรื่องอยู่แต่เฉพาะการขัดข้องของเครื่องจักร อาจ
โยงไปในเรื่องประสิทธิภาพการผลิต เช่น ด้านคุณภาพ (ปรับปรุงคุณภาพ ลดการ
กระจาย จัดการของเสีย) ด้านต้นทุน (ลดเวลา Man-hour ขจัด Muda
Mura Muri ) ด้านเครื่องจักร (สภาพเครื่องจักรที่ส่งผลถึง Q, C, D, S
ลดการขัดข้อง ลดเวลาหยุด ลดเวลาซ่อม ปรับปรุงวิธีการซ่อม) ด้านข้อบกพร่องใน
การปฏิบัติงาน
19
2.7 ตัวอย่างการเลือกหัวข้อเรื่อง
 การเลือกเรื่องควรระบุว่าอยู่ในเครื่องจักรหรือกระบวนงานไหนและเป็นมุมมอง
ด้านใด (คุณภาพ ต้นทุน ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม)ตัวอย่างเรื่อง มี
ลดของเสียจากการกลึงเพลา ลดปริมาณการใช้น้ามัน ขจัดความผิดพลาด
 ป้องกันเครื่องมือตกหล่น ลดปัญหาจุดเชื่อมหลุดบ่อย ประหยัดสี ลดความสกปรก
ลดเวลาในการหา ตาแหน่งของเสีย ลดความผิดพลาดในการวัด
2.8 พบทางตันในการเลือกหัวข้อเรื่อง
 เราอาจเลือกหัวข้อเรื่องที่มีอยู่มากมายไม่ได้ เพราะปัญหาอาจใหญ่เกินไป ปัญหา
ที่ใช้เวลา มากให้ใช้วิธีผังก้างปลา หาเรื่องที่สามารถวางแผนแก้ไขง่ายมาทา ไม่
จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับสมาชิกทุกคนก็ได้ แต่อาจยกปัญหาในการทางานประจาวัน
มาทา
20
3.1 ทาไมจึงต้องมีเป้ าหมาย
เพื่อทาให้กลุ่มมีความคิดร่ วมกันในทิศทางเดียวกัน โดยกาหนดว่า จะทา
อะไร(วัตถุประสงค์) ภายในเวลาเท่าใด(ระยะเวลาของกิจกรรม) และ
อย่างไร(เป้ าหมาย) ถึงขั้นใด จะตัดสินผลของกิจกรรมแบบใด
3.2 ข้อพิจารณาในการกาหนดเป้ าหมาย
ควรแสดงที่มาและเบื้องหลังของเป้ าหมายให้สมาชิกเข้าใจ มีการกาหนด
เป้ าหมายให้มีระดับ เพื่อให้เกิดความตั้งใจ ความพยายาม และมีกาลังใจใน
การปรับปรุงงานของสมาชิกทุกคน โดยที่ ต้องกาหนดหัวข้อเป้ าหมาย ให้
ชัดเจนเป็ นรูปธรรมปฏิบัติได้จริง ผลของกิจกรรมสามารถวัดได้ด้วยตัวเลข
3 วิธีกาหนดเป้ าหมายของกิจกรรม
21
4.1 การเสนอแผน
ในการทากิจกรรม ต้องทาให้งานเสร็จโดยใช้ เวลาสั้ นที่สุด และเกิดผล
สูงสุด จึงจาเป็ นต้องแสดงให้เข้าใจว่า แต่ละฝ่ ายมีหน้าที่และรับผิดชอบอะไร
ภายในระยะเวลาเท่าใด
4.2 การวางแผนโดยสมาชิกกลุ่มทุกคน
การวางแผนต้องแสดงถึงจุดประสงค์และปัญหาที่จะแก้ไขให้ชัดเจน โดย
ให้สมาชิกทุกคนมีส่ วนร่ วมวางแผนว่า ใคร-ทาอะไร-เมื่อไร- อย่างไร และ
ควรกาหนดแผนความคืบหน้าในแต่ละขั้นตอน และทากิจกรรมให้เสร็ จสิ้นไม่
เกินภาย ใน 3 เดือน
4 วิธีการวางแผนกิจกรรม
22
4.3 ให้ต้นสังกัดร่วมในการวางแผน
 ควรเสนอแผนต่อผู้จัดการแผนก เพื่อรับคาแนะนาในแผนนั้นควรบันทึกเหตุผลใน
การยกขึ้น มาปฏิบัติด้วย บันทึกเป้าหมายในการปฏิบัติ และแผนกิจกรรมให้เข้าใจ
ง่าย
4.4 บันทึกเรื่องราวของกิจกรรมเก็บไว้ด้วย
 การบันทึกกิจกรรมจะทาให้เข้าใจผลความคืบหน้า เหตุการณ์หรือปัญหาต่างๆ
ระหว่างดาเนินการได้ง่าย
23
5.1 การจัดสภาพปัจจุบัน
สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ การบริหารด้วยความจริง ตัดสินพิจารณาด้วย
ข้อเท็จจริง ทาการรวบรวมข้อมูลและแยกหมวดหมู่ วิเคราะห์ และจาแนกสาเหตุ
ที่ทาให้เกิดปัญหาขึ้น โดยการสารวจสภาพปัญหามี ดังนี้
• รวบรวมข้อมูลใหม่ (ข้อมูลเก่าอาจล้าสมัยไปแล้ว)
• รวบรวมข่าวสารภายนอก (จากการรับฟังประสบการณ์จากคนอื่น)
• ตรวจยืนยันด้วยตาตนเอง (ดูที่สถานที่จริง จะได้นึกออกตรงของจริง)
• สารวจตัวอย่างที่คล้ายคลึงกัน (เคยเกิดแบบนี้ที่ไหนบ้าง ตอนนี้เป็ นอย่างไร)
• ศึกษาตัวอย่างอื่น ๆ (อาจเป็ นธุรกิจต่างประเภทกันก็ได้ อาจได้แนวคิดใหม่ที่
ไม่เคยคิดถึงมาก่อนแล้วใช้ เอามาอ้างอิงได้ )
5 วิธีดาเนินการกิจกรรม
24
5.2 การวิเคราะห์สาเหตุสาคัญ
 การวิเคราะห์เหตุด้วยผังก้างปลาเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถเข้าใจต้นเหตุ
แท้จริงของ ปัญหาได้สิ่งที่สาคัญที่สุดเราจะต้องไม่เชื่ออย่างหัวปักหัวปากับ
การเชื่อว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริงใน ขั้นตอนการสารวจสภาพปัจจุบัน แต่ต้องถาม
ตนเองและค้นหาคาตอบว่า “ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น” ซ้าแล้วซ้าเล่า บ่อย ๆ
25
6.1 วิธีการดึงความคิดออกมา อาจใช้ วิธีการระดมสมอง หรือวิธี KJ
หัวหน้ ากลุ่มจะต้องดาเนินการในที่ประชุมคือ พูดอะไรออกมาก็ได้ ห้ ามวิจารณ์
คาพูดของคนอื่น พยายามกระตุ้นให้ มีความเห็น ออกมามาก ๆ และเชื่อมต่อ
ความคิด
6.2 การประเมินความคิด พยายามนาความคิดที่เสนอมาใช้ ให้เกิดประโยชน์
ต่อการแก้ปัญหา ห้ามชี้แนะ ความคิดคนอื่นว่ามีข้อบกพร่ องด้าน ความคิดที่ยัง
ใช้ ไม่ได้ให้ นามาปรับปรุงหรือพลิกแพลงให้สามารถนามาใช้ งานได้
6.3 การทาแนวคิดให้เป็ นรูปธรรม นาความคิดออกมาแสดงให้ชัดเจนว่าจะ
ปรับปรุงอะไร ระยะเวลาเท่าใด ด้วยวิธีการอย่างไร รวมถึงนาเสนอแผนว่าต้อง
ใช้ งบประมาณ คน เวลา ความร่ วมมือจากฝ่ ายใด
6 การพิจารณามาตรการการแก้ปัญหา
26
7.1 ลองทดสอบตามข้อเสนอในการปรับปรุงดูจริงๆ
ในการปรับปรุงงาน เมื่อปฏิบัติจริงจะพบว่ามีจุดบกพร่ องอยู่ จึงควรที่จะหา
วิธีการทดสอบปฏิบัติตรวจสอบก่อน ซึ่งวิธีการนั้นมักต่างจากแนวปฏิบัติเดิม
จึงทาได้ยาก มีอุปสรรคมาก ฉะนั้นต้องแยกให้ออกว่าอุปสรรคนั้นมาจากความ
ไม่คุ้นเคยหรือมาจากข้อเสนอ ที่ไม่ดีกันแน่
7.2 การตัดสินข้อเสนอในการปรับปรุง
หลังการทดสอบปฏิบัติ ถ้าวิธีการนั้นดีให้นามาใช้ ปรับปรุง หากมี
ข้อบกพร่ องควรหยุดทดลองและหาข้อผิดพลาดทันที จากนั้นทดสอบซ้าจน
ได้ผลที่น่าพอใจ โดยที่การปรับปรุงต้องสอดคล้องกับปัญหาตามวัตถุประสงค์
ความปลอดภัย ความพอใจของผู้ปฏิบัติงานที่
7 การดาเนินการแก้ปัญหา
27
7.3 การทาให้ข้อเสนอในการปรับปรุงเป็นที่ยอมรับ
 อธิบายความคิดเห็น ให้เกิดความรู้สึกในเชิงบวก ไม่เป็นไปในทางบังคับ และ
อธิบายที่มา เหตุความจาเป็นที่ต้องปรับปรุงซึ่งควรให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมวางแผน
ด้วย ควรอธิบายด้วยข้อเท็จ จริงโดยอาศัยข้อมูลแสดง หรือเครื่องจักรที่เป็นจริงเป็น
หลักฐานแสดงและให้ความเคารพในจุดยืน ของคู่สนทนา ห้ามพูดว่าทาอย่างนั้นไม่ดี
ให้พูดว่าถ้าปรับปรุงอย่างนี้แล้ว จะดีขึ้นอีก
7.4 การลงมือปฏิบัติตามข้อเสนอปรับปรุง
 ดาเนินการตามแผนที่ต้องการปรับปรุง แสดงรายละเอียดในการแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอน วิธีปฏิบัติงานให้ชัดเจน ดาเนินการประสานร่วมแรงด้วยสมาชิกกลุ่มทุกคน
สร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ตลอดเวลา
28
8.1 รวบรวมข้อมูล
ดูผลที่เกิดขึ้นเป็ นไปตามเป้ าหมายหรือไม่ สารวจข้อมูลหลังการ
ปรับปรุงด้วยเงื่อนไขเดียว กับการสารวจสภาพปัจจุบัน การเก็บ
ข้อมูลไม่ควรเก็บครั้งเดียว แต่ควรทาซ้าแล้วซ้าเล่า เพื่อยืนยัน
ผลลัพธ์ที่ได้
8.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
แจกแจงข้อมูลที่รวบรวมมา แยกแยะเปรียบเทียบกับข้อมูลก่อน
ปรับปรุง แล้วแสดงผลว่า เป็ นอย่างไรด้วยตัวเลขและแสดงเหตุผลที่
ได้ผลดีขึ้นให้ชัดเจน
8 การตรวจยืนยันผล
29
8.3 ติดตามระดับการบรรลุเป้าหมาย
 แม้ว่าจะยืนยันว่าสามารถบรรลุเป้าหมายได้ก็ตาม หากระดับของค่าเป้าหมายสูง
แม้ว่า จะลงมือแก้ไขทุกวิถีทาง ก็ไม่อาจบรรลุเป้าหมายได้ หากพบทางตันก็อาจท้อถอย
เลิกล้ม ให้ พยายามร่วมมือกันทุกคนอย่างเต็มกาลัง นอกจากเป้าหมายแล้วยังต้องยืนยัน
เรื่องอื่น ๆ อีก เช่น ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงเทียบกับจานวนเงินที่ประหยัดได้ผล
ทางอ้อม เช่น มนุษย์สัมพันธ์ สภาพการปฏิบัติงานมีความปลอดภัยขึ้นอย่างไร
8.4 ตรวจยืนยันเรื่องความปลอดภัย
 หากการปรับปรุงเครื่องจักรหรือการปฏิบัติงานแล้วอันตรายขึ้น ย่อมไม่เรียกว่าการ
ปรับปรุง ต้องตรวจดูว่ามีความปลอดภัยเพิ่มขึ้นหลังการปรับปรุงด้วย
30
• หากผลลัพธ์ได้ตามเป้ าหมายหลังจากการตรวจยืนยันแล้ ว
จะต้องจัดขั้นตอนการทางานให้เป็ น มาตรฐาน
• มาตรฐานงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ แสดงวิธีการทางาน
ใหม่ให้ชัดเจน ทาให้เข้าใจได้ง่าย ปฏิบัติตามได้ง่ าย และเป็ น
เรื่องที่ปฏิบัติตามได้ แสดงให้ชัดเจนว่าหากไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานแล้วจะเป็ นอย่างไร และรับการอนุมัติจากผู้จัดการ
แผนกด้วย
9 จัดขั้นตอนการทางานให้เป็นมาตรฐาน
31
• การป้ องกันคือ การทาให้ปัญหาเดียวกันไม่เกิดขึ้นซ้าสอง และสิ่ง
ที่ปรับปรุงแล้วไม่กลับมามีสภาพ เหมือนก่อนปรับปรุงอีก
• สิ่งพิจารณาดังนี้ คือ พนักงานทุกคนทราบและปฏิบัติตาม
มาตรฐานโดยไม่มีข้อยกเว้น
10 การป้ องกันการเกิดซ้า
32
การทากลุ่มย่อยให้มีชีวิตชีวา
1 การสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อม
1.1 ติดคาขวัญ
 สร้างบรรยากาศภายในบริษัท โดยการติดโปสเตอร์ของคาขวัญ รูปภาพที่เกี่ยวกับ
“TPM” และ”กิจกรรมกลุ่มย่อย” ตามทางเข้าออกโรงอาหาร ที่นัดพบประชุม หรือ
สถานที่ทางาน
1.2 สานักงานส่งเสริม คือตัวกลางให้คาปรึกษา
 บทบาทของสานักงานส่งเสริม คือให้คาแนะนาและติดตามสภาวะแก่กิจกรรมกลุ่ม
ย่อยทุก ๆ กลุ่ม ,จัดประชุมและขยายสภาวะส่งเสริม TPM วางแผนจัดศึกษางาน
การจัดอบรมสัมมนาและรายงานข่าวสารให้ผู้บริหารสูงสุดทราบ
2 หน่วยงานเข้าร่วมด้วยต้องมีทัศนคติทางบวก
ผู้จัดการแผนกตรวจสอบประเมินผลให้คาแนะนาและติดตามคาชี้แนะครั้งก่อนหน้า
33
3 การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของสถานที่ทางาน
3.1 เริ่มจาก 5 ส
 ต้องมีการใช้หลัก 5ส ดูแลปรับปรุงสถานที่ทางานให้เรียบร้อย เพื่อทาให้ปัญหา
ปรากฏออกมาให้เห็นเด่นชัด
3.2 สร้างสภาพแวดล้อมให้ปรึกษากันได้อย่างสบายใจ
 การสร้างบรรยากาศให้สดใส ทาให้สามารถพูดเรื่องที่คิดอยู่ออกมาได้อย่างสบาย
ใจ โดยสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในการแลกเปลี่ยนสนทนาในระหว่างเวลาพัก หรือการ
จัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในระหว่างสมาชิกทุกคน
3.3 การสร้างห้องประชุม
 จาเป็นต้องมีห้องประชุม เพื่อให้สามารถมารวมกลุ่ม ประชุมปรึกษากันได้ โดย
ติดตั้งอุปกรณ์ที่จาเป็นต่างๆไว้ภายในห้องประชุม อาทิ เก้าอี้ แอร์ พัดลม ข้อมูลการ
ติดต่อ หรือบอร์ดกิจกรรมไว้ในที่ที่สะดุดตา
34
4 การลงทะเบียนข้อเสนอแนะ TPM
 เพื่อเสริมสร้างสานึกในการปรับปรุงคุณภาพเครื่องจักร จึงมีการลงทะเบียน
แสดงข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มคุณภาพTPM เช่น การปรับปรุงคุณภาพ ความ
ปลอดภัย การประหยัดพลังงาน
5 การปรับปรุงการทางานเป็นทีม
 ต้องมีการประสานงานร่วมกัน ค้นหาความสามารถพิเศษของแต่ละคน
ออกมาใช้ให้ถูกทาง เช่น คนวาดภาพการ์ตูนเก่งก็ใช้เขียนภาพแสดง
35
6 การเสริมสร้างความเป็นผู้นาให้แข็งแกร่ง
6.1 ความตั้งใจในการทางานของหัวหน้ากลุ่ม
 หัวหน้ากลุ่มต้องไม่บังคับด้วยคาสั่ง แต่จะต้องสร้างความรู้สึกร่วมกัน ทาให้คืบหน้า
ให้กับสมาชิกทุกคน
6.2 เงื่อนไข 6 ประการของหัวหน้ากลุ่ม
 มีความตั้งใจอย่างแรงกล้าในกิจกรรมกลุ่ม
 เคารพในความเห็นของสมาชิก
 นาความคิดของสมาชิกไปสานต่อ
 กระตุ้นตนเองด้วยความคืบหน้าของตนเอง
 ปรับปรุงการทางานเป็นทีมให้ดี โดยไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก
 แจ้งข่าวสารที่จาเป็นให้สมาชิก
36
วิธีการเสนอผลงาน
1 การเสนอผลงานคือ การบริหารกิจกรรม
 การบริหารกิจกรรมกลุ่มรวมถึงการเสนอผลงาน โดยรวบรวมความเป็นไปและผลลัพธ์
ที่ได้ของกิจกรรม
2 จุดประสงค์ของการนาเสนอผลงาน
 เป็นการกระตุ้นผู้เสนอและผู้ฟัง ทาให้เกิดการพูดคุยปรึกษากันถึงลักษณะต่างๆของ
งาน เช่น ขั้นตอนของกิจกรรม ปัญหาความลาบากในการทางาน
3 ทุกคนมีส่วนร่วมในการเตรียมเสนอผลงาน
 ต้องมีการวางแผนแบ่งหน้าที่ให้ทุกคนทาตามความถนัดของตน
37
4 การเสนอผลงาน
 มีทั้งการเสนอผลงานภายในบริษัท และเสนอภายนอกบริษัท
5 การเสนอผลงานที่ดี
ต้องพูดถึงการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอนโดยอาศัยข้อเท็จจริงเป็นหลัก
5.1 พูดด้วยภาษาเรียบง่าย
 ไม่ต้องใช้ศัพท์ทางเทคนิคหรือศัพท์ยาก ๆ จะทาให้ผู้ฟังสับสน
5.2 เน้นจุดสาคัญ
 ต้องพูดเน้นในจุดที่สาคัญให้ฟังเป็นพิเศษ เช่น รายละเอียดวิธีการปรับปรุง การ
อุปสรรคก่อนได้วิธีปรับปรุง Know-how
5.3 เสนอผลงานด้วยข้อเท็จจริงเท่านั้น ไม่ดัดแปลงหรือแต่งเติม
5.4 ลาดับเรื่องราวที่จะพูดอย่างเป็นลาดับขั้นตอน ไม่สับสน
5.5 รักษาเวลาเสนอผลงานอย่างเคร่งครัด ไม่เกินเวลาที่กาหนด
38
6 เตรียมความพร้อม
 โดยการฝึกนาเสนอๆ ครั้ง อาจซ้อมต่อหน้าสมาชิกและผู้บังคับบัญชาพร้อมรับคาชี้แนะ
เพื่อสร้างความมั่นใจ
7 วิธีจัดเตรียมเสนอผลงาน
7.1 แนะนาหน่วยงาน ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ,กระบวนการผลิตและงานที่ทา
7.2 แนะนากลุ่ม ประวัติ ลักษณะพิเศษของกลุ่มพื้นฐานหลักในการทางาน
7.3 เหตุผลที่เลือกหัวข้อเรื่อง
7.4 การตั้งเป้าหมาย เป้าหมายควรแสดงเป็นตัวเลขได้ และระบุแหล่งที่มาของการ
ตั้งเป้าหมายและระบุระยะเวลาทาได้
7.5 การเสนอแผนกิจกรรม แบ่งหน้าที่ให้ชัดเจนว่า ใครทาอะไร เมื่อไร ถึงเมื่อไร
7.6 จับสภาพปัจจุบัน รวบรวมวิธีปฏิบัติ เทคนิค หรือวิธีการที่ใช้และข้อเท็จจริง ที่ใช้ในการ
จับสภาพปัญหา
7.7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ทาการสารวจหรือวิเคราะห์โดยใช้วิธีการอย่างไร แสดงข้อมูล
อุปสรรค และทาอย่างไรจึงทราบสาเหตุปัญหา
39
7.7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ทาการสารวจหรือวิเคราะห์โดยใช้วิธีการอย่างไร แสดงข้อมูล
อุปสรรค และทาอย่างไรจึงทราบสาเหตุปัญหา
7.8 สภาพการแก้ไข (ปรับปรุง) แสดงถึงลักษณะและหัวข้อการปรับปรุงว่า ได้ข้อเสนอ
การปรับปรุงมาได้อย่างไร หลังการวิเคราะห์ มีการตรวจสอบซ้าอย่างไร เมื่อผลที่ได้ยังไม่ดี
และมีการปรับอย่างไรกับขั้นตอนถัดไป รวมทั้งเปรียบเทียบปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
7.9 ตรวจยืนยันผล
ผลที่เป็นรูปธรรม แสดงความแตกต่างของผลลัพธ์ที่ได้กับค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ด้วย
ตัวเลขอย่างเป็นรูปธรรม
ผลที่เป็นนามธรรม แสดงผลที่ประเมินเป็นตัวเลขได้ยาก เช่น มนุษย์สัมพันธ์ สภาพ
ความปลอดภัย ความสามารถส่วนตัว ใหัชัดเจนที่สุดเท่าที่จะทาได้
7.10 ลักษณะมาตรการ (การป้องกันการเกิดซ้า) รวบรวมเรื่องราวที่ได้ปฏิบัติไป เพื่อ
ไม่ให้เกิดความผิดพลาดซ้าสองขึ้นอีก
7.11 สรุป (ผลสะท้อนของกิจกรรม) รวบรวมเกี่ยวกับจุดที่เป็นปัญหา จุดที่ไม่ดี ปัญหาที่
ยังคงมีอยู่ และวิธีดาเนินการต่อไป โดยมองย้อนกลับไปที่กิจกรรมที่ทามา
40
8 การจัดทาแผ่นใสสาหรับการเสนอผลงาน
8.1 การใช้เครื่องฉายแผ่นใส
8.2 การใช้โสตทัศนูปกรณ์ โดยไม่ใช้ตัวหนังสือที่เขียนหวัด ให้ใช้รูปตาราง การ์ตูน
รูปภาพต่าง ๆ ให้มาก เน้นจุดสาคัญ จุดปัญหา ไม่ควรใช้แต่สีแดงแต่ควรขีดเส้นใต้
ประโยคหรือใช้ตัวอักษรหนาขึ้นหรือเปลี่ยนสีพื้นหลังใหม่
8.3 การจัดทาต้นฉบับ
41
9 ข้อพึงปฏิบัติในการเสนอผลงานภายในบริษัท
 ต้องจัดทาแผนต่าง ๆ ไว้ให้ดี เช่น วันเวลาที่จัด สถานที่จัด ผู้เสนอผลงาน พิธีกร ผู้ให้
คาแนะนาวิจารณ์ จานวนผู้เข้าร่วม
9.1 บทบาทหน้าที่ของพิธีกร
 พิธีกรควรเป็นผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายและควรดึงคาถามจากผู้ร่วมงานให้
มากที่สุด เพื่อสร้างบรรยากาศให้มีชีวิตชีวา
9.2 คาแนะนาและวิจารณ์จากหน่วยงาน
 ผู้บริหารตาแหน่งสูง เช่น ผู้จัดการส่วน ผู้จัดการแผนก จะเป็นผู้วิจารณ์ และเป็นผู้ชี้
จุดความ ประทับใจในกิจกรรมกลุ่ม ยังเป็นโอกาสที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงาน
42
วิธีการตรวจสถานที่ทางาน
1 การรวบรวมสถานะของกิจกรรม
 การตรวจสถานที่จริง เป็นการรับการประเมิน ผลของกิจกรรมกลุ่มย่อยวิธีหนึ่ง
หัวหน้ากลุ่มจะต้องจัดประชุมกลุ่มทุกครั้งที่บรรลุเป้าหมายและรวบรวมเรื่องราว
อุปสรรคและข้อดีต่าง ๆ ของสมาชิกทุกคน ในการดาเนินตามมาตรการแก้ปัญหา ความ
เป็นมาของกิจกรรมทั้งผลสะท้อนและผลลัพธ์ที่ได้และเตรียมตัวเพื่อรับการตรวจผล
กิจกรรมได้ตลอดเวลา
 การตรวจนั้นถือเป็นงานอย่างหนึ่งในกิจกรรม TPM ซึ่งผู้บริหารสูงสุดของบริษัท
หรือผู้จัดการโรงงาน จะต้องลงไปดูในสถานที่ปฏิบัติงานจริง รับรายงานผลของ
กิจกรรมกลุ่มพร้อมทั้งตรวจดูรอบ ๆ สถานที่ทางาน พร้อมทั้งชี้แนะและแนะนาจุด
ปัญหาต่าง ๆ ให้แก่กลุ่ม
43
2 การเตรียมการรับการตรวจ
 เตรียมข้อมูลการควบคุมประจาวัน(จานวนการขัดข้องของเครื่องจักร จานวน
ความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เวลาในการรักษาดูแลเครื่องจักร (ทาความสะอาด
ตรวจเช็ค เติมน้ามัน) และจานวนข้อบกพร่องทางคุณภาพ) จัดทาข้อมูลสนับสนุน
อื่น ๆ(สิ่งที่ช่วยแสดงเป็นภาพตัวอย่างในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ์และเครื่องจักรที่
เตรียมไว้ให้ดูเป็นตัวอย่าง) เพื่อให้เกิดการเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
3 การรับการตรวจ
 หัวหน้ากลุ่มจะอธิบายสภาพความเป็นไปในการควบคุมประจาวันอยู่หน้าบอร์ด
กิจกรรม ด้วยข้อมูลควบคุมและข้อมูลสนับสนุน
 ในการตรวจสภาพปฏิบัติ ต้องอธิบายถึงประเด็นปัญหา วิธีวิเคราะห์
วิธีดาเนินการแก้ไข และผลที่ได้ที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท
 เช่น จานวนการขัดข้องของเครื่องจักรลดลงต่ากว่าเป้าหมายหรือไม่ การรักษาและ
ปรับปรุงคุณภาพเป็นอย่างไร ผลตอบแทนเป็นตัวเงินหรือไม่ และรับฟังคาแนะนาถึง
จุดดีและจุดไม่ดีจากผู้บริหารระดับสูงของบริษัท หรือผู้จัดการโรงงาน
44
เครื่องมือที่นามาใช้ในกิจกรรมกลุ่มย่อย
1) กราฟ (Graph)
2) แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram)
3) แผนภูมิของเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
4) แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet)
5) ฮิสโตแกรม (Histogram)
6) แผนภูมิควบคุม (Control Chart)
7) ผังการกระจาย (Scatter Diagram)
8) การจาแนกแจกแจง (Stratification)
9) แผนภูมิใยแมงมุม (Radar Char)
45
10) การใช้ตารางวิเคราะห์เหตุขัดข้อง (PM Analysis) ที่แสดงถึง สภาพปัจจุบัน
วิเคราะห์ทางกายภาพ เงื่อนไขที่ทาให้เกิด หาสาเหตุ วิธีตรวจสอบสภาพปัจจุบัน
จุดบกพร่อง มาตรการปรับปรุงแก้ไข
11) วิธี KJ (KJ Method) โดยวิธีตามขั้นตอนดังนี้
กาหนดหัวข้อเรื่อง ทาป้ายกระดาษ รวบรวมป้ายกระดาษ ทาใบปะหน้า จัดกลุ่มใหม่ จัด
กลุ่มใบปะหน้า สร้างประโยครวม รายงานปากเปล่า
12) การระดมสมอง (Brain Storming) มีดังนี้
ทุกคนออกความเห็น กาหนดหัวข้อเรื่องและเป้าหมายให้ชัดเจน กาหนดผู้ดาเนินการ
ประชุมและผู้บันทึก เชื่อมโยงแนวความคิด ทาให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วม (กระตุ้น
ความคิด) ให้พูดออกมา อย่างอิสระ รวบรวมคาพูด กาหนดหัวข้อสาคัญ กาหนดวิธีการ
ดาเนินการต่อไปโดยใช้หลัก 5W 1H
46
13) วิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering)
โดยพิจารณาหน้าที่การใช้งานจากของสิ่งนี้ทาขึ้นเพื่ออะไร มีไว้เพื่ออะไร ไม่มีวิธีการ
อื่น ๆ อีกหรือ ทาให้กะทัดรัดขึ้นไม่ได้หรือ วิธีการใดในข้อข้างต้นที่ถูกที่สุด
14) วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็นเทคนิคการ
ปรับปรุงเพื่อขจัด Muda, Mura, Muri หรือความสูญเปล่า ความซับซ้อน
ความยุ่งยากของคน วัสดุ เครื่องจักร วิธีการขจัด 3M
47
สรุป
 จากการศึกษา การดาเนินกิจกรรมกลุ่มย่อย TPM อย่างง่าย ๆ แล้วจะเห็นว่า มีขั้นตอน
เหมือนกับการทากลุ่มย่อย QCC ตาม TQC นั่นเอง เพียงแต่แตกต่างกันที่แบบ
TPM จะมีการจัดแบ่งกลุ่มที่เป็นแบบสามเหลี่ยมซ้อนกัน เรื่องที่ทาจะเป็นการขจัดการ
สูญเปล่าที่ยิ่งใหญ่ 6 อย่าง วัตถุประสงค์ของกลุ่มมุ่งไปที่การตอบสนองวัตถุประสงค์การ
บริหารงานแบบ TPM นอกนั้นจะเหมือนกันกับกลุ่มย่อย QCC เมื่อเป็นเช่นนี้
หน่วยงานที่เป็น หน่วยงานสนับสนุน เช่น งานบุคคล งานสารบรรณ จะทากลุ่มย่อย
TPM ได้
48
อ้างอิง
49
 http://www.nubi.nu.ac.th/webie/tpmteam.html
 http://tpmjapan.blogspot.com/2011/03/blog-
post_6565.html
50

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1Utsani Yotwilai
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)Suntichai Inthornon
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กPor Lio
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็ก
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 

Viewers also liked

ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาpong27
 
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...Phakanin Sriphirom
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทqcstandard
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11Piboon Yasotorn
 
Autonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAutonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAbdul Rehman Ghauri
 
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือการซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือพัน พัน
 
TPM for lean manufacturing chp4 step of “jlshu hozen “activities
TPM for lean manufacturing  chp4 step of “jlshu hozen “activitiesTPM for lean manufacturing  chp4 step of “jlshu hozen “activities
TPM for lean manufacturing chp4 step of “jlshu hozen “activities博行 門眞
 
Presentation on Total Productive Maintenance
Presentation on Total Productive MaintenancePresentation on Total Productive Maintenance
Presentation on Total Productive MaintenanceMahendra K SHUKLA
 
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)Piti Sukontasukkul
 
การวิบัติโครงสร้างอาคาร
การวิบัติโครงสร้างอาคารการวิบัติโครงสร้างอาคาร
การวิบัติโครงสร้างอาคารModdum Mk
 
ใบสั่งงาน
ใบสั่งงานใบสั่งงาน
ใบสั่งงานChucshwal's MK
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingSakda Hwankaew
 
Website Content marketing
Website Content marketing Website Content marketing
Website Content marketing prop2morrow
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาPornthip Tanamai
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
 
Tpm
TpmTpm
Tpm
 
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...
Pj211 สร้างระบบเก็บข้อมูลการซ่อมเครื่องจักรในบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย นายบุญเ...
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
 
Autonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAutonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance Presentation
 
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือการซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
 
TPM for lean manufacturing chp4 step of “jlshu hozen “activities
TPM for lean manufacturing  chp4 step of “jlshu hozen “activitiesTPM for lean manufacturing  chp4 step of “jlshu hozen “activities
TPM for lean manufacturing chp4 step of “jlshu hozen “activities
 
Autonomous Maintenance
Autonomous MaintenanceAutonomous Maintenance
Autonomous Maintenance
 
Presentation on Total Productive Maintenance
Presentation on Total Productive MaintenancePresentation on Total Productive Maintenance
Presentation on Total Productive Maintenance
 
4.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_954.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_95
 
3
33
3
 
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)
Performance of Steel Fiber under Fire and Impact Loading (Piti Sukontasukkul)
 
การวิบัติโครงสร้างอาคาร
การวิบัติโครงสร้างอาคารการวิบัติโครงสร้างอาคาร
การวิบัติโครงสร้างอาคาร
 
Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
ใบสั่งงาน
ใบสั่งงานใบสั่งงาน
ใบสั่งงาน
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMapping
 
Website Content marketing
Website Content marketing Website Content marketing
Website Content marketing
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
 

Similar to การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM

การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมการควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมNing Me-hey
 
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for book_1
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for  book_12016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for  book_1
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for book_1Thanavisit Youyod
 

Similar to การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM (6)

การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมการควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
 
ERP 101 Chapter 12
ERP 101 Chapter 12ERP 101 Chapter 12
ERP 101 Chapter 12
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
 
Turing machine
Turing   machineTuring   machine
Turing machine
 
Turing machine
Turing  machine Turing  machine
Turing machine
 
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for book_1
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for  book_12016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for  book_1
2016 23 12-thanavisit_ lean transformations_for book_1
 

การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM

  • 1. นางสาว สุภาภรณ์ ทิมสาราญ รหัสนักศึกษา 07530387 นางสาว วศินี จันทร์พราหมณ์ รหัสนักศึกษา 07540425 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1
  • 2. ความหมายของ TPM TPM (Total Productive Maintenance) เป็นระบบงานที่มีเป้าหมายปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรให้ได้สูงสุด ปรับปรุงผลการดาเนินงาน และสร้างสถานที่ทางานให้มีชีวิตชีวาด้วยการขจัดความ สูญเสีย และความสูญเปล่าของเครื่องจักร อันได้แก่ เหตุขัดข้องและของเสีย ให้หมดไป 2
  • 3. T = Total  ความร่วมมือของผู้ใช้เครื่องจักร หรืออุปกรณ์สานักงานและผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่พนักงานซ่อม บารุง หัวหน้างาน (Foreman) ผู้จัดการและวิศวกรผู้กาหนดการใช้เทคโนโลยี P = Productive  ประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์สานักงานทั้ง ด้านการทางาน การผลิตผล งาน และความคงทน โดยใช้งบประมาณซ่อมบารุงและเปลี่ยนอุปกรณ์น้อยทีสุด M = Maintenance  ระบบการดูแลรักษา บารุงรักษา เปลี่ยนอุปกรณ์และซ่อมแซมให้เครื่องจักรอุปกรณ์สานักงาน มีความพร้อมใช้งาน และเกิดความสูญเสียระหว่างการทางานน้อยที่สุด ลักษณะพิเศษของ TPM คือ การดาเนินกิจกรรมด้วยงานกลุ่มย่อยที่ซ้อน กันแบบสามเหลี่ยมลงมาตามลาดับ) โดยการมีส่วนร่วมของทุกคน 3
  • 4. จุดสาคัญของ TPM ทั้ง 5 ประการ  มุ่งไปสู่การทาให้เครื่องจักรมีประสิทธิภาพสูงสุด  สร้างระบบโดยรวมทั้งองค์กร  ผู้เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรทุกคนร่วมมือกันทางาน  ทุกคนมีส่วนร่วมตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ  ดาเนินการบารุงรักษาเครื่องจักรด้วยกิจกรรมกลุ่มย่อยโดยตัวเองเป็นหลักในการ ปรับปรุงงาน 4
  • 5. ประโยชน์ของ TPM 1 การเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน คือ  การฝึกอบรมการใช้งานและดูแลรักษาเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ เพื่อส่งเสริมให้ พนักงานเห็นความสาคัญของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์และเพิ่มทักษะในการดูแลรักษา และใช้งาน  การฝึกอบรมพนักงานซ่อมบารุง ทาให้พนักงานซ่อมบารุงมีความสามารถดูแลและ รักษาเครื่องจักรหรืออุปกรณ์สานักงานอย่างเป็นระบบ  การวางแผนการบารุงรักษาแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้ใช้ พนักงานซ่อมบารุง และ หัวหน้าหน่วยงาน ทาให้เกิดความเข้าใจ ความสัมพันธ์ และความช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการซ่อมบารุง 5
  • 6. 2 การเพิ่มประสิทธิภาพของเทคโนโลยี การใช้การบารุงรักษา และการซ่อมแซม อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพของการใช้เครื่องจักร หรืออุปกรณ์สานักงานได้แก่  ลดการสูญเสียวัตถุดิบจากการ Start up เพราะความไม่แน่นอนของเครื่องจักร เมื่อเปิดเครื่องครั้งแรก มักต้องเสียวัตถุชิ้นแรกที่ป้อนเข้าไป  ลดการสูญเสียผลผลิต (Wast -Input) ที่มักเกิดจากการขัดข้องของ เครื่องจักรในระหว่างการทางาน  ลดการเสียเวลาที่เกิดจากการซ่อมแซม เพราะต้องหยุดเครื่องเพื่อซ่อมหรือปรับแต่ง เครื่องใหม่  ลดปัญหาการผลิตต่ากว่าเป้าหมายที่มีผลมาจากเครื่องจักร มีอัตราเร่งที่ต่ากว่า มาตรฐาน  ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เพราะเครื่องจักรมีความสมบูรณ์พร้อมทางานทุกขั้นตอน ผลผลิตที่ได้ก็จะเป็นไปตามข้อกาหนดหรือมาตรฐาน 6
  • 7. วัตถุประสงค์ คือ มุ่งสู่การขจัดความสูญเสีย 6 อย่าง คือ * การขัดข้องอย่างกะทันหัน * การเตรียมงานและการปรับแต่ง * การเดิน ๆ หยุด ๆ ของเครื่องจักร * ความเร็วของเครื่องจักรลดลง * การลดลงของผลได้วัสดุ (Yield) * ของเสีย การลดลงของผลได้วัสดุ (Yield) เมื่อเครื่องจักรทางานดีขึ้น ก็จะทาให้ผล ดาเนินการขององค์กรดีขึ้น สถานที่ทางานก็มีชีวิตชีวา เพราะ สามารถผลิตได้ตามแผน ส่งมอบทันเวลา คุณภาพดีขึ้น ต้นทุนลดลง อุบัติเหตุ ลดลง (เพื่อบริษัท สุดท้ายผลออกมาก็เพื่อตัวเองนั่นเอง) วัตถุประสงค์ของกลุ่มงานย่อยใน TPM 7
  • 8. โครงสร้างสามเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ของ TPM ใน TPM นั้นมีกลุ่มย่อยซ้อนกันหลาย ๆ ชั้น มี  กลุ่มย่อยของผู้บริหารสูงสุด เช่น กจก.เป็นประธาน, ผจส.เป็นสมาชิก  กลุ่มย่อยของผู้บริหารระดับกลาง เช่น ผจส. เป็นประธาน, วศ./ผจผ./หน.เป็นสมาชิก  กลุ่มย่อยของผู้บริหารระดับต้น เช่น ผจผ./หน. เป็นประธาน, หัวหน้ากลุ่มงานเป็น สมาชิก  กลุ่มย่อยของพนักงานปฏิบัติการ เช่น หัวหน้ากลุ่มเป็นประธาน และพนักงาน ปฏิบัติการเป็นสมาชิก 8
  • 9. กลุ่ม PM (PM Circle)  การสร้างกลุ่มย่อยเพื่อเริ่มงาน TPM จะต้องทาให้กลุ่มย่อยเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกับโครงสร้างการ  บริหารงาน โดยให้กลุ่มเดิมซึ่งเป็น ZD Circle และกลุ่ม QC Circle เป็น กลุ่ม PM (PM Circle) 9
  • 10. จุดสาคัญในการบริหารงานกลุ่มย่อย 1 จัดตั้งหน่วยส่งเสริมงานกลุ่มย่อย  กาหนดผู้รับผิดชอบโดยเฉพาะ โดยเป็นผู้ที่เคยร่วมงานในงานบารุงรักษามาก่อน หรือผู้ที่มีความรู้ เรื่องเครื่องจักรอยู่ในสานักงานส่งเสริมงานกลุ่มย่อย 2 สร้างให้ทุกคนมีส่วนร่วม  การทางานกลุ่มย่อยต้องให้ทุกคนมีส่วนร่วม ประชุมปรึกษาอย่างกระตือรือร้น เพื่อ มุ่งสู่การบรรลุ เป้าหมาย การเข้าร่วมประชุมจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่องานตามหน้าที่ และผู้บังคับบัญชายินยอม การมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย รณรงค์วิเคราะห์ เหตุขัดข้อง ปรับปรุง สารวจบันทึกผล ตรวจ ยืนยัน การบรรลุเป้าหมาย และประกาศ ผลงาน 10
  • 11. 3. กุญแจ 3 ดอก สู่ความสาเร็จงานกลุ่มย่อย การที่จะทางานให้สาเร็จนั้นจะต้องมี (1) ความตั้งใจในการทา และ (2) มีความสามารถในการทาตลอดจน (3) สร้างสถานที่ให้มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่ดีทั้งทางจิตใจ และทางกายภาพ เช่น โต๊ะ กระดาน บอร์ด 11
  • 12. 4 ขั้นตอนการทากลุ่มย่อย ในการทากลุ่มย่อย TPM มี  กาหนดหัวข้อเรื่อง  เลือกเรื่องที่จะทา  ตั้งเป้าหมาย  วางแผนกิจกรรมและแบ่งหน้าที่  สารวจสภาพปัจจุบัน  กาหนดมาตรฐานการแก้ไข  ดาเนินการปฏิบัติ  สารวจผลที่ได้และกาหนดมาตรฐานป้องกัน 12
  • 13. 5 โครงสร้างกลุ่มย่อย กาหนดจานวนสมาชิก 5-10 คน กาหนดเครื่องจักรที่กลุ่มรับผิดชอบ (อย่าลืมแม้แต่ อุปกรณ์เล็ก ๆ)  การตั้งกลุ่มอาจทา “กลุ่มร่วม” เพื่อแก้ปัญหากับกลุ่มอื่นขึ้นอยู่กับหัวเรื่องที่จะทา  ผู้บังคับบัญชาต้องคอยส่งเสริม แนะนากลุ่มตลอดเวลา 6 การเลือกหัวหน้ากลุ่ม  อาจเป็นหัวหน้างาน หรือจากการเลือกตั้งของพนักงานปฏิบัติการให้เป็นหัวหน้า กลุ่มก็ได้อย่างไรก็  ตามผู้จัดการส่วนและผู้จัดการแผนกจะต้องสนับสนุนให้อานาจหัวหน้ากลุ่มด้วย 13
  • 14. 7 นักส่งเสริม 3 ตาแหน่ง ในการดูแลกลุ่มย่อย นอกจากผู้บังคับบัญชาดูแลแล้ว ยังต้องมีการแต่งตั้งนักส่งเสริม อีก 3 ตาแหน่งคือ  ตัวกลาง (Center Man) ช่วยเหลือแผนกทา TPM คอยนัดประชุมกลุ่ม ช่วยกลุ่ม ดูแลความคืบหน้ากลุ่มและรายงานผู้จัดการแผนก  หัวหน้ากลุ่ม (Circle Leader) ทาให้กลุ่มทากิจกรรมอย่างมีชีวิตชีวา กาหนดทิศทางกลุ่มร่วมกับแผนก สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิก และกลุ่ม อื่น เป็นผู้ริเริ่มงาน  หัวหน้าเรื่อง (Theme Leader) เป็นแกนเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทางาน ร่วมกับหัวหน้ากลุ่มจนจบเรื่อง 14
  • 15. 8 การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง  ใช้หลักการหมุนวงจร P (แผน) D (ปฏิบัติตามแผน) C (ตรวจสอบผลจาก การปฏิบัติ) และ A(กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติที่ได้จากผล) 9 ผู้ใช้เครื่องจักรทุกคนต้องช่วยกันสังเกตความผิดปกติ  ขณะที่คุมเครื่องจักร ผู้ใช้งานทุกคนต้องสังเกตความผิดปกติของเครื่องจักร เช่น เสียงดัง สั่นสะเทือน อุณหภูมิ เป็น 10 การประชุม  แจ้งให้ทราบล่วงหน้า พยายามให้ทุกคนเข้ามาร่วมประชุม เวลาประชุมให้ใช้หลัก 5W+1H (Who Why What When Where + How) ควรการประชุม 1 ครั้ง/ สัปดาห์ ครั้งละ 30-60 นาที ใช้เวลา 7-10 ครั้ง จนถึงการแก้ปัญหา  ต้องมีการระดมสมองในที่ประชุม รวบรวมและเสนอแนวทางเพื่อนาไปแก้ปัญหา ของกลุ่ม 15
  • 16. 1.1 ขจัด 3M เมื่อไม่สามารถกาหนดหัวข้อปัญหาได้ หรือเกิดทางตันเมื่อเลือกหัวข้อ เรื่องมาทา ทั้ง ๆ ที่ปัญหามากมายรอบ ๆ ตัว แบบภูเขาใต้น้าแข็ง โดยไม่ รู้ ตัว 3M มี MUDA = สิ่งสูญเปล่า MURA = ความไม่พอดี MURI = สิ่งยุ่งยากหนักแรง สารวจหา 3M จากเครื่องจักร อุปกรณ์ วิธีปฏิบัติงาน คุณภาพ ต้นทุน ยอดผลิต การส่ งมอบ ขวัญกาลังใจ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม การทางานให้งานกลุ่มย่อยคืบหน้า 1 การค้นหาปัญหา 16
  • 17. 1.2 ความสูญเสียของเครื่องจักร มักเกิดจากการสูญเสีย 6 อย่าง ดังนี้  ความสูญเสียจากเหตุขัดข้อง (Failure Loss) มีทั้งแบบกระทันหัน หรือเรื้อรัง เสียทั้งเวลา และผลผลิต  ความสูญเสียจากการเตรียมงาน (Setup Loss)  ความสูญเสียจากการปรับแต่ง (Adjustment Loss) เกิดจากเหตุปัจจัย ภายนอกเครื่องจักร ทาให้ต้องหยุดเครื่องระยะสั้น หรือทาให้เครื่องจักรเสียเปล่า  ความสูญเสียด้านความเร็ว (Speed Loss) เป็นความแตกต่างของความเร็ว เครื่องจักร (อัตราการผลิต) ที่ออกแบบไว้เทียบกับอัตราตามที่เดินเครื่องจักรจริง เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบต่างไปจากการออกแบบ  ความสูญเสียจากของเสียหรือจากการซ่อม (Defects ,Repair,Loss) เป็น ความสูญเสียจากการมีของเสีย มีของคืน สูญเสียเวลามาก ใช้ Man-hour มาก ต้องซ่อมของเสียให้เป็นของดี  ความสูญเสียจากการเริ่มงาน (Machine Startup Loss) เป็นการสูญเสีย ช่วงเริ่มงานใหม่จนกระทั่งเครื่องจักรเดินได้คงที่และได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีออกมา 17
  • 18. 2.1 แสดงเป้ าหมายของเรื่องให้ชัดเจน ให้ดึงปัญหาหลาย ๆ จุดมา แล้วประชุมกลุ่ม แล้วพิจารณามองจากหลาย ๆ มุม โดยอาศัย ความจริงเป็ นหลัก 2.2 เลือกเรื่องสอดคล้องกับความต้องการองค์กร กาหนดหัวข้อเรื่อง ด้วยกลุ่มเอง เรื่องนั้นไม่ขัดนโยบายบริษัท เรื่องนั้นควรตอบสนองความ คาดหวังขององค์กร อาจฟังจากผู้บังคับบัญชาว่าต้องการเน้นเรื่องอะไร ต้องการ อะไรจากกลุ่ม 2.3 เลือกโดยอิสระ ให้เลือกเรื่องโดยอิสระในกลุ่มย่อย TPM ควร เลือกเรื่องจากการหาปัญหาที่สอดคล้องกับนโยบายแผนก ที่มาจากภายใน สถานที่ทางานของตนเอง เลือกให้เหมาะสมกับเวลาที่จะบรรลุเป้ าหมายอย่างท้า ทายตามเป้ าหมายแผนกแต่ละปี 2 วิธีการเลือกหัวข้อเรื่อง 18
  • 19. 2.4 เลือกตามคาชี้แนะขององค์กร  เลือกเรื่องที่เป็นเป้าหมายจากผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาตั้งกาหนดขึ้นมา 2.5 วิธีการค้นหาหัวข้อเรื่อง  เลือกเรื่องหลังจากการค้นหาดู Muda, Mura, Muri หรือมีความ สูญเสียใหญ่ทั้ง 6 หรือไม่ ค้นหาปัญหาไม่ได้อีกก็ให้เลือกตามรู้สึกของเรา เช่น มี ของเสียมาก เครื่องจักรขัดข้องบ่อย ๆ 2.6 มุมมองสาหรับหัวข้อเรื่อง  กลุ่ม TPM ไม่จาเป็นต้องจากัดเรื่องอยู่แต่เฉพาะการขัดข้องของเครื่องจักร อาจ โยงไปในเรื่องประสิทธิภาพการผลิต เช่น ด้านคุณภาพ (ปรับปรุงคุณภาพ ลดการ กระจาย จัดการของเสีย) ด้านต้นทุน (ลดเวลา Man-hour ขจัด Muda Mura Muri ) ด้านเครื่องจักร (สภาพเครื่องจักรที่ส่งผลถึง Q, C, D, S ลดการขัดข้อง ลดเวลาหยุด ลดเวลาซ่อม ปรับปรุงวิธีการซ่อม) ด้านข้อบกพร่องใน การปฏิบัติงาน 19
  • 20. 2.7 ตัวอย่างการเลือกหัวข้อเรื่อง  การเลือกเรื่องควรระบุว่าอยู่ในเครื่องจักรหรือกระบวนงานไหนและเป็นมุมมอง ด้านใด (คุณภาพ ต้นทุน ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม)ตัวอย่างเรื่อง มี ลดของเสียจากการกลึงเพลา ลดปริมาณการใช้น้ามัน ขจัดความผิดพลาด  ป้องกันเครื่องมือตกหล่น ลดปัญหาจุดเชื่อมหลุดบ่อย ประหยัดสี ลดความสกปรก ลดเวลาในการหา ตาแหน่งของเสีย ลดความผิดพลาดในการวัด 2.8 พบทางตันในการเลือกหัวข้อเรื่อง  เราอาจเลือกหัวข้อเรื่องที่มีอยู่มากมายไม่ได้ เพราะปัญหาอาจใหญ่เกินไป ปัญหา ที่ใช้เวลา มากให้ใช้วิธีผังก้างปลา หาเรื่องที่สามารถวางแผนแก้ไขง่ายมาทา ไม่ จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับสมาชิกทุกคนก็ได้ แต่อาจยกปัญหาในการทางานประจาวัน มาทา 20
  • 21. 3.1 ทาไมจึงต้องมีเป้ าหมาย เพื่อทาให้กลุ่มมีความคิดร่ วมกันในทิศทางเดียวกัน โดยกาหนดว่า จะทา อะไร(วัตถุประสงค์) ภายในเวลาเท่าใด(ระยะเวลาของกิจกรรม) และ อย่างไร(เป้ าหมาย) ถึงขั้นใด จะตัดสินผลของกิจกรรมแบบใด 3.2 ข้อพิจารณาในการกาหนดเป้ าหมาย ควรแสดงที่มาและเบื้องหลังของเป้ าหมายให้สมาชิกเข้าใจ มีการกาหนด เป้ าหมายให้มีระดับ เพื่อให้เกิดความตั้งใจ ความพยายาม และมีกาลังใจใน การปรับปรุงงานของสมาชิกทุกคน โดยที่ ต้องกาหนดหัวข้อเป้ าหมาย ให้ ชัดเจนเป็ นรูปธรรมปฏิบัติได้จริง ผลของกิจกรรมสามารถวัดได้ด้วยตัวเลข 3 วิธีกาหนดเป้ าหมายของกิจกรรม 21
  • 22. 4.1 การเสนอแผน ในการทากิจกรรม ต้องทาให้งานเสร็จโดยใช้ เวลาสั้ นที่สุด และเกิดผล สูงสุด จึงจาเป็ นต้องแสดงให้เข้าใจว่า แต่ละฝ่ ายมีหน้าที่และรับผิดชอบอะไร ภายในระยะเวลาเท่าใด 4.2 การวางแผนโดยสมาชิกกลุ่มทุกคน การวางแผนต้องแสดงถึงจุดประสงค์และปัญหาที่จะแก้ไขให้ชัดเจน โดย ให้สมาชิกทุกคนมีส่ วนร่ วมวางแผนว่า ใคร-ทาอะไร-เมื่อไร- อย่างไร และ ควรกาหนดแผนความคืบหน้าในแต่ละขั้นตอน และทากิจกรรมให้เสร็ จสิ้นไม่ เกินภาย ใน 3 เดือน 4 วิธีการวางแผนกิจกรรม 22
  • 23. 4.3 ให้ต้นสังกัดร่วมในการวางแผน  ควรเสนอแผนต่อผู้จัดการแผนก เพื่อรับคาแนะนาในแผนนั้นควรบันทึกเหตุผลใน การยกขึ้น มาปฏิบัติด้วย บันทึกเป้าหมายในการปฏิบัติ และแผนกิจกรรมให้เข้าใจ ง่าย 4.4 บันทึกเรื่องราวของกิจกรรมเก็บไว้ด้วย  การบันทึกกิจกรรมจะทาให้เข้าใจผลความคืบหน้า เหตุการณ์หรือปัญหาต่างๆ ระหว่างดาเนินการได้ง่าย 23
  • 24. 5.1 การจัดสภาพปัจจุบัน สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ การบริหารด้วยความจริง ตัดสินพิจารณาด้วย ข้อเท็จจริง ทาการรวบรวมข้อมูลและแยกหมวดหมู่ วิเคราะห์ และจาแนกสาเหตุ ที่ทาให้เกิดปัญหาขึ้น โดยการสารวจสภาพปัญหามี ดังนี้ • รวบรวมข้อมูลใหม่ (ข้อมูลเก่าอาจล้าสมัยไปแล้ว) • รวบรวมข่าวสารภายนอก (จากการรับฟังประสบการณ์จากคนอื่น) • ตรวจยืนยันด้วยตาตนเอง (ดูที่สถานที่จริง จะได้นึกออกตรงของจริง) • สารวจตัวอย่างที่คล้ายคลึงกัน (เคยเกิดแบบนี้ที่ไหนบ้าง ตอนนี้เป็ นอย่างไร) • ศึกษาตัวอย่างอื่น ๆ (อาจเป็ นธุรกิจต่างประเภทกันก็ได้ อาจได้แนวคิดใหม่ที่ ไม่เคยคิดถึงมาก่อนแล้วใช้ เอามาอ้างอิงได้ ) 5 วิธีดาเนินการกิจกรรม 24
  • 25. 5.2 การวิเคราะห์สาเหตุสาคัญ  การวิเคราะห์เหตุด้วยผังก้างปลาเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถเข้าใจต้นเหตุ แท้จริงของ ปัญหาได้สิ่งที่สาคัญที่สุดเราจะต้องไม่เชื่ออย่างหัวปักหัวปากับ การเชื่อว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริงใน ขั้นตอนการสารวจสภาพปัจจุบัน แต่ต้องถาม ตนเองและค้นหาคาตอบว่า “ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น” ซ้าแล้วซ้าเล่า บ่อย ๆ 25
  • 26. 6.1 วิธีการดึงความคิดออกมา อาจใช้ วิธีการระดมสมอง หรือวิธี KJ หัวหน้ ากลุ่มจะต้องดาเนินการในที่ประชุมคือ พูดอะไรออกมาก็ได้ ห้ ามวิจารณ์ คาพูดของคนอื่น พยายามกระตุ้นให้ มีความเห็น ออกมามาก ๆ และเชื่อมต่อ ความคิด 6.2 การประเมินความคิด พยายามนาความคิดที่เสนอมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ ต่อการแก้ปัญหา ห้ามชี้แนะ ความคิดคนอื่นว่ามีข้อบกพร่ องด้าน ความคิดที่ยัง ใช้ ไม่ได้ให้ นามาปรับปรุงหรือพลิกแพลงให้สามารถนามาใช้ งานได้ 6.3 การทาแนวคิดให้เป็ นรูปธรรม นาความคิดออกมาแสดงให้ชัดเจนว่าจะ ปรับปรุงอะไร ระยะเวลาเท่าใด ด้วยวิธีการอย่างไร รวมถึงนาเสนอแผนว่าต้อง ใช้ งบประมาณ คน เวลา ความร่ วมมือจากฝ่ ายใด 6 การพิจารณามาตรการการแก้ปัญหา 26
  • 27. 7.1 ลองทดสอบตามข้อเสนอในการปรับปรุงดูจริงๆ ในการปรับปรุงงาน เมื่อปฏิบัติจริงจะพบว่ามีจุดบกพร่ องอยู่ จึงควรที่จะหา วิธีการทดสอบปฏิบัติตรวจสอบก่อน ซึ่งวิธีการนั้นมักต่างจากแนวปฏิบัติเดิม จึงทาได้ยาก มีอุปสรรคมาก ฉะนั้นต้องแยกให้ออกว่าอุปสรรคนั้นมาจากความ ไม่คุ้นเคยหรือมาจากข้อเสนอ ที่ไม่ดีกันแน่ 7.2 การตัดสินข้อเสนอในการปรับปรุง หลังการทดสอบปฏิบัติ ถ้าวิธีการนั้นดีให้นามาใช้ ปรับปรุง หากมี ข้อบกพร่ องควรหยุดทดลองและหาข้อผิดพลาดทันที จากนั้นทดสอบซ้าจน ได้ผลที่น่าพอใจ โดยที่การปรับปรุงต้องสอดคล้องกับปัญหาตามวัตถุประสงค์ ความปลอดภัย ความพอใจของผู้ปฏิบัติงานที่ 7 การดาเนินการแก้ปัญหา 27
  • 28. 7.3 การทาให้ข้อเสนอในการปรับปรุงเป็นที่ยอมรับ  อธิบายความคิดเห็น ให้เกิดความรู้สึกในเชิงบวก ไม่เป็นไปในทางบังคับ และ อธิบายที่มา เหตุความจาเป็นที่ต้องปรับปรุงซึ่งควรให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมวางแผน ด้วย ควรอธิบายด้วยข้อเท็จ จริงโดยอาศัยข้อมูลแสดง หรือเครื่องจักรที่เป็นจริงเป็น หลักฐานแสดงและให้ความเคารพในจุดยืน ของคู่สนทนา ห้ามพูดว่าทาอย่างนั้นไม่ดี ให้พูดว่าถ้าปรับปรุงอย่างนี้แล้ว จะดีขึ้นอีก 7.4 การลงมือปฏิบัติตามข้อเสนอปรับปรุง  ดาเนินการตามแผนที่ต้องการปรับปรุง แสดงรายละเอียดในการแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอน วิธีปฏิบัติงานให้ชัดเจน ดาเนินการประสานร่วมแรงด้วยสมาชิกกลุ่มทุกคน สร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ตลอดเวลา 28
  • 29. 8.1 รวบรวมข้อมูล ดูผลที่เกิดขึ้นเป็ นไปตามเป้ าหมายหรือไม่ สารวจข้อมูลหลังการ ปรับปรุงด้วยเงื่อนไขเดียว กับการสารวจสภาพปัจจุบัน การเก็บ ข้อมูลไม่ควรเก็บครั้งเดียว แต่ควรทาซ้าแล้วซ้าเล่า เพื่อยืนยัน ผลลัพธ์ที่ได้ 8.2 การวิเคราะห์ข้อมูล แจกแจงข้อมูลที่รวบรวมมา แยกแยะเปรียบเทียบกับข้อมูลก่อน ปรับปรุง แล้วแสดงผลว่า เป็ นอย่างไรด้วยตัวเลขและแสดงเหตุผลที่ ได้ผลดีขึ้นให้ชัดเจน 8 การตรวจยืนยันผล 29
  • 30. 8.3 ติดตามระดับการบรรลุเป้าหมาย  แม้ว่าจะยืนยันว่าสามารถบรรลุเป้าหมายได้ก็ตาม หากระดับของค่าเป้าหมายสูง แม้ว่า จะลงมือแก้ไขทุกวิถีทาง ก็ไม่อาจบรรลุเป้าหมายได้ หากพบทางตันก็อาจท้อถอย เลิกล้ม ให้ พยายามร่วมมือกันทุกคนอย่างเต็มกาลัง นอกจากเป้าหมายแล้วยังต้องยืนยัน เรื่องอื่น ๆ อีก เช่น ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงเทียบกับจานวนเงินที่ประหยัดได้ผล ทางอ้อม เช่น มนุษย์สัมพันธ์ สภาพการปฏิบัติงานมีความปลอดภัยขึ้นอย่างไร 8.4 ตรวจยืนยันเรื่องความปลอดภัย  หากการปรับปรุงเครื่องจักรหรือการปฏิบัติงานแล้วอันตรายขึ้น ย่อมไม่เรียกว่าการ ปรับปรุง ต้องตรวจดูว่ามีความปลอดภัยเพิ่มขึ้นหลังการปรับปรุงด้วย 30
  • 31. • หากผลลัพธ์ได้ตามเป้ าหมายหลังจากการตรวจยืนยันแล้ ว จะต้องจัดขั้นตอนการทางานให้เป็ น มาตรฐาน • มาตรฐานงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ คือ แสดงวิธีการทางาน ใหม่ให้ชัดเจน ทาให้เข้าใจได้ง่าย ปฏิบัติตามได้ง่ าย และเป็ น เรื่องที่ปฏิบัติตามได้ แสดงให้ชัดเจนว่าหากไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐานแล้วจะเป็ นอย่างไร และรับการอนุมัติจากผู้จัดการ แผนกด้วย 9 จัดขั้นตอนการทางานให้เป็นมาตรฐาน 31
  • 32. • การป้ องกันคือ การทาให้ปัญหาเดียวกันไม่เกิดขึ้นซ้าสอง และสิ่ง ที่ปรับปรุงแล้วไม่กลับมามีสภาพ เหมือนก่อนปรับปรุงอีก • สิ่งพิจารณาดังนี้ คือ พนักงานทุกคนทราบและปฏิบัติตาม มาตรฐานโดยไม่มีข้อยกเว้น 10 การป้ องกันการเกิดซ้า 32
  • 33. การทากลุ่มย่อยให้มีชีวิตชีวา 1 การสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อม 1.1 ติดคาขวัญ  สร้างบรรยากาศภายในบริษัท โดยการติดโปสเตอร์ของคาขวัญ รูปภาพที่เกี่ยวกับ “TPM” และ”กิจกรรมกลุ่มย่อย” ตามทางเข้าออกโรงอาหาร ที่นัดพบประชุม หรือ สถานที่ทางาน 1.2 สานักงานส่งเสริม คือตัวกลางให้คาปรึกษา  บทบาทของสานักงานส่งเสริม คือให้คาแนะนาและติดตามสภาวะแก่กิจกรรมกลุ่ม ย่อยทุก ๆ กลุ่ม ,จัดประชุมและขยายสภาวะส่งเสริม TPM วางแผนจัดศึกษางาน การจัดอบรมสัมมนาและรายงานข่าวสารให้ผู้บริหารสูงสุดทราบ 2 หน่วยงานเข้าร่วมด้วยต้องมีทัศนคติทางบวก ผู้จัดการแผนกตรวจสอบประเมินผลให้คาแนะนาและติดตามคาชี้แนะครั้งก่อนหน้า 33
  • 34. 3 การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของสถานที่ทางาน 3.1 เริ่มจาก 5 ส  ต้องมีการใช้หลัก 5ส ดูแลปรับปรุงสถานที่ทางานให้เรียบร้อย เพื่อทาให้ปัญหา ปรากฏออกมาให้เห็นเด่นชัด 3.2 สร้างสภาพแวดล้อมให้ปรึกษากันได้อย่างสบายใจ  การสร้างบรรยากาศให้สดใส ทาให้สามารถพูดเรื่องที่คิดอยู่ออกมาได้อย่างสบาย ใจ โดยสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในการแลกเปลี่ยนสนทนาในระหว่างเวลาพัก หรือการ จัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในระหว่างสมาชิกทุกคน 3.3 การสร้างห้องประชุม  จาเป็นต้องมีห้องประชุม เพื่อให้สามารถมารวมกลุ่ม ประชุมปรึกษากันได้ โดย ติดตั้งอุปกรณ์ที่จาเป็นต่างๆไว้ภายในห้องประชุม อาทิ เก้าอี้ แอร์ พัดลม ข้อมูลการ ติดต่อ หรือบอร์ดกิจกรรมไว้ในที่ที่สะดุดตา 34
  • 35. 4 การลงทะเบียนข้อเสนอแนะ TPM  เพื่อเสริมสร้างสานึกในการปรับปรุงคุณภาพเครื่องจักร จึงมีการลงทะเบียน แสดงข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มคุณภาพTPM เช่น การปรับปรุงคุณภาพ ความ ปลอดภัย การประหยัดพลังงาน 5 การปรับปรุงการทางานเป็นทีม  ต้องมีการประสานงานร่วมกัน ค้นหาความสามารถพิเศษของแต่ละคน ออกมาใช้ให้ถูกทาง เช่น คนวาดภาพการ์ตูนเก่งก็ใช้เขียนภาพแสดง 35
  • 36. 6 การเสริมสร้างความเป็นผู้นาให้แข็งแกร่ง 6.1 ความตั้งใจในการทางานของหัวหน้ากลุ่ม  หัวหน้ากลุ่มต้องไม่บังคับด้วยคาสั่ง แต่จะต้องสร้างความรู้สึกร่วมกัน ทาให้คืบหน้า ให้กับสมาชิกทุกคน 6.2 เงื่อนไข 6 ประการของหัวหน้ากลุ่ม  มีความตั้งใจอย่างแรงกล้าในกิจกรรมกลุ่ม  เคารพในความเห็นของสมาชิก  นาความคิดของสมาชิกไปสานต่อ  กระตุ้นตนเองด้วยความคืบหน้าของตนเอง  ปรับปรุงการทางานเป็นทีมให้ดี โดยไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก  แจ้งข่าวสารที่จาเป็นให้สมาชิก 36
  • 37. วิธีการเสนอผลงาน 1 การเสนอผลงานคือ การบริหารกิจกรรม  การบริหารกิจกรรมกลุ่มรวมถึงการเสนอผลงาน โดยรวบรวมความเป็นไปและผลลัพธ์ ที่ได้ของกิจกรรม 2 จุดประสงค์ของการนาเสนอผลงาน  เป็นการกระตุ้นผู้เสนอและผู้ฟัง ทาให้เกิดการพูดคุยปรึกษากันถึงลักษณะต่างๆของ งาน เช่น ขั้นตอนของกิจกรรม ปัญหาความลาบากในการทางาน 3 ทุกคนมีส่วนร่วมในการเตรียมเสนอผลงาน  ต้องมีการวางแผนแบ่งหน้าที่ให้ทุกคนทาตามความถนัดของตน 37
  • 38. 4 การเสนอผลงาน  มีทั้งการเสนอผลงานภายในบริษัท และเสนอภายนอกบริษัท 5 การเสนอผลงานที่ดี ต้องพูดถึงการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอนโดยอาศัยข้อเท็จจริงเป็นหลัก 5.1 พูดด้วยภาษาเรียบง่าย  ไม่ต้องใช้ศัพท์ทางเทคนิคหรือศัพท์ยาก ๆ จะทาให้ผู้ฟังสับสน 5.2 เน้นจุดสาคัญ  ต้องพูดเน้นในจุดที่สาคัญให้ฟังเป็นพิเศษ เช่น รายละเอียดวิธีการปรับปรุง การ อุปสรรคก่อนได้วิธีปรับปรุง Know-how 5.3 เสนอผลงานด้วยข้อเท็จจริงเท่านั้น ไม่ดัดแปลงหรือแต่งเติม 5.4 ลาดับเรื่องราวที่จะพูดอย่างเป็นลาดับขั้นตอน ไม่สับสน 5.5 รักษาเวลาเสนอผลงานอย่างเคร่งครัด ไม่เกินเวลาที่กาหนด 38
  • 39. 6 เตรียมความพร้อม  โดยการฝึกนาเสนอๆ ครั้ง อาจซ้อมต่อหน้าสมาชิกและผู้บังคับบัญชาพร้อมรับคาชี้แนะ เพื่อสร้างความมั่นใจ 7 วิธีจัดเตรียมเสนอผลงาน 7.1 แนะนาหน่วยงาน ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ,กระบวนการผลิตและงานที่ทา 7.2 แนะนากลุ่ม ประวัติ ลักษณะพิเศษของกลุ่มพื้นฐานหลักในการทางาน 7.3 เหตุผลที่เลือกหัวข้อเรื่อง 7.4 การตั้งเป้าหมาย เป้าหมายควรแสดงเป็นตัวเลขได้ และระบุแหล่งที่มาของการ ตั้งเป้าหมายและระบุระยะเวลาทาได้ 7.5 การเสนอแผนกิจกรรม แบ่งหน้าที่ให้ชัดเจนว่า ใครทาอะไร เมื่อไร ถึงเมื่อไร 7.6 จับสภาพปัจจุบัน รวบรวมวิธีปฏิบัติ เทคนิค หรือวิธีการที่ใช้และข้อเท็จจริง ที่ใช้ในการ จับสภาพปัญหา 7.7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ทาการสารวจหรือวิเคราะห์โดยใช้วิธีการอย่างไร แสดงข้อมูล อุปสรรค และทาอย่างไรจึงทราบสาเหตุปัญหา 39
  • 40. 7.7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ทาการสารวจหรือวิเคราะห์โดยใช้วิธีการอย่างไร แสดงข้อมูล อุปสรรค และทาอย่างไรจึงทราบสาเหตุปัญหา 7.8 สภาพการแก้ไข (ปรับปรุง) แสดงถึงลักษณะและหัวข้อการปรับปรุงว่า ได้ข้อเสนอ การปรับปรุงมาได้อย่างไร หลังการวิเคราะห์ มีการตรวจสอบซ้าอย่างไร เมื่อผลที่ได้ยังไม่ดี และมีการปรับอย่างไรกับขั้นตอนถัดไป รวมทั้งเปรียบเทียบปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม 7.9 ตรวจยืนยันผล ผลที่เป็นรูปธรรม แสดงความแตกต่างของผลลัพธ์ที่ได้กับค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ด้วย ตัวเลขอย่างเป็นรูปธรรม ผลที่เป็นนามธรรม แสดงผลที่ประเมินเป็นตัวเลขได้ยาก เช่น มนุษย์สัมพันธ์ สภาพ ความปลอดภัย ความสามารถส่วนตัว ใหัชัดเจนที่สุดเท่าที่จะทาได้ 7.10 ลักษณะมาตรการ (การป้องกันการเกิดซ้า) รวบรวมเรื่องราวที่ได้ปฏิบัติไป เพื่อ ไม่ให้เกิดความผิดพลาดซ้าสองขึ้นอีก 7.11 สรุป (ผลสะท้อนของกิจกรรม) รวบรวมเกี่ยวกับจุดที่เป็นปัญหา จุดที่ไม่ดี ปัญหาที่ ยังคงมีอยู่ และวิธีดาเนินการต่อไป โดยมองย้อนกลับไปที่กิจกรรมที่ทามา 40
  • 41. 8 การจัดทาแผ่นใสสาหรับการเสนอผลงาน 8.1 การใช้เครื่องฉายแผ่นใส 8.2 การใช้โสตทัศนูปกรณ์ โดยไม่ใช้ตัวหนังสือที่เขียนหวัด ให้ใช้รูปตาราง การ์ตูน รูปภาพต่าง ๆ ให้มาก เน้นจุดสาคัญ จุดปัญหา ไม่ควรใช้แต่สีแดงแต่ควรขีดเส้นใต้ ประโยคหรือใช้ตัวอักษรหนาขึ้นหรือเปลี่ยนสีพื้นหลังใหม่ 8.3 การจัดทาต้นฉบับ 41
  • 42. 9 ข้อพึงปฏิบัติในการเสนอผลงานภายในบริษัท  ต้องจัดทาแผนต่าง ๆ ไว้ให้ดี เช่น วันเวลาที่จัด สถานที่จัด ผู้เสนอผลงาน พิธีกร ผู้ให้ คาแนะนาวิจารณ์ จานวนผู้เข้าร่วม 9.1 บทบาทหน้าที่ของพิธีกร  พิธีกรควรเป็นผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายและควรดึงคาถามจากผู้ร่วมงานให้ มากที่สุด เพื่อสร้างบรรยากาศให้มีชีวิตชีวา 9.2 คาแนะนาและวิจารณ์จากหน่วยงาน  ผู้บริหารตาแหน่งสูง เช่น ผู้จัดการส่วน ผู้จัดการแผนก จะเป็นผู้วิจารณ์ และเป็นผู้ชี้ จุดความ ประทับใจในกิจกรรมกลุ่ม ยังเป็นโอกาสที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงาน 42
  • 43. วิธีการตรวจสถานที่ทางาน 1 การรวบรวมสถานะของกิจกรรม  การตรวจสถานที่จริง เป็นการรับการประเมิน ผลของกิจกรรมกลุ่มย่อยวิธีหนึ่ง หัวหน้ากลุ่มจะต้องจัดประชุมกลุ่มทุกครั้งที่บรรลุเป้าหมายและรวบรวมเรื่องราว อุปสรรคและข้อดีต่าง ๆ ของสมาชิกทุกคน ในการดาเนินตามมาตรการแก้ปัญหา ความ เป็นมาของกิจกรรมทั้งผลสะท้อนและผลลัพธ์ที่ได้และเตรียมตัวเพื่อรับการตรวจผล กิจกรรมได้ตลอดเวลา  การตรวจนั้นถือเป็นงานอย่างหนึ่งในกิจกรรม TPM ซึ่งผู้บริหารสูงสุดของบริษัท หรือผู้จัดการโรงงาน จะต้องลงไปดูในสถานที่ปฏิบัติงานจริง รับรายงานผลของ กิจกรรมกลุ่มพร้อมทั้งตรวจดูรอบ ๆ สถานที่ทางาน พร้อมทั้งชี้แนะและแนะนาจุด ปัญหาต่าง ๆ ให้แก่กลุ่ม 43
  • 44. 2 การเตรียมการรับการตรวจ  เตรียมข้อมูลการควบคุมประจาวัน(จานวนการขัดข้องของเครื่องจักร จานวน ความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เวลาในการรักษาดูแลเครื่องจักร (ทาความสะอาด ตรวจเช็ค เติมน้ามัน) และจานวนข้อบกพร่องทางคุณภาพ) จัดทาข้อมูลสนับสนุน อื่น ๆ(สิ่งที่ช่วยแสดงเป็นภาพตัวอย่างในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ์และเครื่องจักรที่ เตรียมไว้ให้ดูเป็นตัวอย่าง) เพื่อให้เกิดการเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 3 การรับการตรวจ  หัวหน้ากลุ่มจะอธิบายสภาพความเป็นไปในการควบคุมประจาวันอยู่หน้าบอร์ด กิจกรรม ด้วยข้อมูลควบคุมและข้อมูลสนับสนุน  ในการตรวจสภาพปฏิบัติ ต้องอธิบายถึงประเด็นปัญหา วิธีวิเคราะห์ วิธีดาเนินการแก้ไข และผลที่ได้ที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท  เช่น จานวนการขัดข้องของเครื่องจักรลดลงต่ากว่าเป้าหมายหรือไม่ การรักษาและ ปรับปรุงคุณภาพเป็นอย่างไร ผลตอบแทนเป็นตัวเงินหรือไม่ และรับฟังคาแนะนาถึง จุดดีและจุดไม่ดีจากผู้บริหารระดับสูงของบริษัท หรือผู้จัดการโรงงาน 44
  • 45. เครื่องมือที่นามาใช้ในกิจกรรมกลุ่มย่อย 1) กราฟ (Graph) 2) แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram) 3) แผนภูมิของเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) 4) แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet) 5) ฮิสโตแกรม (Histogram) 6) แผนภูมิควบคุม (Control Chart) 7) ผังการกระจาย (Scatter Diagram) 8) การจาแนกแจกแจง (Stratification) 9) แผนภูมิใยแมงมุม (Radar Char) 45
  • 46. 10) การใช้ตารางวิเคราะห์เหตุขัดข้อง (PM Analysis) ที่แสดงถึง สภาพปัจจุบัน วิเคราะห์ทางกายภาพ เงื่อนไขที่ทาให้เกิด หาสาเหตุ วิธีตรวจสอบสภาพปัจจุบัน จุดบกพร่อง มาตรการปรับปรุงแก้ไข 11) วิธี KJ (KJ Method) โดยวิธีตามขั้นตอนดังนี้ กาหนดหัวข้อเรื่อง ทาป้ายกระดาษ รวบรวมป้ายกระดาษ ทาใบปะหน้า จัดกลุ่มใหม่ จัด กลุ่มใบปะหน้า สร้างประโยครวม รายงานปากเปล่า 12) การระดมสมอง (Brain Storming) มีดังนี้ ทุกคนออกความเห็น กาหนดหัวข้อเรื่องและเป้าหมายให้ชัดเจน กาหนดผู้ดาเนินการ ประชุมและผู้บันทึก เชื่อมโยงแนวความคิด ทาให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วม (กระตุ้น ความคิด) ให้พูดออกมา อย่างอิสระ รวบรวมคาพูด กาหนดหัวข้อสาคัญ กาหนดวิธีการ ดาเนินการต่อไปโดยใช้หลัก 5W 1H 46
  • 47. 13) วิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering) โดยพิจารณาหน้าที่การใช้งานจากของสิ่งนี้ทาขึ้นเพื่ออะไร มีไว้เพื่ออะไร ไม่มีวิธีการ อื่น ๆ อีกหรือ ทาให้กะทัดรัดขึ้นไม่ได้หรือ วิธีการใดในข้อข้างต้นที่ถูกที่สุด 14) วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็นเทคนิคการ ปรับปรุงเพื่อขจัด Muda, Mura, Muri หรือความสูญเปล่า ความซับซ้อน ความยุ่งยากของคน วัสดุ เครื่องจักร วิธีการขจัด 3M 47
  • 48. สรุป  จากการศึกษา การดาเนินกิจกรรมกลุ่มย่อย TPM อย่างง่าย ๆ แล้วจะเห็นว่า มีขั้นตอน เหมือนกับการทากลุ่มย่อย QCC ตาม TQC นั่นเอง เพียงแต่แตกต่างกันที่แบบ TPM จะมีการจัดแบ่งกลุ่มที่เป็นแบบสามเหลี่ยมซ้อนกัน เรื่องที่ทาจะเป็นการขจัดการ สูญเปล่าที่ยิ่งใหญ่ 6 อย่าง วัตถุประสงค์ของกลุ่มมุ่งไปที่การตอบสนองวัตถุประสงค์การ บริหารงานแบบ TPM นอกนั้นจะเหมือนกันกับกลุ่มย่อย QCC เมื่อเป็นเช่นนี้ หน่วยงานที่เป็น หน่วยงานสนับสนุน เช่น งานบุคคล งานสารบรรณ จะทากลุ่มย่อย TPM ได้ 48
  • 50. 50