SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ࡺçÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ 
อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ 
äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ 
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในเนื้อหาฉบับที่แล้ว ผมได้เขียนแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคและเคล็ดลับในการอ่านบทความ 
วิจัยภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยได้อธิบายในส่วนของการดูหัวข้อเรื่อง (Title) และการพิจารณาส่วนต่างๆ ของบทคัดย่อ (Abstract) รวมถึงให้ตัวอย่าง 
ของประโยคหรือวลีภาษาอังกฤษ พร้อมยกตัวอย่างประกอบให้ท่านผู้อ่านได้ลองอ่านและติดตามดูครับ 
เนื้อหาในตอนที่ 3 นี้ก็จะต่อเนื่องจากตอนที่ 2 ในฉบับที่ผ่านมา 
แตผ่มจะเลา่สูกั่นฟงัในรายละเอียดแตล่ะสว่นครับ ซึ่งบางครั้งประโยคหรือ 
วลีต่างๆ อาจซ้อนหรือเหมือนกับในส่วนของบทคัดย่อ ในฉบับนี้ ผมจะพูด 
ในส่วนของ ‘Introduction’ หรือ บทนำ ก่อนครับ (เพื่อไม่ให้เนื้อหาดูหนัก 
และเครียดไปครับ ) โดยผมจะอธิบายและยกตัวอย่างประกอบเหมือนใน 
ตอนที่ผ่านมา ส่วนอีกที่เหลือจะพูดในฉบับถัดไปจนถึงตอนสุดท้ายของ 
เนื้อหาบทความในหัวข้อนี้ครับ 
ในส่วนของ Introduction หรือ บทนำ ในเบื้องต้นเราจะมาดูกันก่อนว่า 
ผู้เขียนบทความวิจัยต้องการบอกอะไรกับผู้อ่านในส่วนนี้ 
Introduction นั้น ผู้เขียนจะให้ Background ของเรื่องที่จะศึกษาเพื่อ 
ให้ผู้อ่านสามารถติดตามเรื่องราวได้ง่ายขึ้น จุดเด่นของส่วน Introduction 
คือจะบอกถึงแรงจูงใจ และเหตุผลว่าทำไมต้องทำงานนี้ ยกตัวอย่างเช่น 
งานวิจัยก่อนหน้ามีจุดใดที่ยังไม่ได้ศึกษาแต่เป็นจุดที่สำคัญที่ควรจะศึกษา 
นอกจากนั้นในส่วนท้ายของ Introduction ก็จะบอกจุดประสงค์ของงาน 
วิจัยนี้ครับ 
โดยทั่วไปแล้ว โครงสร้างของ Introduction ถ้าเราสังเกตประโยคเริ่มต้น 
ของบทความวิจัยจะเป็นการบรรยายถึง Background ของเรื่องที่จะศึกษา 
งานวิจัยก่อนหน้าที่เกี่ยวข้องว่ามีการศึกษาอะไรมาบ้าง จากนั้นผู้วิจัยก็จะ 
บอกว่างานวิจัยที่มีการทำมาก่อนหน้านั้นมีจุดบกพร่องอะไร และอะไร 
เป็นจุดที่ต้องมีการศึกษาต่อเพื่อให้ได้องค์ความรู้ที่ชัดเจนขึ้น ส่วนนี้เป็น 
หัวใจเลยครับ เราเรียกตรงนี้ว่า ‘Research gap’ จากนั้นในประโยคท้ายๆ 
ผู้วิจัยก็จะบอกจุดประสงค์ของงานวิจัยที่ทำครับ ในบางวารสารอาจบอก 
ผลการวิจัยต่อไปเลยด้วยก็ได้ 
คราวนี้เรามาดูประโยค หรือวลีที่เป็น Guideline สำคัญในส่วน 
Introduction ครับ โดยผมจะมุ่งไปที่ส่วนที่เป็น Research gap และ 
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยในบทความนั้นๆ ครับ 
เราจะเริ่มส่วนที่เป็น Research gap ก่อนนะ 
ครับ ส่วนนี้อย่างที่บอกเป็นหัวใจสำคัญที่จะบอก 
คุณค่าของงานวิจัยเลยครับว่าเหตุผลใดเป็นแรง 
บันดาลใจให้ผู้วิจัยเลือกศึกษาเรื่องนี้ โดยทั่วไป 
ประโยคที่บอก Research gap นี้จะอยู่ก่อน 
ประโยคที่บอกวัตถุประสงค์งานวิจัย พูดง่ายๆ 
คือ หาประโยคที่บอกจุดประสงค์งานวิจัยให้เจอ 
ประโยคที่อยู่ก่อนจุดประสงค์งานวิจัยคือ Research gap นั่นเอง 
รูปแบบการเขียนในส่วนนี้สังเกตได้ง่ายเลยว่าจะเป็นการเขียนขึ้น 
ประโยคที่แสดงความขัดแย้งกับการทบทวนวรรณกรรม (Review articles) 
จากประโยคก่อนหน้า หรือไม่ก็จะเป็นความหมายเชิงว่า “การศึกษานี้ยัง 
ไม่มีใครทำมาก่อน” “ถึงแม้มีการศึกษามาแล้วแต่......” “ผลการศึกษา 
ในอดีตยังไม่สมบูรณ์ จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มในปัจจัยต่างๆ ดังนี้....” โดย 
คำหรือข้อความที่มักปรากฏเป็นจุดสังเกตดูได้จากกรอบสี่เหลี่ยมด้านล่าง 
เลยครับ 
2 สมามาามคมเทเเททคนินนิิคกาากการแพแแพพทยย์์ย์แแหแห่ห่่งปรระะระเทเเททศไทไไททย 
• ประโยคมักขึ้นต้นด้วย “However, No study, Little study, Few studies, 
.......................................... 
• อาจพบประโยคที่ขึ้นต้นด้วย Although...................., .................................. 
(ในเชงิความหมายทีว่า่ถงึแมม้กีารศกึษามาแลว้ แต...................................) 
• อาจเจอกลุ่มประโยคที่เป็นปฏิเสธในเชิงความหมายว่ายังไม่ได้ศึกษา เช่น 
..............................this topic/problem/issue/controversial issue/point 
has never/not been investigated/examined/explored/studied/ 
clarifi ed/addressed 
• อาจเจอประโยคที่มีความหมายในเชิงแนะนำในเชิงที่ว่า ถ้าจะทำให้งาน 
นี้มีความชัดเจนขึ้น เราจำเป็นต้องศึกษาในแง่ของ................. 
To cope/deal with the problems more effectively; therefore, 
we need to............ 
* ดัดแปลงจากเอกสารการเรียนเอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for 
Medical Science Graduates ของ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ 
อีกส่วนหนึ่งคือ ส่วนที่บอกวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เราจะสังเกตได้ 
ง่ายครับ มักอยู่เป็นประโยคสุดท้ายของ Paragraph ในส่วน Introduction 
นั่นคือถ้าท่านผู้อ่านต้องการหาว่างานวิจัยในบทความนี้มีจุดประสงค์อะไร 
ให้มุ่งไปที่ประโยคสุดท้ายในส่วนนี้เลยครับ โดยคำหรือข้อความที่เป็นจุด 
สังเกตสามารถดูได้จากกรอบด้านล่างเลยครับ 
• เรามักพบคำเหล่านี้ในประโยค “purpose, aim, goal” 
• ผู้เขียนอาจเขียนในเชิงบอกIn this study 
In the present study } 
ว่าจะทำอะไรในงานวิจัยนี้ ประโยคมักขึ้นด้วย 
we .................................(ประโยคบอกว่า 
Therefore, in this study ทำการศึกษาอะไร) 
เช่น In this study we examined............................................................ 
• รูปแบบอื่นๆ ที่บอกวัตถุประสงค์งานวิจัย เช่น 
The present study was designed to.................................................... 
In this study, it was hypothesized that................................................ 
The hypothesis of this study was................................................ เป็นต้น 
* ดัดแปลงจากเอกสารการเรียนเอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for 
Medical Science Graduates ของ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ 
• อ่านต่อหน้า 3
www.amtt.org 3 
ช่วงเวลาของการประชุมวิชาการประจำปี 2555 
ของสมาคมเทคนิคการแพทย์ฯ มาถึงแล้ว ครั้งนี้เป็นปี 
ที่ 36 ครบ 3 รอบของงานวิชาการประจำปีที่ยิ่งใหญ่ 
ของชาวแล็บ เป็นโอกาสแห่งการเรียนรู้และศึกษา 
เทคโนโลยีใหม่ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสำคัญของการ 
ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ธรรมนูญสมาคมฯ ใหม่ และ 
การเลือกตั้งนายกสมาคมฯ 
ปีใหม่นี้ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 
ที่ท่านเคารพนับถือ จงดลบันดาลให้ทุกท่านมีพลังอย่างไม่สิ้นสุดในการ 
เรียนรู้ พัฒนาตนเองและเครือข่าย ทำงานอย่างมีความสุข เตรียมความ 
พร้อมสำหรับสิ่งใหม่และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างต่อเนื่องตลอดปีค่ะ 
ÈÔÃÔÃÑμ¹ μѹʡØÅ 
บรรณาธิการ 
สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย 
The Association of Medical Technologists of Thailand 
บรรณาธิการบริหาร 
รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ 
บรรณาธิการ 
ทนพญ.ศิริรัตน์ ตันสกุล 
กองบรรณาธิการ 
ทนพญ.พรสุรี พงษ์สุชาติ 
ทนพ.เมธี ศรีประพันธ์ 
อ.ทนพ.ธนสาร ศิริรัตน์ 
อ.สุชา ทวีสิทธิ์ 
วิชาการ 
ดร.ปาลนี อัมรานนท์ 
ประสานการผลิต 
ทนพญ.พรสุรี พงษ์สุชาติ 
สถานที่ติดต่อ 
บรรณาธิการจุลสารสมาคมเทคนิคการแพทย์ฯ 
154 อาคารจุฬาพัฒน์ 1 จุฬาลงกรณ์ ซอย 12 
ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน 
กรุงเทพฯ 10330 
โทรศัพท์ 02-2181081 โทรสาร 02-2181082 
เอกสารอ้างอิง 
1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates ในส่วนเนื้อหา “Reading 
Research Articles in Medical Sciences” ปีการศึกษา 2551 ของ รศ. ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์ 
มหาวิทยาลัย 
2. Bello AI, Owusu-Boakye E, Adegoke BO, Adjei DN. Eff ects of aerobic exercise on selected physiological 
parameters and quality of life in patients with type 2 diabetes mellitus. Int J Gen Med.4:723-7. 
3. Kang SH, Hwang HS, Park HS, Sun IO, Choi SR, Chung BH, et al. Changes in renal function after 
diff erent tandem hematopoietic stem-cell transplantation approaches in patients with multiple myeloma. 
J Korean Med Sci. Oct;26(10):1310-5. 
• ต่อจากหน้า 2 
คราวนี้เรามาลองดูตัวอย่างกันครับ โดยผมจะตัดส่วน 
Introduction มาจากตัวอย่างบทความวิจัยครับแล้วจะชี้ให้ 
ท่านผู้อ่านดูครับ ว่าแต่ละส่วนที่ผมกล่าวข้างต้นเราเจออยู่ 
ตรงไหนบ้าง 
จากตัวอย่างด้านข้างเราจะพบว่า ส่วนของ Research 
gap จะแสดงโดยเส้นประสีแดง โดยจุดสังเกตคือจะขึ้นต้นด้วย 
คำว่า However ถัดมาที่แสดงในกรอบสีเขียว คือ ส่วนที่บอก 
จุดประสงค์ของงานวิจัยในบทความนี้ครับ โดยจะมีคำว่า 
The aim of this study ครับเป็นจุดสังเกตที่สอง 
เป็นอย่างไรบ้างครับท่านผู้อ่าน สำหรับเนื้อหาที่ผมลง 
รายละเอียดในส่วน Introduction นี้ เรายังมีส่วนต่างๆ อีก 
3 ส่วนนะครับ ซึ่งผมจะค่อยๆ นำมาเล่าสู่กันฟังในโอกาสต่อไป 
ครับ ถา้ทา่นผูอ้า่นมีขอ้คดิเห็นหรือขอ้เสนอแนะอะไร สามารถ 
แนะนำมาได้เลยนะครับที่ sriprapun.m@gmail.com 
ท้ายสุดผมต้องขอขอบพระคุณ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบัน 
ภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้สอนวิชา “Technical 
English for Medical Science Graduates” ให้กับผมและ 
ทำให้ผมได้รับเนื้อหาและประสบการณ์จากการเรียนและการ 
อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษมาเขียนเล่าสู่กันฟังให้กับท่าน 
ผู้อ่านทุกๆ ท่าน ครับ 
ไว้พบกันฉบับหน้า...สวัสดีครับ

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำงานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำsutham lrp
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)Chinnakorn Pawannay
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำงานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่อง 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ
 
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 

Viewers also liked

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5Mahidol University, Thailand
 
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Age
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Ageพจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Age
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New AgeThanya Wattanaphichet
 
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยEnglish Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยThanya Wattanaphichet
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Mahidol University, Thailand
 

Viewers also liked (6)

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
 
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Age
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Ageพจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Age
พจนานุกรม ไทย - อังกฤษ ฉบับ New Age
 
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทยEnglish Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
English Collocation Dictionary เพื่อช่วยการแต่งประโยคพร้อมแปลไทย
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
 

Similar to อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3

การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผล
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผลประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผล
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผลchaiya kesarat
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehensionruttiporn
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Sunee Suvanpasu
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Krudoremon
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ Maejo University
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBISuccess SC Slac
 
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวางอวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวางPrapiroon Sridamat
 

Similar to อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3 (17)

การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
 
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผล
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผลประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผล
ประเด็นที่ 9 การเขียนสรุปและอภิปรายผล
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
 
หลักการเขียนบทคัดย่อ
หลักการเขียนบทคัดย่อหลักการเขียนบทคัดย่อ
หลักการเขียนบทคัดย่อ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehension
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
81
8181
81
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBI
 
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวางอวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
 

More from Mahidol University, Thailand

More from Mahidol University, Thailand (12)

Pcr primer design english version
Pcr primer design english versionPcr primer design english version
Pcr primer design english version
 
How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificity
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
 
Bacteria identification
Bacteria identificationBacteria identification
Bacteria identification
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
PCR primer design
PCR primer designPCR primer design
PCR primer design
 
Principle of PCR
Principle of PCR Principle of PCR
Principle of PCR
 

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3

  • 1. ࡺçÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในเนื้อหาฉบับที่แล้ว ผมได้เขียนแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคและเคล็ดลับในการอ่านบทความ วิจัยภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยได้อธิบายในส่วนของการดูหัวข้อเรื่อง (Title) และการพิจารณาส่วนต่างๆ ของบทคัดย่อ (Abstract) รวมถึงให้ตัวอย่าง ของประโยคหรือวลีภาษาอังกฤษ พร้อมยกตัวอย่างประกอบให้ท่านผู้อ่านได้ลองอ่านและติดตามดูครับ เนื้อหาในตอนที่ 3 นี้ก็จะต่อเนื่องจากตอนที่ 2 ในฉบับที่ผ่านมา แตผ่มจะเลา่สูกั่นฟงัในรายละเอียดแตล่ะสว่นครับ ซึ่งบางครั้งประโยคหรือ วลีต่างๆ อาจซ้อนหรือเหมือนกับในส่วนของบทคัดย่อ ในฉบับนี้ ผมจะพูด ในส่วนของ ‘Introduction’ หรือ บทนำ ก่อนครับ (เพื่อไม่ให้เนื้อหาดูหนัก และเครียดไปครับ ) โดยผมจะอธิบายและยกตัวอย่างประกอบเหมือนใน ตอนที่ผ่านมา ส่วนอีกที่เหลือจะพูดในฉบับถัดไปจนถึงตอนสุดท้ายของ เนื้อหาบทความในหัวข้อนี้ครับ ในส่วนของ Introduction หรือ บทนำ ในเบื้องต้นเราจะมาดูกันก่อนว่า ผู้เขียนบทความวิจัยต้องการบอกอะไรกับผู้อ่านในส่วนนี้ Introduction นั้น ผู้เขียนจะให้ Background ของเรื่องที่จะศึกษาเพื่อ ให้ผู้อ่านสามารถติดตามเรื่องราวได้ง่ายขึ้น จุดเด่นของส่วน Introduction คือจะบอกถึงแรงจูงใจ และเหตุผลว่าทำไมต้องทำงานนี้ ยกตัวอย่างเช่น งานวิจัยก่อนหน้ามีจุดใดที่ยังไม่ได้ศึกษาแต่เป็นจุดที่สำคัญที่ควรจะศึกษา นอกจากนั้นในส่วนท้ายของ Introduction ก็จะบอกจุดประสงค์ของงาน วิจัยนี้ครับ โดยทั่วไปแล้ว โครงสร้างของ Introduction ถ้าเราสังเกตประโยคเริ่มต้น ของบทความวิจัยจะเป็นการบรรยายถึง Background ของเรื่องที่จะศึกษา งานวิจัยก่อนหน้าที่เกี่ยวข้องว่ามีการศึกษาอะไรมาบ้าง จากนั้นผู้วิจัยก็จะ บอกว่างานวิจัยที่มีการทำมาก่อนหน้านั้นมีจุดบกพร่องอะไร และอะไร เป็นจุดที่ต้องมีการศึกษาต่อเพื่อให้ได้องค์ความรู้ที่ชัดเจนขึ้น ส่วนนี้เป็น หัวใจเลยครับ เราเรียกตรงนี้ว่า ‘Research gap’ จากนั้นในประโยคท้ายๆ ผู้วิจัยก็จะบอกจุดประสงค์ของงานวิจัยที่ทำครับ ในบางวารสารอาจบอก ผลการวิจัยต่อไปเลยด้วยก็ได้ คราวนี้เรามาดูประโยค หรือวลีที่เป็น Guideline สำคัญในส่วน Introduction ครับ โดยผมจะมุ่งไปที่ส่วนที่เป็น Research gap และ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยในบทความนั้นๆ ครับ เราจะเริ่มส่วนที่เป็น Research gap ก่อนนะ ครับ ส่วนนี้อย่างที่บอกเป็นหัวใจสำคัญที่จะบอก คุณค่าของงานวิจัยเลยครับว่าเหตุผลใดเป็นแรง บันดาลใจให้ผู้วิจัยเลือกศึกษาเรื่องนี้ โดยทั่วไป ประโยคที่บอก Research gap นี้จะอยู่ก่อน ประโยคที่บอกวัตถุประสงค์งานวิจัย พูดง่ายๆ คือ หาประโยคที่บอกจุดประสงค์งานวิจัยให้เจอ ประโยคที่อยู่ก่อนจุดประสงค์งานวิจัยคือ Research gap นั่นเอง รูปแบบการเขียนในส่วนนี้สังเกตได้ง่ายเลยว่าจะเป็นการเขียนขึ้น ประโยคที่แสดงความขัดแย้งกับการทบทวนวรรณกรรม (Review articles) จากประโยคก่อนหน้า หรือไม่ก็จะเป็นความหมายเชิงว่า “การศึกษานี้ยัง ไม่มีใครทำมาก่อน” “ถึงแม้มีการศึกษามาแล้วแต่......” “ผลการศึกษา ในอดีตยังไม่สมบูรณ์ จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มในปัจจัยต่างๆ ดังนี้....” โดย คำหรือข้อความที่มักปรากฏเป็นจุดสังเกตดูได้จากกรอบสี่เหลี่ยมด้านล่าง เลยครับ 2 สมามาามคมเทเเททคนินนิิคกาากการแพแแพพทยย์์ย์แแหแห่ห่่งปรระะระเทเเททศไทไไททย • ประโยคมักขึ้นต้นด้วย “However, No study, Little study, Few studies, .......................................... • อาจพบประโยคที่ขึ้นต้นด้วย Although...................., .................................. (ในเชงิความหมายทีว่า่ถงึแมม้กีารศกึษามาแลว้ แต...................................) • อาจเจอกลุ่มประโยคที่เป็นปฏิเสธในเชิงความหมายว่ายังไม่ได้ศึกษา เช่น ..............................this topic/problem/issue/controversial issue/point has never/not been investigated/examined/explored/studied/ clarifi ed/addressed • อาจเจอประโยคที่มีความหมายในเชิงแนะนำในเชิงที่ว่า ถ้าจะทำให้งาน นี้มีความชัดเจนขึ้น เราจำเป็นต้องศึกษาในแง่ของ................. To cope/deal with the problems more effectively; therefore, we need to............ * ดัดแปลงจากเอกสารการเรียนเอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates ของ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ อีกส่วนหนึ่งคือ ส่วนที่บอกวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เราจะสังเกตได้ ง่ายครับ มักอยู่เป็นประโยคสุดท้ายของ Paragraph ในส่วน Introduction นั่นคือถ้าท่านผู้อ่านต้องการหาว่างานวิจัยในบทความนี้มีจุดประสงค์อะไร ให้มุ่งไปที่ประโยคสุดท้ายในส่วนนี้เลยครับ โดยคำหรือข้อความที่เป็นจุด สังเกตสามารถดูได้จากกรอบด้านล่างเลยครับ • เรามักพบคำเหล่านี้ในประโยค “purpose, aim, goal” • ผู้เขียนอาจเขียนในเชิงบอกIn this study In the present study } ว่าจะทำอะไรในงานวิจัยนี้ ประโยคมักขึ้นด้วย we .................................(ประโยคบอกว่า Therefore, in this study ทำการศึกษาอะไร) เช่น In this study we examined............................................................ • รูปแบบอื่นๆ ที่บอกวัตถุประสงค์งานวิจัย เช่น The present study was designed to.................................................... In this study, it was hypothesized that................................................ The hypothesis of this study was................................................ เป็นต้น * ดัดแปลงจากเอกสารการเรียนเอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates ของ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ • อ่านต่อหน้า 3
  • 2. www.amtt.org 3 ช่วงเวลาของการประชุมวิชาการประจำปี 2555 ของสมาคมเทคนิคการแพทย์ฯ มาถึงแล้ว ครั้งนี้เป็นปี ที่ 36 ครบ 3 รอบของงานวิชาการประจำปีที่ยิ่งใหญ่ ของชาวแล็บ เป็นโอกาสแห่งการเรียนรู้และศึกษา เทคโนโลยีใหม่ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสำคัญของการ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ธรรมนูญสมาคมฯ ใหม่ และ การเลือกตั้งนายกสมาคมฯ ปีใหม่นี้ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ท่านเคารพนับถือ จงดลบันดาลให้ทุกท่านมีพลังอย่างไม่สิ้นสุดในการ เรียนรู้ พัฒนาตนเองและเครือข่าย ทำงานอย่างมีความสุข เตรียมความ พร้อมสำหรับสิ่งใหม่และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างต่อเนื่องตลอดปีค่ะ ÈÔÃÔÃÑμ¹ μѹʡØÅ บรรณาธิการ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย The Association of Medical Technologists of Thailand บรรณาธิการบริหาร รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ บรรณาธิการ ทนพญ.ศิริรัตน์ ตันสกุล กองบรรณาธิการ ทนพญ.พรสุรี พงษ์สุชาติ ทนพ.เมธี ศรีประพันธ์ อ.ทนพ.ธนสาร ศิริรัตน์ อ.สุชา ทวีสิทธิ์ วิชาการ ดร.ปาลนี อัมรานนท์ ประสานการผลิต ทนพญ.พรสุรี พงษ์สุชาติ สถานที่ติดต่อ บรรณาธิการจุลสารสมาคมเทคนิคการแพทย์ฯ 154 อาคารจุฬาพัฒน์ 1 จุฬาลงกรณ์ ซอย 12 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 02-2181081 โทรสาร 02-2181082 เอกสารอ้างอิง 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา Technical English for Medical Science Graduates ในส่วนเนื้อหา “Reading Research Articles in Medical Sciences” ปีการศึกษา 2551 ของ รศ. ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2. Bello AI, Owusu-Boakye E, Adegoke BO, Adjei DN. Eff ects of aerobic exercise on selected physiological parameters and quality of life in patients with type 2 diabetes mellitus. Int J Gen Med.4:723-7. 3. Kang SH, Hwang HS, Park HS, Sun IO, Choi SR, Chung BH, et al. Changes in renal function after diff erent tandem hematopoietic stem-cell transplantation approaches in patients with multiple myeloma. J Korean Med Sci. Oct;26(10):1310-5. • ต่อจากหน้า 2 คราวนี้เรามาลองดูตัวอย่างกันครับ โดยผมจะตัดส่วน Introduction มาจากตัวอย่างบทความวิจัยครับแล้วจะชี้ให้ ท่านผู้อ่านดูครับ ว่าแต่ละส่วนที่ผมกล่าวข้างต้นเราเจออยู่ ตรงไหนบ้าง จากตัวอย่างด้านข้างเราจะพบว่า ส่วนของ Research gap จะแสดงโดยเส้นประสีแดง โดยจุดสังเกตคือจะขึ้นต้นด้วย คำว่า However ถัดมาที่แสดงในกรอบสีเขียว คือ ส่วนที่บอก จุดประสงค์ของงานวิจัยในบทความนี้ครับ โดยจะมีคำว่า The aim of this study ครับเป็นจุดสังเกตที่สอง เป็นอย่างไรบ้างครับท่านผู้อ่าน สำหรับเนื้อหาที่ผมลง รายละเอียดในส่วน Introduction นี้ เรายังมีส่วนต่างๆ อีก 3 ส่วนนะครับ ซึ่งผมจะค่อยๆ นำมาเล่าสู่กันฟังในโอกาสต่อไป ครับ ถา้ทา่นผูอ้า่นมีขอ้คดิเห็นหรือขอ้เสนอแนะอะไร สามารถ แนะนำมาได้เลยนะครับที่ sriprapun.m@gmail.com ท้ายสุดผมต้องขอขอบพระคุณ รศ.ผ่าน บาลโพธิ์ สถาบัน ภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้สอนวิชา “Technical English for Medical Science Graduates” ให้กับผมและ ทำให้ผมได้รับเนื้อหาและประสบการณ์จากการเรียนและการ อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษมาเขียนเล่าสู่กันฟังให้กับท่าน ผู้อ่านทุกๆ ท่าน ครับ ไว้พบกันฉบับหน้า...สวัสดีครับ