SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
รายงานวิจัยในชั้นเรียน 
ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจาศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
นายกฤษฎิน ยอดคาตัน 
ผู้วิจัย 
แผนกวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน 
สานักบริหารงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ( สช. ) 
กระทรวงศึกษาธิการ
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน ได้พิจารณาการวิจัยของ 
นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน แล้วเห็นสมควรเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน 
อา เภอเมือง จังหวดัหนองคาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
………………………………… 
(นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน) 
ผู้วิจัย 
………………………………….. ……………………………………. 
(นางพรรณราไพ ทรงทันตรักษ์) (นางกรนภา ดีนาน) 
รองผู้อา นวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร รองผู้อา นวยการฝ่ายวิชาการ 
…………………………………. ……………………………………. 
(นายอภิชา ไชยชว่ย) (นางชนิธาดา ดอกไม)้ 
รองผู้อา นวยการฝ่ายพัฒนากิจการฯ รองผู้อา นวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ 
……………………………………… 
(นางอารียา สุวรรณวงษ์) 
ผู้อา นวยการวิทยาลัย
ก 
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ 
ชื่อผู้วิจัย นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน 
สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
ปีทที่า วิจัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
บทคัดย่อ 
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวตัถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพประกอบ 
ของนักเรียนระดับชั้นปวช. ปีที่ 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน 
เพื่อยกระดับความสามารถด้านการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นให้มากขึ้น เพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา 
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพในการฟัง พูด อา่น เขียน ภาษาญี่ปุ่น 
โดยให้นักเรียนฝึกการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ตามแบบฝึกทักษะด้วยสื่อรูปภาพประกอบ ที่ผู้วิจัยได้ทา การสร้างขึ้นมา 
ปัจจุบันปฏิเสธไมไ่ด้วา่ การสื่อสารภาษาตา่งประเทศ มีความสาคัญตอ่การติดตอ่สื่อสารในทุกระดับ เชน่ 
การใช้ภาษาญี่ปุ่นในทางการค้า 
การติดตอ่ระหวา่งชนชาติเอเชียตะวนัออก ทุกกิจกรรม เป็นต้น 
ผลการศึกษาปรากฏวา่ นักเรียนส่วนใหญที่่เป็นกลุม่ตัวอยา่งมีทักษะการจา คา ศัพท์ที่สูงขึ้น ทั้งการออกเสียง 
การเดาคา ศัพท์จากภาพที่ปรากฏ มีความกล้าแสดงออกที่จะพูดภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น 
ผลการวิจัย พบวา่ เครื่องมือที่สร้างขึ้นมา 
มีประสิทธิภาพและสามารถนาไปปรับใช้ในการเรียนการสอนได้ดีในชั้นเรียนตอ่ไป
ข 
กิตติกรรมประกาศ 
งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ 
ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากนางอารียา สุวรรณวงษ์ ผู้อา นวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน 
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอยา่งสูง 
ขอบคุณคณะครู-นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
ที่ให้ความร่วมมือการทา วิจัยในครั้งนี้ 
ขอบพระคุณ คุณบิดามารดา ครูอาจารย์ที่ได้อบรม สั่งสอนให้เป็นคนดี มีความรู้ มีคุณธรรม 
อันส่งผลให้งานวิจัยประสบความสาเร็จลุล่วงด้วยดี 
ลงชื่อผู้วิจัย....................................................... 
(นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน)
ค 
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
บทคัดยอ่ ก 
กิตติกรรมประกาศ ข 
สารบัญ ค 
บทที่1 บทนา 1 – 3 
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 
วตัถุประสงค์ของการวิจัย 
ขอบเขตของการวิจัย 
ประโยชน์ที่คาดวา่จะได้รับ 
สมมุติฐาน 
ระยะเวลาในการวิจัย 
นิยามศัพท์เฉพาะ 
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทเี่กี่ยวข้อง 4 – 6 
แนวคิด 
ทฤษฎี 
เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง 
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 7 – 9 
ประชากรและกลุม่ตัวอยา่ง 
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 
การเก็บรวบรวมข้อมูล 
การวิเคราะห์ข้อมูล 
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 10 – 11 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 12 
สรุปผลการวิจัย 
ข้อเสนอแนะ 
บรรณานุกรม 
ภาคผนวก 
ก. ตัวอยา่งแบบฝึกคา ศัพท์
ประวตัิผู้วิจัย 
บทที่ 1 
บทนา 
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 
ในโลกแห่งข้อมูลขา่วสารและการสร้างเครือขา่ยความรู้อยา่งปัจจุบันนี้ 
บุคคลจะต้องติดตอ่สื่อสารกับผู้อื่นอยา่งหลากหลาย 
ทั้งในลักษณะของการติดตอ่สื่อสารระหวา่งบุคคลและการติดตอ่สื่อสารระหวา่งหน่วยงาน หรือองค์กร 
ด้วยจุดมุง่หมายเพื่อแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ข้อมูลขา่วสาร ความรู้ ความคิด ตลอดจนการรับความรู้ใหม่ 
หรือนวตักรรมมาใช้เพื่อประโยชน์ในการดา รงชีวิต การพัฒนาตนเองและประเทศชาติ โดยทั่วไปแล้ว 
ในการติดตอ่สื่อสารแตล่ะครั้งย่อมมีสาระความรู้เป็นเนื้อหาสาคัญ นั่นหมายความวา่ 
ยิ่งมีการติดตอ่สื่อสารมากเทา่ใด ก็จะเกิดสาระความรู้มากขึ้นเทา่นั้น 
ดังนั้นบุคคลจึงจา เป็นที่จะต้องหาวิธีชว่ยให้ตนเองสามารถจดจา สาระความรู้ตา่งๆ 
ที่เกิดขึ้นในโลกแห่งข้อมูลขา่วสารให้ได้มากที่สุดเทา่ที่จะทา ได้ 
Joyce และ Weil (1992: 164) กลา่ววา่ มนุษย์มีเรื่องราวและสิ่งตา่งๆ 
ที่จะต้องจา ตลอดชีวิตด้วยการใช้ภาษาในปริมาณมากมายมหาศาลด้วยการเชื่อมโยงหรือใช้ภาษาให้สัมพันธ์กบัวตั 
ถุ สิ่งของ เหตุการณ์ กิจกรรม และคุณภาพนานับประการของสิ่งเหลา่นั้น ในการเรียนรู้วิชาใดๆ ก็จะพบวา่ 
ต้องใช้ภาษาในการจดจา อยูเ่สมอ เชน่ ในการเรียนวิชาเคมี 
ก็จา เป็นต้องจา ชื่อและคุณสมบัติทางโครงสร้างของสารประกอบตา่งๆ ในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ 
ก็จา เป็นต้องจา ชื่อประเทศตา่งๆ ลักษณะสาคัญทางภูมิประเทศ 
และเหตุการณ์ที่สาคัญเกี่ยวกบัประชาชนของประเทศเหลา่นั้น และในการเรียนวิชาภาษาตา่งประเทศ 
ก็จา เป็นที่จะต้องจดจา และพัฒนาคา ศพท์ ตลอดจนการออกเสียงคา เหลา่นั้น เป็นต้น 
จากการที่ผู้วิจัยได้สอนนักเรียนระดับชั้นปวช. ปีที่ 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ 
ที่เรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 แตก่ลับพบวา่ ผู้เรียนส่วนใหญไ่มส่ามารถจดจา คา ศัพท์ที่เรียนมาได้ 
ซึ่งจะส่งผลตอ่ความสามารถในการศึกษาตอ่และทา งานในสถานประกอบการ 
เพื่อพัฒนาความสามารถในการจา คาศัพท์ของผู้เรียน 
ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะได้นาเทคนิคในการชว่ยจา โดยใช้สื่อรูปภาพมาทดลองใช้ 
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนชั้น ปวช. 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ 
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาญี่ปุ่น 
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีตอ่วิชาภาษาญี่ปุ่น 
3. สมมุติฐานของการวิจัย 
หลังจากนักเรียนได้ใช้สื่อรูปภาพแล้ว นักเรียนมีความสามารถด้านการจาคา ศัพท์ได้ดีขึ้น 
และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 สูงกวา่เกณฑ์ประเมิน 
4. ขอบเขตของการวิจัย 
ก. ขอบเขตด้านเนื้อหา 
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเฉพาะนักเรียนระดับชั้นปวช. 2 ห้อง 3 สาขาภาษาตา่งประเทศ วนัพุธ 
คาบเรียนที่ 6 – 7 ชว่งเวลา 12.30 – 14.30 น. 
ข. ขอบเขตด้านประชากร 
กลุ่มเป้าหมาย 
ประชากรและกลุม่ตัวอยา่ง 
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ที่เรียนในรายรายวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 
จา นวน 1 ห้องเรียน จา นวนนักเรียน 49 คน 
ตัวแปรทศีึ่กษา 
1. ตัวแปรต้น (Primary Variable) ได้แก่การใช้สื่อรูปภาพเพื่อชว่ยจา คา ศัพท์ 
2. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่พื้นฐานความรู้และเทคนิคการจา ศัพท์ของนักเรียน 
3. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ความสามารถในการจา คา ศัพท์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 
ค. ขอบเขตด้านเวลา / ระยะเวลาในการวิจัย 
ภาคเรียนที่ 1 / 2557 
5. ข้อตกลงเบื้องต้น 
การใช้สื่อรูปภาพนี้ ผู้เรียนต้องได้ปฏิบัติจริงและครบถ้วน 
6. นิยามศัพท์ (คาจากัดความ) ทใี่ช้ในการวิจัย 
1. ความสามารถในการจา ศัพท์ หมายถึง การที่บุคคลสามารถสะกดคา บอกความหมายและออกเสียง 
คา ศัพท์นั้นได้อยา่งถูกต้อง ในที่นี้หมายถึงความสามารถในการสะกดคา และบอกความหมายของ
คา ศัพท์ได้อยา่งถูกต้องของนักเรียน 
2. การใช้สื่อรูปภาพ เพื่อชว่ยการจา หมายถึง ผู้สอนนาสื่อรูปภาพคา ศัพท์ ในบทเรียนมาปรับใช้ในการ 
สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจา คาศัพท์มากขึ้น 
7. ประโยชน์ทคี่าดว่าจะได้รับ 
1. นักเรียนมีความสามารถในการจาคา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น 
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นดีขึ้น 
3. นักเรียนสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นสื่อสารกบัเจ้าของภาษาได้ 
4. ผู้สอนได้แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนที่หลากหลาย
บทที่ 2 
แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ Estes ( 1976 : 7 ) กลา่วถึง 
การจดจา วา่ โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์จะไมส่ามารถจดจา ในสิ่งที่ตนเองไมใ่ส่ใจที่จะจา ดังนั้น 
หากมนุษย์ต้องการที่จะพัฒนาการจดจา ของตน มนุษย์ต้องใส่ใจในวิธีการที่ตนนามาใช้ เพื่อจดจา สิ่งตา่งๆ 
Ehrman และ Oxford (1990: 313) กลา่วถึงยุทธวิธีในการจา วา่ ประกอบด้วย 4 วิธี 
และแตล่ะวิธีประกอบด้วยวิธียอ่ยๆ คือ วิธีสร้างการเชื่อมโยงในใจ (Creating Mental Linkages) 
ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ยๆ 3 วิธี 
คือ การจัดกลุม่ (Grouping) การรวมพวกและขยายรายละเอียด (Associating / Elaborating) 
และการใส่คา ใหมล่งไปในบริบท (Placing New Words into a Context) วิธีการใช้ภาพและเสียง (Applying 
Images and Sounds) ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ย 4 วิธีคือ การสร้างภาพ (Using Imagery) การสร้างแผนที่ความหมาย 
(Semantic Mapping) การใช้คา สาคัญ (Using Keywords) และการใช้เสียงเพื่อการจดจา (Representing Sounds in 
Memory) 
วิธีการทบทวนบอ่ยๆ (Reviewing Well) โดยเน้นการทบทวนโครงสร้างของสิ่งที่ต้องจา วิธีการแสดงกริยาอาการ 
(Employing Action) ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ย 2 วิธีคือการใช้การตอบสนองทางร่างกายหรือทางอารมณ์ 
(Using Physical Response or Sensation) และการใช้เทคนิคทางชา่ง (Using Mechanical Techniques) 
Joyce และ Weil (1992: 92) กลา่วถึงการใช้เทคนิคในการชว่ยจา จากผลสรุปของการวิจัยวา่ 
บุคคลที่สามารถจาสิ่งตา่งๆ ได้ดีและนาน คือผู้ที่ใช้เทคนิคในการชว่ยจา และได้กลา่วถึงเทคนิคในการชว่ยจา วา่ 
ประกอบด้วยเทคนิคที่สาคัญ 6 ประการ (Joyce and Weil : 1992, 172-174) คือ เทคนิคการตระหนัก (Awareness) 
คือการเอาใจใส่ในสิ่งที่ต้องการจา ด้วยการสังเกตลักษณะหรือคุณสมบัติที่สาคัญของสิ่งที่ต้องการจา Lorayne และ 
Lucas (1974 : 6) กลา่วถึงการตระหนักวา่ ถ้าหากบุคคลเกิดการตระหนักในสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว 
บุคคลจะจา สิ่งนั้นได้ตลอดไป 
เทคนิคการรวมพวก (Association) 
คือการนาเอาสิ่งที่ต้องการจา รวมเข้าเป็นพวกหรือกลุ่มเดียวกับสิ่งง่ายและผู้เรียนรู้ดีอยูแ่ล้ว Lorayne และ Lucas
(1974, 7) ได้ยกตัวอยา่งของการใช้เทคนิคนี้ชว่ยนักเรียนระดับประถมศึกษาจา คา ศัพท์ภาษาอังกฤษ เชน่คา วา่ 
Piece ซึ่งแปลวา่ ชิ้นหรืออัน ด้วยการรวมพวกกบัคา วา่ Pie 
ที่แปลวา่ขนมพาย ซึ่งเป็นที่คุ้นเคยสาหรับนักเรียนดีอยูแ่ล้วด้วยการรวมทั้ง 2 สิ่งเข้าด้วยกนัวา่เป็น ขนมพาย 1 ชิ้น 
(A piece of Pie) โดยสังเกตวา่ตัวอักษร 3 ตัวแรกของคา วา่ Piece สะกดเหมือน Pie. 
เทคนิคการเชื่อมโยง (Link System) คือการโยงความคิดหรือสิ่งของ 2 อยา่งเข้าด้วยกนัโดยให้ความคิดหรือสิ่งของ 
อันแรกซึ่งผู้เรียนคนุ้เคยอยูแ่ล้ว เป็นกลไกไขไปสู่คา ตอบที่ต้องการ ดังตัวอยา่งเชน่ การเชื่อมโยงเพื่อให้จา ได้วา่ 
ประธานาธิบดีคนที่ 16 (Sixteenth) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยการโยงวา่ ทั้ง 2 คา เป็นคา 2 พยางค์ 
และพยางค์แรกของทั้ง 2 คา ออกเสียงสระ “อ”ิ เหมือนกนั 
เทคนิคการรวมพวกให้ตลกสนุกสนาน 
หรือแปลกประหลาดโดยไมต่้องคา นึงถึงความถูกต้องหรือหลักความจริงหรือกฎเกณฑ์ใดๆ 
เชน่การรวมพวกด้วยการสร้างคา หรือประโยคให้สิ่งที่ไมมี่ชีวิต หรือเครื่องใช้ตา่งๆ แสดงกริยาอาการแปลกๆ ได้ 
เป็นต้น 
เทคนิคการใช้คา เทียบแทน (Substitute – word System) คือการใช้อักษรคา เสียง 
หรือสิ่งที่ผู้เรียนรู้จักเป็นอยา่งดีอยูแ่ล้ว มาแทนที่สิ่งใหมห่รือสิ่งที่ต้องการจา 
ซึ่งการเทียบแทนที่สร้างขึ้นนั้นอาจเป็นรุปธรรม นามธรรม หรือเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน 
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาพหรือมองเห็นบันไดกา้วไปสู่การจาได้ 
เทคนิคการใช้คา สาคัญ (Key Word) คือการใช้คา หรืออักษรสั้นๆ 
เพื่อเป็นตัวแทนของประโยคหรือความคิดที่ยาวๆ หรือสิ่งที่มีองค์ประกอบหลายอยา่ง 
ซึ่งจะชว่ยให้ผู้เรียนสามารถจา สิ่งที่ต้องการจาได้ง่ายขึ้น โดยทั่วไปแล้ว 
คา สาคัญที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมจะชว่ยให้เกิดการจา ได้ดีกวา่ นอกจากนั้น Joyce และ Weil (1992 : 176) 
ยังได้กลา่วถึงขั้นตอนการสอนโดยใช้เทคนิคช่วยจา วา่ ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 4 ขั้น คือ 
1. สร้างความสนใจในสิ่งที่เรียน (Attending to the Material) โดยครูนานักเรียนเข้าสู่สิ่งที่ต้องการเรียนด้วยการขีด 
เส้นใต้ จดสาระสาคัญหรือถามเพื่อสะท้อนให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในคา ประโยค เรื่องหรือสาระสาคัญของ 
สิ่งนั้น 
2. พัฒนาความสัมพันธ์ (Developing Connection) โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เข้าใจ คนุ้เคย และสร้างสาระสาคัญ 
ของสิ่งที่ต้องการจา นั้นเป็นผลผลิตขึ้นมา ด้วยการใช้เทคนิคใดๆ ดังกลา่วข้างต้น
3. ขยายหรือสร้างภาพลักษณ์ของสาระสาคัญที่สร้างขึ้นเพื่อการจา ให้เกิดความชัดเจน 
(Expanding Sensory Images) โดยการชว่ยผู้เรียนปรับ เสริม เติม แตง่ สาระสาคัญของสิ่งที่สร้างขึ้นให้มีความ 
ชัดเจนและง่ายตอ่การจดจา 
4. ฝึกฝนการจา (Practicing Recall) โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดลองใช้เทคนิคชว่ยจา ที่ตนพัฒนาขึ้นจนเกิด 
ความเคยชินและสามารถใช้ได้อยา่งสมบูรณ์ 
จากตัวอยา่งของเทคนิคชว่ยจาตามแนวคิดของ Ehrman และ Oxford กบั Joyce และ Weil 
ดังกลา่วข้างต้จะเห็นได้วา่มีหลายเทคนิคที่คล้ายกนั เชน่ เทคนิคการเชื่อมโยง การรวมพวกและการใช้เสียง 
เป็นต้น นอกจากนั้น 
จะเห็นได้วา่ จากตัวอยา่งขั้นตอนการสอนตามแนวคิดของ Joyce และ Weil 
จะเป็นแนวทางที่ครูผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในเกือบทุกวิชา 
และโดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคา ศัพท์ที่ผู้เรียนต้องจดจา มากมายมหาศาล ดังนั้น 
การใช้เทคนิคดังกลา่วข้างต้น 
จะสามารถชว่ยพัฒนาความสามารถในการจา ของผู้เรียนได้เป็นอยา่งดี 
ส่วนการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 สาหรับนักเรียนไทยนั้น 
ยังพบวา่มีปัญหาที่เกยี่วข้องกบัคา ศัพท์ตลอดมา ดังสรุปได้จากผลของการวิจัยดังตัวอยา่งตอ่ไปนี้ 
เมตตา บุณยากร (2513 : บทคัดยอ่) ได้ศึกษาปัญหาการสอนภาษาอังกฤษระดับมธัยมศึกษาตอนต้นใน 
จังหวดันครราชสีมา พบวา่ปัญหาโดยทั่วไปคือ 
นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษต่า และปัญหาเกี่ยวกบัคา ศัพท์คือ 
นักเรียนมีปัญหาในการออกเสียงคา ศัพท์ไมถู่กต้อง 
จันตรี คุปตะวาทิน (2521 : บทคัดยอ่) 
ได้ศึกษาความคิดเห็นของครูภาษาอังกฤษต่อปัญหาการสอนระดับประถมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกดักรม 
สามญัศึกษา กรุงเทพมหานคร พบวา่ ปัญหาที่เป็นอุปสรรคตอ่การสอนในระดับมาก 
คือปัญหาในการออกเสียงคา ศัพท์ที่ไมถู่กต้อง และปัญหาพื้นฐานความรู้ของนักเรียนไมเ่ทา่กนั 
ธีรพงศ์ แกน่อินทร์ (2524 : บทคัดยอ่) 
ได้ศึกษาปัญหาและความต้องการเพื่อปรับปรุงการสอนของครูที่สอนวิชาภาษาอังกฤษ 
ชั้นประถมศึกษาในจังหวดัตรัง ซึ่งพบวา่ปัญหาทั่วไปที่อยูใ่นระดับมากคือ
นักเรียนไมมี่โอกาสฟังเสียงเจ้าของภาษาอยา่งเพียงพอ 
และปัญหาเกยี่วกบัคา ศัพท์คือนักเรียนมีปัญหาในการออกเสียงไมถู่กต้อง 
บทที่ 3 
วิธีดาเนินการวิจัย 
การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ 
เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research ) โดยใช้วิจัยเชิงปฏิบัติ (Practical Research) 
และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกสถิติ (Statistical Record) 
ซึ่งผู้วิจัยได้กา หนดแนวทางในการดา เนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดในเรื่อง การกา หนดประชากร 
การสุ่มกลุม่ตัวอยา่ง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทา และการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ 
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นควา้หรือกลุ่มตัวอยา่ง คือ นักเรียนชั้น ปวช.2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ 
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย จา นวน 49 คน 
ระยะเวลาในการวิจัย 
ภาคเรียนที่ 1 / 2557
วันเดือนปี กิจกรรม หมายเหตุ 
26 – 30 พฤษภาคม 2557 - ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา 
- ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง 
2 – 30 มิถุนายน 2557 - กา หนดหัวข้อวิจัยที่จะจัดทาวิจัยในชั้นเรียน 
- สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
1 – 31 กรกฎาคม 2557 - นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แตล่ะหมวดไปทดลองใช้กบั 
นักเรียนกลุม่เป้าหมาย 
- นักเรียนฝึก ปฏิบัติทดลองการจา คา ศัพท์จากภาพ 
- บันทึกกิจกรรมการทดสอบ 
ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 
1 – 31 สิงหาคม 2557 - เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 
1 – 30 กนัยายน 2557 - สรุปและอภิปรายผล 
- เขียนรายงานการทา วิจัย 
- จัดทา รูปเลม่ 
ลาดับ กิจกรรม 
ระยะเวลาดาเนินงาน 
พ.ค. 57 มิ.ย. 57 ก.ค.57 ส.ค. 57 ก.ย. 
1 ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา 
ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง 
2 กา หนดหัวข้อวิจัยที่จะจัดทา 
สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
3 นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แต่ละหมวดไปทด 
ลองใช้กบันักเรียนกลุม่เป้าหมาย 
นักเรียนฝึกปฏิบัติทดลองการจา คา ศัพท์ 
จากภาพ 
บันทึกกิจกรรมการทดสอบ 
4 วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 
5 สรุปและอภิปรายผล 
- เขียนรายงานการทา วิจัย
- จัดทา รูปเลม่ 
เครื่องมือทใี่ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 
1. สื่อรูปภาพคา ศัพท์ จา นวน 5 หมวด ในแตล่ะชุดนั้น จะอยูใ่นคา ศัพท์แตล่ะบทเรียนของหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่น 
เพื่อการสื่อสาร 1 
2. แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม 
การเก็บรวบรวมข้อมูล 
1. ขั้นเตรียมการ 
ในการดา เนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น 
ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการดูรูปภาพกับคา ศัพท์ 
และทา การบันทึกคะแนนการทา แบบทดสอบของนักเรียนในแต่ละสัปดาห์ ผู้วิจัยได้วางแผนดา เนินการศึกษา 
สร้างแบบทดสอบการจา คา ศัพท์ โดยยึดคา ศัพท์ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ 
และได้ดา เนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้ 
ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) 
1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กา หนดไวดั้งนี้ 
กลุม่ตัวอยา่ง คือนักเรียนชั้น ปวช.ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย มีจา นวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 49 คน 
1.2 วิเคราะห์สภาพปัญหาการเรียน การสอนในแตล่ะคาบเรียน โดยการรวบรวมข้อมูล 
การสังเกตของผู้วิจัย 
1.3 ศึกษาข้อมูลจากการสังเกตการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 
รหัสวิชา 2000 – 9208 ชั้นปวช. 2 / 3 แล้วสรุปปัญหาการเรียนการสอนหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงพัฒนา 
1.4 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทา การวิจัยในชั้นเรียน 
1.5 กา หนดกรอบโครงร่างในการพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ญี่ปุ่น 
2. ขั้นดาเนินการ 
2.1 เตรียม / ค้นควา้อุปกรณ์ที่จะใช้สร้างสื่อรูปภาพและค้นหารูปภาพที่เกี่ยวกบัคา ศัพท์แต่ละหมวด 
2.2 สร้างสื่อรูปภาพประกอบคา ศัพท์ประกอบด้วย คา ศัพท์จา นวน 5 หมวด คือ
หมวดที่ 1 เรื่อง きょしつ 
หมวดที่ 2 เรื่อง しき 
หมวดที่ 3 เรื่อง スーパーマーケツト 
หมวดที่ 4 เรื่อง 見につけるもの 
หมวดที่ 5 เรื่อง レストラン 
2.3 นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แตล่ะหมวดไปทดลองใช้กบันักเรียนในกลุ่มเป้าหมาย โดยเริ่มจากหมวดแรกคือ 
เรื่องสภาพอากาศ ให้นักเรียนดูภาพแล้วบอกความหมาย ออกเสียงคา ศัพท์และเขียนตัวอักษรเป็นภาษาญี่ปุ่น 
ควบคู่กบัภาพที่ปรากฏ จนครบจา นวนคา ศัพท์และให้นักเรียนบอกความหมายของรูปภาพทีละคน 
จากนั้นก็จะเริ่มตอ่ด้วยหมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 และหมวดที่ 5 ตามลา ดับ 
ซึ่งแตล่ะหมวดนั้นจะใช้จนกวา่นักเรียน 
จะสามารถจา ศัพท์ให้มากที่สุด 
2.4 รวบรวมข้อมูลจากการทดลองการใช้สื่อรูปภาพวา่ นักเรียนแตล่ะคนสามารถจา ศัพท์จากรูปภาพได้ 
กี่คา ในจา นวนคา ศัพท์ทั้งหมด 
2.5 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ทดสอบการใช้สื่อรูปภาพแตล่ะชุด 
โดยการนาข้อมูลจากการทดลองมาเพื่อดูและเปรียบเทียบพัฒนาการจากการใช้สื่อรูปภาพ 
3. ขั้นการสรุปผลและเผยแพร่ 
3.1 เขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง 
การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยการใช้สื่อรูปภาพเพื่อชว่ยจาของนักเรียนระดับชั้นปวช . 2 
ห้อง 3 
3.2 นาผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นและเผยแพร่ผู้ที่สนใจตอ่ไป 
บทที่ 4 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 
ก า ร วิจัย เ รื่อ ง ก า ร พัฒ น า ค ว า มส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จ า ศัพ ท์ภ า ษ า ญี่ปุ่น โ ด ย ใ ช้สื่อ รูป ภ า พ 
ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังตารางตอ่ไปนี้ 
ตารางแสดงความสามารถจาคาศัพท์ของนักเรียน 49 คน จากทั้งหมด 5 หมวด 
รายชื่อนักเรียน หมวดที่ 1 
จา นวน 5คา 
หมวดที่ 2 
จา นวน 5 คา 
หมวดที่ 3 
จา นวน 5 คา 
หมวดที่ 4 
จา นวน 5 คา 
หมวดที่ 5 
จา นวน 5 คา 
รวมจา นวน 
ศัพท์ที่จา ได้ 
นายอนุกูล ก๋าใจ 3 4 3 5 3 18 
นายมงคล เทียบแสน 3 4 4 3 4 18 
น.ส.ณัฐชา อุตมาณ 4 3 3 4 4 18 
น.ส.นัฐทิชา โคตรอาสา 4 3 3 4 3 17
นายจักรพันธ์ อะภัย 3 3 4 3 4 17 
น.ส.จารุภา สารวมจิต 3 4 4 4 3 18 
น.ส.เจกิตาน์ แกว้คา สอน 5 4 5 4 5 23 
น.ส.ศิริมาศ ออ่นพรม 3 4 4 3 5 19 
น.ส.วาสนา ขจร 4 4 5 4 4 17 
นายกฤษณพงศ์ อุณารักษ์ 3 3 3 4 4 17 
นายนิติพัฒน์ 3 3 3 3 4 16 
นายวิชญะ สะตะ 2 3 4 3 3 15 
น.ส.ชนิษฐา เคณาสิงห์ 3 4 4 3 4 18 
น.ส.วิลัยลักษณ์ สุบิน 2 3 2 3 3 13 
น.ส.สุวนันท์ ใคร่วิชัย 3 3 4 4 5 19 
น.ส.สุธิดา สุขธรรม 3 4 4 4 5 20 
น.ส.มะลิวลัย์ สมสิงห์ 2 3 4 4 4 17 
น.ส.ภัทรพร หาญธงชัย 3 3 3 3 3 15 
น.ส.ปิ่นมณี รัตนมงคล 3 3 4 4 4 18 
น.ส.ประภาพร ศรีทอง 4 4 5 5 4 22 
น.ส.นิพาพร เครือแกว้ 3 3 4 4 4 18 
น.ส.นัธริกา ผาระนัตร 4 4 4 4 4 20 
นายจิรภัทร กลัยานาม 5 5 5 5 5 25 
นายศิริพงษ์ บัวบาล 2 3 2 3 4 14 
น.ส.กมลวรรณ สมสนุก 4 4 5 4 4 21 
น.ส.เกวลิน แผ้วชมภู 3 3 3 4 3 16 
น.ส.นรินทร หล้าสา 3 4 4 3 3 17 
น.ส.นัทธมน 3 3 3 4 3 16 
น.ส.ปิยะพร โสภิณธุ์ 4 4 3 3 4 18 
น.ส.ภนีย์นาฎ 4 4 3 5 4 20 
น.ส.สุจิตรา นาโคตร 4 4 5 4 5 22 
น.ส.สุภาภรณ์ 4 4 4 4 3 19 
น.ส.อทิตยา วานิช 5 5 5 4 5 24 
น.ส.อุไรวรรณ 4 4 3 4 4 19 
นายพงษ์อิศรา 2 3 4 5 4 18 
น.ส.สุภาพร 4 4 3 3 4 18
นายสุชัจจ์ 4 4 4 4 4 20 
น.ส.จิราพร ชินบุตร 4 4 4 5 4 21 
น.ส.เปรมวดี 4 3 4 3 4 18 
น.ส.จันจิรา จัตกุล 4 4 4 3 5 20 
นายรุ่งนิรันดร์ 4 4 3 3 4 18 
นายอธิษฐ์ 3 4 4 4 3 18 
น.ส.อทิตตยา 4 3 3 3 4 17 
น.ส.เจนจิรา 4 4 4 3 4 19 
น.ส.วราภรณ์ 3 4 4 5 4 20 
น.ส.ชนิดาภา 4 4 4 4 4 20 
น.ส.สุทธิดา 3 3 3 3 3 15 
นายพันธกานต์ 3 4 3 4 4 18 
น.ส.วรัชยา 4 3 3 4 3 17 
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม 
จา คา ศัพท์ได้ 20 – 25 คา หมายถึง ดีมาก 
จา คา ศัพท์ได้ 15 – 19 คา หมายถึง ดี 
จา คา ศัพท์ได้ 10 – 14 คา หมายถึง พอใช้ 
จา คา ศัพท์ได้ 5 – 9 คา หมายถึง ปรับปรุง 
เกณฑ์การผ่าน ผ่านระดับ ดี 
บทที่ 5 
สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 
การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ” 
ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 2/3 สาขาวิชา ภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
จา นวนทั้งหมด 49 คน 
สรุปผลการวิจัย 
จากการวิจัยการพัฒนาความสามารถในการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น โดยการใช้สื่อรูปภาพสาหรับ 
นักเรียนระดับชั้น ปวช. 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ ทา ให้นักเรียนมีความสามารถในการจา คา ศัพท์มากขึ้น 
กล้าแสดงออกหน้าชั้นเรียนและมีการพัฒนาด้านการอา่นภาษาญี่ปุ่นได้ถูกต้องมากขึ้น มีเจตคติที่ดีตอ่วิชา 
ภาษาญี่ปุ่น ทั้งนี้ นักเรียนยังมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 ได้ดีขึ้น
ข้อเสนอแนะ 
เนื่องจากภาษาญี่ปุ่นนั้นมีความยากในเนื้อหาทั้งไวยากรณ์และการอา่นออกเสียง 
จา เป็นอยา่งยิ่งที่ผู้เรียนนั้นต้องพัฒนาตนเองและฝึกฝนทักษะการคิด วิเคราะห์ 
จา หลักการของภาษาญี่ปุ่นให้ลึกซึ้งอยูเ่สมอ และคา ศัพท์บางคา นั้นไมส่ามารถใช้ภาพได้ 
ต้องจินตนาการด้วยความละเอียด รอบคอบ การใช้ภาพเป็นเพียงบางส่วนในวิธีการเทา่นั้น
ภาคผนวก 
ตัวอย่างแบบฝึกคาศัพท์
ประวัติย่อผู้วิจัย 
ชื่อ – นามสกุล นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน 
วัน เดือน ปีเกิด 5 กรกฎาคม 2529 
ทอี่ยู่ปัจจุบัน 48 หมู่2 บ้านเดื่อ ตา บลบ้านเดื่อ อา เภอเมือง จังหวดัหนองคาย 43000 
เบอร์โทรทสี่ามารถติดต่อได้ 086-2544842 
ประวัติการศึกษา 
พ.ศ. 2552 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ 
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 
พ.ศ. 2547 สาเร็จการศึกษาระดับมธัยมศึกษาตอนปลาย ( ม.6 ) 
จากโรงเรียนปรางค์กู่ อา เภอปรางค์กู่ จังหวดัศรีสะเกษ 
พ.ศ. 2544 สาเร็จการศึกษาระดับมธัยมศึกษาตอนต้น ( ม.3 ) 
จากโรงเรียนบ้านตาเปียง ตา บลสาโรงปราสาท อา เภอปรางค์กู่ จังหวดัศรีสะเกษ 
ปัจจุบัน 
ประวัติการทา งาน 
ปัจจุบัน ตา แหน่ง ครูสอนภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย 
พ.ศ. 2555 – 2556 ตา แหน่ง ครูสอนภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอุดรธานี 
จังหวดัอุดรธานี 
พ.ศ. 2553 – 2554 ตา แหน่ง Night Auditor, Sea San Sun Hotel, Pattaya

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
krumolticha
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
Surapong Jakang
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
Napadon Yingyongsakul
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 

Viewers also liked

โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
I'am So'shy Tine
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
Kritsadin Khemtong
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
apiromrut
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11
Tharapat
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
Decho Narong
 
Double consonants in Katakana
Double consonants in KatakanaDouble consonants in Katakana
Double consonants in Katakana
Accura Kurosawa
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
Thammasat University
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
Unity' PeeBaa
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
Nuchy Geez
 

Viewers also liked (20)

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารญี่ปุ่น
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารญี่ปุ่นโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารญี่ปุ่น
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารญี่ปุ่น
 
Double consonants in Katakana
Double consonants in KatakanaDouble consonants in Katakana
Double consonants in Katakana
 
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
 
Katakana quiz 2
Katakana quiz 2Katakana quiz 2
Katakana quiz 2
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้โครงงานประเทศเกาหลีใต้
โครงงานประเทศเกาหลีใต้
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
Mitsubishi
MitsubishiMitsubishi
Mitsubishi
 
Eng016
Eng016Eng016
Eng016
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
( research mythology)
( research  mythology)( research  mythology)
( research mythology)
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 

Similar to วิจัยญี่ปุ่น

โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
Jar 'zzJuratip
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
keatsunee.b
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
Jirawat Fishingclub
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
Thidarat Termphon
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
อิ่' เฉิ่ม
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
Siriphan Kristiansen
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 

Similar to วิจัยญี่ปุ่น (20)

โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
3
33
3
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

วิจัยญี่ปุ่น

  • 1. รายงานวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจาศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 นายกฤษฎิน ยอดคาตัน ผู้วิจัย แผนกวิชาภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน สานักบริหารงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ( สช. ) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน ได้พิจารณาการวิจัยของ นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน แล้วเห็นสมควรเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน อา เภอเมือง จังหวดัหนองคาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ………………………………… (นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน) ผู้วิจัย ………………………………….. ……………………………………. (นางพรรณราไพ ทรงทันตรักษ์) (นางกรนภา ดีนาน) รองผู้อา นวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร รองผู้อา นวยการฝ่ายวิชาการ …………………………………. ……………………………………. (นายอภิชา ไชยชว่ย) (นางชนิธาดา ดอกไม)้ รองผู้อา นวยการฝ่ายพัฒนากิจการฯ รองผู้อา นวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ……………………………………… (นางอารียา สุวรรณวงษ์) ผู้อา นวยการวิทยาลัย
  • 3. ก งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ ชื่อผู้วิจัย นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย ปีทที่า วิจัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวตัถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพประกอบ ของนักเรียนระดับชั้นปวช. ปีที่ 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน เพื่อยกระดับความสามารถด้านการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นให้มากขึ้น เพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพในการฟัง พูด อา่น เขียน ภาษาญี่ปุ่น โดยให้นักเรียนฝึกการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ตามแบบฝึกทักษะด้วยสื่อรูปภาพประกอบ ที่ผู้วิจัยได้ทา การสร้างขึ้นมา ปัจจุบันปฏิเสธไมไ่ด้วา่ การสื่อสารภาษาตา่งประเทศ มีความสาคัญตอ่การติดตอ่สื่อสารในทุกระดับ เชน่ การใช้ภาษาญี่ปุ่นในทางการค้า การติดตอ่ระหวา่งชนชาติเอเชียตะวนัออก ทุกกิจกรรม เป็นต้น ผลการศึกษาปรากฏวา่ นักเรียนส่วนใหญที่่เป็นกลุม่ตัวอยา่งมีทักษะการจา คา ศัพท์ที่สูงขึ้น ทั้งการออกเสียง การเดาคา ศัพท์จากภาพที่ปรากฏ มีความกล้าแสดงออกที่จะพูดภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น ผลการวิจัย พบวา่ เครื่องมือที่สร้างขึ้นมา มีประสิทธิภาพและสามารถนาไปปรับใช้ในการเรียนการสอนได้ดีในชั้นเรียนตอ่ไป
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากนางอารียา สุวรรณวงษ์ ผู้อา นวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอยา่งสูง ขอบคุณคณะครู-นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย ที่ให้ความร่วมมือการทา วิจัยในครั้งนี้ ขอบพระคุณ คุณบิดามารดา ครูอาจารย์ที่ได้อบรม สั่งสอนให้เป็นคนดี มีความรู้ มีคุณธรรม อันส่งผลให้งานวิจัยประสบความสาเร็จลุล่วงด้วยดี ลงชื่อผู้วิจัย....................................................... (นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน)
  • 5. ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่1 บทนา 1 – 3 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วตัถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดวา่จะได้รับ สมมุติฐาน ระยะเวลาในการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทเี่กี่ยวข้อง 4 – 6 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 7 – 9 ประชากรและกลุม่ตัวอยา่ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 10 – 11 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 12 สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ก. ตัวอยา่งแบบฝึกคา ศัพท์
  • 6. ประวตัิผู้วิจัย บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในโลกแห่งข้อมูลขา่วสารและการสร้างเครือขา่ยความรู้อยา่งปัจจุบันนี้ บุคคลจะต้องติดตอ่สื่อสารกับผู้อื่นอยา่งหลากหลาย ทั้งในลักษณะของการติดตอ่สื่อสารระหวา่งบุคคลและการติดตอ่สื่อสารระหวา่งหน่วยงาน หรือองค์กร ด้วยจุดมุง่หมายเพื่อแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ข้อมูลขา่วสาร ความรู้ ความคิด ตลอดจนการรับความรู้ใหม่ หรือนวตักรรมมาใช้เพื่อประโยชน์ในการดา รงชีวิต การพัฒนาตนเองและประเทศชาติ โดยทั่วไปแล้ว ในการติดตอ่สื่อสารแตล่ะครั้งย่อมมีสาระความรู้เป็นเนื้อหาสาคัญ นั่นหมายความวา่ ยิ่งมีการติดตอ่สื่อสารมากเทา่ใด ก็จะเกิดสาระความรู้มากขึ้นเทา่นั้น ดังนั้นบุคคลจึงจา เป็นที่จะต้องหาวิธีชว่ยให้ตนเองสามารถจดจา สาระความรู้ตา่งๆ ที่เกิดขึ้นในโลกแห่งข้อมูลขา่วสารให้ได้มากที่สุดเทา่ที่จะทา ได้ Joyce และ Weil (1992: 164) กลา่ววา่ มนุษย์มีเรื่องราวและสิ่งตา่งๆ ที่จะต้องจา ตลอดชีวิตด้วยการใช้ภาษาในปริมาณมากมายมหาศาลด้วยการเชื่อมโยงหรือใช้ภาษาให้สัมพันธ์กบัวตั ถุ สิ่งของ เหตุการณ์ กิจกรรม และคุณภาพนานับประการของสิ่งเหลา่นั้น ในการเรียนรู้วิชาใดๆ ก็จะพบวา่ ต้องใช้ภาษาในการจดจา อยูเ่สมอ เชน่ ในการเรียนวิชาเคมี ก็จา เป็นต้องจา ชื่อและคุณสมบัติทางโครงสร้างของสารประกอบตา่งๆ ในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ ก็จา เป็นต้องจา ชื่อประเทศตา่งๆ ลักษณะสาคัญทางภูมิประเทศ และเหตุการณ์ที่สาคัญเกี่ยวกบัประชาชนของประเทศเหลา่นั้น และในการเรียนวิชาภาษาตา่งประเทศ ก็จา เป็นที่จะต้องจดจา และพัฒนาคา ศพท์ ตลอดจนการออกเสียงคา เหลา่นั้น เป็นต้น จากการที่ผู้วิจัยได้สอนนักเรียนระดับชั้นปวช. ปีที่ 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ ที่เรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 แตก่ลับพบวา่ ผู้เรียนส่วนใหญไ่มส่ามารถจดจา คา ศัพท์ที่เรียนมาได้ ซึ่งจะส่งผลตอ่ความสามารถในการศึกษาตอ่และทา งานในสถานประกอบการ เพื่อพัฒนาความสามารถในการจา คาศัพท์ของผู้เรียน ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะได้นาเทคนิคในการชว่ยจา โดยใช้สื่อรูปภาพมาทดลองใช้ 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
  • 7. 1. เพื่อพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนชั้น ปวช. 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาญี่ปุ่น 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีตอ่วิชาภาษาญี่ปุ่น 3. สมมุติฐานของการวิจัย หลังจากนักเรียนได้ใช้สื่อรูปภาพแล้ว นักเรียนมีความสามารถด้านการจาคา ศัพท์ได้ดีขึ้น และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 สูงกวา่เกณฑ์ประเมิน 4. ขอบเขตของการวิจัย ก. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเฉพาะนักเรียนระดับชั้นปวช. 2 ห้อง 3 สาขาภาษาตา่งประเทศ วนัพุธ คาบเรียนที่ 6 – 7 ชว่งเวลา 12.30 – 14.30 น. ข. ขอบเขตด้านประชากร กลุ่มเป้าหมาย ประชากรและกลุม่ตัวอยา่ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นปวช. 2/3 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ที่เรียนในรายรายวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 จา นวน 1 ห้องเรียน จา นวนนักเรียน 49 คน ตัวแปรทศีึ่กษา 1. ตัวแปรต้น (Primary Variable) ได้แก่การใช้สื่อรูปภาพเพื่อชว่ยจา คา ศัพท์ 2. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่พื้นฐานความรู้และเทคนิคการจา ศัพท์ของนักเรียน 3. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ความสามารถในการจา คา ศัพท์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ค. ขอบเขตด้านเวลา / ระยะเวลาในการวิจัย ภาคเรียนที่ 1 / 2557 5. ข้อตกลงเบื้องต้น การใช้สื่อรูปภาพนี้ ผู้เรียนต้องได้ปฏิบัติจริงและครบถ้วน 6. นิยามศัพท์ (คาจากัดความ) ทใี่ช้ในการวิจัย 1. ความสามารถในการจา ศัพท์ หมายถึง การที่บุคคลสามารถสะกดคา บอกความหมายและออกเสียง คา ศัพท์นั้นได้อยา่งถูกต้อง ในที่นี้หมายถึงความสามารถในการสะกดคา และบอกความหมายของ
  • 8. คา ศัพท์ได้อยา่งถูกต้องของนักเรียน 2. การใช้สื่อรูปภาพ เพื่อชว่ยการจา หมายถึง ผู้สอนนาสื่อรูปภาพคา ศัพท์ ในบทเรียนมาปรับใช้ในการ สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจา คาศัพท์มากขึ้น 7. ประโยชน์ทคี่าดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนมีความสามารถในการจาคา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นดีขึ้น 3. นักเรียนสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นสื่อสารกบัเจ้าของภาษาได้ 4. ผู้สอนได้แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนที่หลากหลาย
  • 9. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ Estes ( 1976 : 7 ) กลา่วถึง การจดจา วา่ โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์จะไมส่ามารถจดจา ในสิ่งที่ตนเองไมใ่ส่ใจที่จะจา ดังนั้น หากมนุษย์ต้องการที่จะพัฒนาการจดจา ของตน มนุษย์ต้องใส่ใจในวิธีการที่ตนนามาใช้ เพื่อจดจา สิ่งตา่งๆ Ehrman และ Oxford (1990: 313) กลา่วถึงยุทธวิธีในการจา วา่ ประกอบด้วย 4 วิธี และแตล่ะวิธีประกอบด้วยวิธียอ่ยๆ คือ วิธีสร้างการเชื่อมโยงในใจ (Creating Mental Linkages) ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ยๆ 3 วิธี คือ การจัดกลุม่ (Grouping) การรวมพวกและขยายรายละเอียด (Associating / Elaborating) และการใส่คา ใหมล่งไปในบริบท (Placing New Words into a Context) วิธีการใช้ภาพและเสียง (Applying Images and Sounds) ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ย 4 วิธีคือ การสร้างภาพ (Using Imagery) การสร้างแผนที่ความหมาย (Semantic Mapping) การใช้คา สาคัญ (Using Keywords) และการใช้เสียงเพื่อการจดจา (Representing Sounds in Memory) วิธีการทบทวนบอ่ยๆ (Reviewing Well) โดยเน้นการทบทวนโครงสร้างของสิ่งที่ต้องจา วิธีการแสดงกริยาอาการ (Employing Action) ซึ่งประกอบด้วยวิธียอ่ย 2 วิธีคือการใช้การตอบสนองทางร่างกายหรือทางอารมณ์ (Using Physical Response or Sensation) และการใช้เทคนิคทางชา่ง (Using Mechanical Techniques) Joyce และ Weil (1992: 92) กลา่วถึงการใช้เทคนิคในการชว่ยจา จากผลสรุปของการวิจัยวา่ บุคคลที่สามารถจาสิ่งตา่งๆ ได้ดีและนาน คือผู้ที่ใช้เทคนิคในการชว่ยจา และได้กลา่วถึงเทคนิคในการชว่ยจา วา่ ประกอบด้วยเทคนิคที่สาคัญ 6 ประการ (Joyce and Weil : 1992, 172-174) คือ เทคนิคการตระหนัก (Awareness) คือการเอาใจใส่ในสิ่งที่ต้องการจา ด้วยการสังเกตลักษณะหรือคุณสมบัติที่สาคัญของสิ่งที่ต้องการจา Lorayne และ Lucas (1974 : 6) กลา่วถึงการตระหนักวา่ ถ้าหากบุคคลเกิดการตระหนักในสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว บุคคลจะจา สิ่งนั้นได้ตลอดไป เทคนิคการรวมพวก (Association) คือการนาเอาสิ่งที่ต้องการจา รวมเข้าเป็นพวกหรือกลุ่มเดียวกับสิ่งง่ายและผู้เรียนรู้ดีอยูแ่ล้ว Lorayne และ Lucas
  • 10. (1974, 7) ได้ยกตัวอยา่งของการใช้เทคนิคนี้ชว่ยนักเรียนระดับประถมศึกษาจา คา ศัพท์ภาษาอังกฤษ เชน่คา วา่ Piece ซึ่งแปลวา่ ชิ้นหรืออัน ด้วยการรวมพวกกบัคา วา่ Pie ที่แปลวา่ขนมพาย ซึ่งเป็นที่คุ้นเคยสาหรับนักเรียนดีอยูแ่ล้วด้วยการรวมทั้ง 2 สิ่งเข้าด้วยกนัวา่เป็น ขนมพาย 1 ชิ้น (A piece of Pie) โดยสังเกตวา่ตัวอักษร 3 ตัวแรกของคา วา่ Piece สะกดเหมือน Pie. เทคนิคการเชื่อมโยง (Link System) คือการโยงความคิดหรือสิ่งของ 2 อยา่งเข้าด้วยกนัโดยให้ความคิดหรือสิ่งของ อันแรกซึ่งผู้เรียนคนุ้เคยอยูแ่ล้ว เป็นกลไกไขไปสู่คา ตอบที่ต้องการ ดังตัวอยา่งเชน่ การเชื่อมโยงเพื่อให้จา ได้วา่ ประธานาธิบดีคนที่ 16 (Sixteenth) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยการโยงวา่ ทั้ง 2 คา เป็นคา 2 พยางค์ และพยางค์แรกของทั้ง 2 คา ออกเสียงสระ “อ”ิ เหมือนกนั เทคนิคการรวมพวกให้ตลกสนุกสนาน หรือแปลกประหลาดโดยไมต่้องคา นึงถึงความถูกต้องหรือหลักความจริงหรือกฎเกณฑ์ใดๆ เชน่การรวมพวกด้วยการสร้างคา หรือประโยคให้สิ่งที่ไมมี่ชีวิต หรือเครื่องใช้ตา่งๆ แสดงกริยาอาการแปลกๆ ได้ เป็นต้น เทคนิคการใช้คา เทียบแทน (Substitute – word System) คือการใช้อักษรคา เสียง หรือสิ่งที่ผู้เรียนรู้จักเป็นอยา่งดีอยูแ่ล้ว มาแทนที่สิ่งใหมห่รือสิ่งที่ต้องการจา ซึ่งการเทียบแทนที่สร้างขึ้นนั้นอาจเป็นรุปธรรม นามธรรม หรือเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาพหรือมองเห็นบันไดกา้วไปสู่การจาได้ เทคนิคการใช้คา สาคัญ (Key Word) คือการใช้คา หรืออักษรสั้นๆ เพื่อเป็นตัวแทนของประโยคหรือความคิดที่ยาวๆ หรือสิ่งที่มีองค์ประกอบหลายอยา่ง ซึ่งจะชว่ยให้ผู้เรียนสามารถจา สิ่งที่ต้องการจาได้ง่ายขึ้น โดยทั่วไปแล้ว คา สาคัญที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมจะชว่ยให้เกิดการจา ได้ดีกวา่ นอกจากนั้น Joyce และ Weil (1992 : 176) ยังได้กลา่วถึงขั้นตอนการสอนโดยใช้เทคนิคช่วยจา วา่ ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 4 ขั้น คือ 1. สร้างความสนใจในสิ่งที่เรียน (Attending to the Material) โดยครูนานักเรียนเข้าสู่สิ่งที่ต้องการเรียนด้วยการขีด เส้นใต้ จดสาระสาคัญหรือถามเพื่อสะท้อนให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในคา ประโยค เรื่องหรือสาระสาคัญของ สิ่งนั้น 2. พัฒนาความสัมพันธ์ (Developing Connection) โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เข้าใจ คนุ้เคย และสร้างสาระสาคัญ ของสิ่งที่ต้องการจา นั้นเป็นผลผลิตขึ้นมา ด้วยการใช้เทคนิคใดๆ ดังกลา่วข้างต้น
  • 11. 3. ขยายหรือสร้างภาพลักษณ์ของสาระสาคัญที่สร้างขึ้นเพื่อการจา ให้เกิดความชัดเจน (Expanding Sensory Images) โดยการชว่ยผู้เรียนปรับ เสริม เติม แตง่ สาระสาคัญของสิ่งที่สร้างขึ้นให้มีความ ชัดเจนและง่ายตอ่การจดจา 4. ฝึกฝนการจา (Practicing Recall) โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดลองใช้เทคนิคชว่ยจา ที่ตนพัฒนาขึ้นจนเกิด ความเคยชินและสามารถใช้ได้อยา่งสมบูรณ์ จากตัวอยา่งของเทคนิคชว่ยจาตามแนวคิดของ Ehrman และ Oxford กบั Joyce และ Weil ดังกลา่วข้างต้จะเห็นได้วา่มีหลายเทคนิคที่คล้ายกนั เชน่ เทคนิคการเชื่อมโยง การรวมพวกและการใช้เสียง เป็นต้น นอกจากนั้น จะเห็นได้วา่ จากตัวอยา่งขั้นตอนการสอนตามแนวคิดของ Joyce และ Weil จะเป็นแนวทางที่ครูผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในเกือบทุกวิชา และโดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคา ศัพท์ที่ผู้เรียนต้องจดจา มากมายมหาศาล ดังนั้น การใช้เทคนิคดังกลา่วข้างต้น จะสามารถชว่ยพัฒนาความสามารถในการจา ของผู้เรียนได้เป็นอยา่งดี ส่วนการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 สาหรับนักเรียนไทยนั้น ยังพบวา่มีปัญหาที่เกยี่วข้องกบัคา ศัพท์ตลอดมา ดังสรุปได้จากผลของการวิจัยดังตัวอยา่งตอ่ไปนี้ เมตตา บุณยากร (2513 : บทคัดยอ่) ได้ศึกษาปัญหาการสอนภาษาอังกฤษระดับมธัยมศึกษาตอนต้นใน จังหวดันครราชสีมา พบวา่ปัญหาโดยทั่วไปคือ นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษต่า และปัญหาเกี่ยวกบัคา ศัพท์คือ นักเรียนมีปัญหาในการออกเสียงคา ศัพท์ไมถู่กต้อง จันตรี คุปตะวาทิน (2521 : บทคัดยอ่) ได้ศึกษาความคิดเห็นของครูภาษาอังกฤษต่อปัญหาการสอนระดับประถมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกดักรม สามญัศึกษา กรุงเทพมหานคร พบวา่ ปัญหาที่เป็นอุปสรรคตอ่การสอนในระดับมาก คือปัญหาในการออกเสียงคา ศัพท์ที่ไมถู่กต้อง และปัญหาพื้นฐานความรู้ของนักเรียนไมเ่ทา่กนั ธีรพงศ์ แกน่อินทร์ (2524 : บทคัดยอ่) ได้ศึกษาปัญหาและความต้องการเพื่อปรับปรุงการสอนของครูที่สอนวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาในจังหวดัตรัง ซึ่งพบวา่ปัญหาทั่วไปที่อยูใ่นระดับมากคือ
  • 12. นักเรียนไมมี่โอกาสฟังเสียงเจ้าของภาษาอยา่งเพียงพอ และปัญหาเกยี่วกบัคา ศัพท์คือนักเรียนมีปัญหาในการออกเสียงไมถู่กต้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research ) โดยใช้วิจัยเชิงปฏิบัติ (Practical Research) และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกสถิติ (Statistical Record) ซึ่งผู้วิจัยได้กา หนดแนวทางในการดา เนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดในเรื่อง การกา หนดประชากร การสุ่มกลุม่ตัวอยา่ง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทา และการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นควา้หรือกลุ่มตัวอยา่ง คือ นักเรียนชั้น ปวช.2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย จา นวน 49 คน ระยะเวลาในการวิจัย ภาคเรียนที่ 1 / 2557
  • 13. วันเดือนปี กิจกรรม หมายเหตุ 26 – 30 พฤษภาคม 2557 - ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา - ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง 2 – 30 มิถุนายน 2557 - กา หนดหัวข้อวิจัยที่จะจัดทาวิจัยในชั้นเรียน - สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1 – 31 กรกฎาคม 2557 - นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แตล่ะหมวดไปทดลองใช้กบั นักเรียนกลุม่เป้าหมาย - นักเรียนฝึก ปฏิบัติทดลองการจา คา ศัพท์จากภาพ - บันทึกกิจกรรมการทดสอบ ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 1 – 31 สิงหาคม 2557 - เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล ผู้วิจัยบันทึกข้อมูล 1 – 30 กนัยายน 2557 - สรุปและอภิปรายผล - เขียนรายงานการทา วิจัย - จัดทา รูปเลม่ ลาดับ กิจกรรม ระยะเวลาดาเนินงาน พ.ค. 57 มิ.ย. 57 ก.ค.57 ส.ค. 57 ก.ย. 1 ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่วข้อง 2 กา หนดหัวข้อวิจัยที่จะจัดทา สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แต่ละหมวดไปทด ลองใช้กบันักเรียนกลุม่เป้าหมาย นักเรียนฝึกปฏิบัติทดลองการจา คา ศัพท์ จากภาพ บันทึกกิจกรรมการทดสอบ 4 วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 5 สรุปและอภิปรายผล - เขียนรายงานการทา วิจัย
  • 14. - จัดทา รูปเลม่ เครื่องมือทใี่ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. สื่อรูปภาพคา ศัพท์ จา นวน 5 หมวด ในแตล่ะชุดนั้น จะอยูใ่นคา ศัพท์แตล่ะบทเรียนของหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่น เพื่อการสื่อสาร 1 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ขั้นเตรียมการ ในการดา เนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการดูรูปภาพกับคา ศัพท์ และทา การบันทึกคะแนนการทา แบบทดสอบของนักเรียนในแต่ละสัปดาห์ ผู้วิจัยได้วางแผนดา เนินการศึกษา สร้างแบบทดสอบการจา คา ศัพท์ โดยยึดคา ศัพท์ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และได้ดา เนินการซึ่งมีรายละเอียดเป็นขั้นตอนดังนี้ ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) 1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กา หนดไวดั้งนี้ กลุม่ตัวอยา่ง คือนักเรียนชั้น ปวช.ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย มีจา นวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 49 คน 1.2 วิเคราะห์สภาพปัญหาการเรียน การสอนในแตล่ะคาบเรียน โดยการรวบรวมข้อมูล การสังเกตของผู้วิจัย 1.3 ศึกษาข้อมูลจากการสังเกตการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 รหัสวิชา 2000 – 9208 ชั้นปวช. 2 / 3 แล้วสรุปปัญหาการเรียนการสอนหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงพัฒนา 1.4 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทา การวิจัยในชั้นเรียน 1.5 กา หนดกรอบโครงร่างในการพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ญี่ปุ่น 2. ขั้นดาเนินการ 2.1 เตรียม / ค้นควา้อุปกรณ์ที่จะใช้สร้างสื่อรูปภาพและค้นหารูปภาพที่เกี่ยวกบัคา ศัพท์แต่ละหมวด 2.2 สร้างสื่อรูปภาพประกอบคา ศัพท์ประกอบด้วย คา ศัพท์จา นวน 5 หมวด คือ
  • 15. หมวดที่ 1 เรื่อง きょしつ หมวดที่ 2 เรื่อง しき หมวดที่ 3 เรื่อง スーパーマーケツト หมวดที่ 4 เรื่อง 見につけるもの หมวดที่ 5 เรื่อง レストラン 2.3 นาสื่อรูปภาพคา ศัพท์แตล่ะหมวดไปทดลองใช้กบันักเรียนในกลุ่มเป้าหมาย โดยเริ่มจากหมวดแรกคือ เรื่องสภาพอากาศ ให้นักเรียนดูภาพแล้วบอกความหมาย ออกเสียงคา ศัพท์และเขียนตัวอักษรเป็นภาษาญี่ปุ่น ควบคู่กบัภาพที่ปรากฏ จนครบจา นวนคา ศัพท์และให้นักเรียนบอกความหมายของรูปภาพทีละคน จากนั้นก็จะเริ่มตอ่ด้วยหมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 และหมวดที่ 5 ตามลา ดับ ซึ่งแตล่ะหมวดนั้นจะใช้จนกวา่นักเรียน จะสามารถจา ศัพท์ให้มากที่สุด 2.4 รวบรวมข้อมูลจากการทดลองการใช้สื่อรูปภาพวา่ นักเรียนแตล่ะคนสามารถจา ศัพท์จากรูปภาพได้ กี่คา ในจา นวนคา ศัพท์ทั้งหมด 2.5 วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ทดสอบการใช้สื่อรูปภาพแตล่ะชุด โดยการนาข้อมูลจากการทดลองมาเพื่อดูและเปรียบเทียบพัฒนาการจากการใช้สื่อรูปภาพ 3. ขั้นการสรุปผลและเผยแพร่ 3.1 เขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยการใช้สื่อรูปภาพเพื่อชว่ยจาของนักเรียนระดับชั้นปวช . 2 ห้อง 3 3.2 นาผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ไปพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นและเผยแพร่ผู้ที่สนใจตอ่ไป บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ก า ร วิจัย เ รื่อ ง ก า ร พัฒ น า ค ว า มส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จ า ศัพ ท์ภ า ษ า ญี่ปุ่น โ ด ย ใ ช้สื่อ รูป ภ า พ ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังตารางตอ่ไปนี้ ตารางแสดงความสามารถจาคาศัพท์ของนักเรียน 49 คน จากทั้งหมด 5 หมวด รายชื่อนักเรียน หมวดที่ 1 จา นวน 5คา หมวดที่ 2 จา นวน 5 คา หมวดที่ 3 จา นวน 5 คา หมวดที่ 4 จา นวน 5 คา หมวดที่ 5 จา นวน 5 คา รวมจา นวน ศัพท์ที่จา ได้ นายอนุกูล ก๋าใจ 3 4 3 5 3 18 นายมงคล เทียบแสน 3 4 4 3 4 18 น.ส.ณัฐชา อุตมาณ 4 3 3 4 4 18 น.ส.นัฐทิชา โคตรอาสา 4 3 3 4 3 17
  • 16. นายจักรพันธ์ อะภัย 3 3 4 3 4 17 น.ส.จารุภา สารวมจิต 3 4 4 4 3 18 น.ส.เจกิตาน์ แกว้คา สอน 5 4 5 4 5 23 น.ส.ศิริมาศ ออ่นพรม 3 4 4 3 5 19 น.ส.วาสนา ขจร 4 4 5 4 4 17 นายกฤษณพงศ์ อุณารักษ์ 3 3 3 4 4 17 นายนิติพัฒน์ 3 3 3 3 4 16 นายวิชญะ สะตะ 2 3 4 3 3 15 น.ส.ชนิษฐา เคณาสิงห์ 3 4 4 3 4 18 น.ส.วิลัยลักษณ์ สุบิน 2 3 2 3 3 13 น.ส.สุวนันท์ ใคร่วิชัย 3 3 4 4 5 19 น.ส.สุธิดา สุขธรรม 3 4 4 4 5 20 น.ส.มะลิวลัย์ สมสิงห์ 2 3 4 4 4 17 น.ส.ภัทรพร หาญธงชัย 3 3 3 3 3 15 น.ส.ปิ่นมณี รัตนมงคล 3 3 4 4 4 18 น.ส.ประภาพร ศรีทอง 4 4 5 5 4 22 น.ส.นิพาพร เครือแกว้ 3 3 4 4 4 18 น.ส.นัธริกา ผาระนัตร 4 4 4 4 4 20 นายจิรภัทร กลัยานาม 5 5 5 5 5 25 นายศิริพงษ์ บัวบาล 2 3 2 3 4 14 น.ส.กมลวรรณ สมสนุก 4 4 5 4 4 21 น.ส.เกวลิน แผ้วชมภู 3 3 3 4 3 16 น.ส.นรินทร หล้าสา 3 4 4 3 3 17 น.ส.นัทธมน 3 3 3 4 3 16 น.ส.ปิยะพร โสภิณธุ์ 4 4 3 3 4 18 น.ส.ภนีย์นาฎ 4 4 3 5 4 20 น.ส.สุจิตรา นาโคตร 4 4 5 4 5 22 น.ส.สุภาภรณ์ 4 4 4 4 3 19 น.ส.อทิตยา วานิช 5 5 5 4 5 24 น.ส.อุไรวรรณ 4 4 3 4 4 19 นายพงษ์อิศรา 2 3 4 5 4 18 น.ส.สุภาพร 4 4 3 3 4 18
  • 17. นายสุชัจจ์ 4 4 4 4 4 20 น.ส.จิราพร ชินบุตร 4 4 4 5 4 21 น.ส.เปรมวดี 4 3 4 3 4 18 น.ส.จันจิรา จัตกุล 4 4 4 3 5 20 นายรุ่งนิรันดร์ 4 4 3 3 4 18 นายอธิษฐ์ 3 4 4 4 3 18 น.ส.อทิตตยา 4 3 3 3 4 17 น.ส.เจนจิรา 4 4 4 3 4 19 น.ส.วราภรณ์ 3 4 4 5 4 20 น.ส.ชนิดาภา 4 4 4 4 4 20 น.ส.สุทธิดา 3 3 3 3 3 15 นายพันธกานต์ 3 4 3 4 4 18 น.ส.วรัชยา 4 3 3 4 3 17 เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม จา คา ศัพท์ได้ 20 – 25 คา หมายถึง ดีมาก จา คา ศัพท์ได้ 15 – 19 คา หมายถึง ดี จา คา ศัพท์ได้ 10 – 14 คา หมายถึง พอใช้ จา คา ศัพท์ได้ 5 – 9 คา หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ผ่านระดับ ดี บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการจา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นโดยใช้สื่อรูปภาพ” ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 2/3 สาขาวิชา ภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย จา นวนทั้งหมด 49 คน สรุปผลการวิจัย จากการวิจัยการพัฒนาความสามารถในการจา คา ศัพท์ภาษาญี่ปุ่น โดยการใช้สื่อรูปภาพสาหรับ นักเรียนระดับชั้น ปวช. 2/3 สาขาภาษาตา่งประเทศ ทา ให้นักเรียนมีความสามารถในการจา คา ศัพท์มากขึ้น กล้าแสดงออกหน้าชั้นเรียนและมีการพัฒนาด้านการอา่นภาษาญี่ปุ่นได้ถูกต้องมากขึ้น มีเจตคติที่ดีตอ่วิชา ภาษาญี่ปุ่น ทั้งนี้ นักเรียนยังมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 ได้ดีขึ้น
  • 18. ข้อเสนอแนะ เนื่องจากภาษาญี่ปุ่นนั้นมีความยากในเนื้อหาทั้งไวยากรณ์และการอา่นออกเสียง จา เป็นอยา่งยิ่งที่ผู้เรียนนั้นต้องพัฒนาตนเองและฝึกฝนทักษะการคิด วิเคราะห์ จา หลักการของภาษาญี่ปุ่นให้ลึกซึ้งอยูเ่สมอ และคา ศัพท์บางคา นั้นไมส่ามารถใช้ภาพได้ ต้องจินตนาการด้วยความละเอียด รอบคอบ การใช้ภาพเป็นเพียงบางส่วนในวิธีการเทา่นั้น
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. ประวัติย่อผู้วิจัย ชื่อ – นามสกุล นายกฤษฎิน ยอดคา ตัน วัน เดือน ปีเกิด 5 กรกฎาคม 2529 ทอี่ยู่ปัจจุบัน 48 หมู่2 บ้านเดื่อ ตา บลบ้านเดื่อ อา เภอเมือง จังหวดัหนองคาย 43000 เบอร์โทรทสี่ามารถติดต่อได้ 086-2544842 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2552 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี พ.ศ. 2547 สาเร็จการศึกษาระดับมธัยมศึกษาตอนปลาย ( ม.6 ) จากโรงเรียนปรางค์กู่ อา เภอปรางค์กู่ จังหวดัศรีสะเกษ พ.ศ. 2544 สาเร็จการศึกษาระดับมธัยมศึกษาตอนต้น ( ม.3 ) จากโรงเรียนบ้านตาเปียง ตา บลสาโรงปราสาท อา เภอปรางค์กู่ จังหวดัศรีสะเกษ ปัจจุบัน ประวัติการทา งาน ปัจจุบัน ตา แหน่ง ครูสอนภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดัหนองคาย พ.ศ. 2555 – 2556 ตา แหน่ง ครูสอนภาษาตา่งประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอุดรธานี จังหวดัอุดรธานี พ.ศ. 2553 – 2554 ตา แหน่ง Night Auditor, Sea San Sun Hotel, Pattaya