SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
โครงการพัฒนาพืนที่ป่าขุนแม่กวง
               ้
อันเนืองมาจากพระราชดาริ
      ่
ความเป็นมา

     เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสร็จพระราชดาเนิน
การดาเนินงานของศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และได้พระราชทานพระราชดาริให้พัฒนาพื้นที่
ป่าแม่ขุนกวง ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าขุนแม่กวง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัด
เชียงใหม่โดยสรุปได้ดังนี้
    โดยพิจารณาดาเนินการพัฒนาพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวงพื้นที่จาก
หมู่บ้าน ศาลา ปางสัก ตาบลเชิงดอย อาเภอดอยสะเก็ดไปจดขอบอ่างน้าแม่กวง ซึ่ง
ได้มีการดาเนินการให้ราษฎรทากินเป็นการชั่วคราว ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ แต่ยังมี
การบุกรุกของราษฎรดังนั้นควรจะได้มีการปรับปรุงให้เป็นพื้นที่ต้นน้าลาธาร มี
ความชุ่มชื้น สามารถทากินได้
ความเป็นมา
        ทรงรับสั่งให้กรมป่าไม้ดาเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาปลูกป่าไม้
โดยให้ปลูกไม้ที่ให้ความชุ่มชื้นเป็นหลักให้พยายามปลูกไม้ที่ไม่ผลัดใบ สาหรับ
พื้นที่ใดที่ไม่สามารถปลูกได้ให้จักปลูกพันธุ์ไม้ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่
หรือปลูกไม้ยูคาลิปตัส และให้กรมชลประทานจัดหาแหล่งน้า โดยใช้น้าจากน้าแม่
ลายและทาให้เป็นอ่างเก็บน้าขนาดเล็กในพื้นที่จาเป็นและทา Check Dam เป็นจุดๆ
เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นเช่นเดียวกัน สาหรับหมู่บ้านหรือราษฎรที่อาศัยอยู่ก่อนแล้วก็
ควรพิจารณาให้อยู่อาศัยหรือทากินต่อไป โดยมีการควบคุมของเจ้าหน้าที่และไม่ให้มี
การบุกรุกเพิ่มเติม แต่ไม่ควรจะเกิน 100 ครอบครัว และห้ามให้มีการบุกรุกเพิ่ม
ความเป็นมา
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นทีป่าขุนแม่ก
                                                                                   ่
วง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้
1.ให้พิจารณาดาเนินการพัฒนาพื้นที่ปาสงวนแห่งชาติป่าขุนแมกวง โดยให้แบ่งพืนที่ดาเนินการ
                                      ่                                        ้
เป็น 3 ระยะคือ
   1.1) ระยะที่ 1 พื้นที่ดาเนินการมีขอบเขตทางด้านทิศเหนือของศูนย์ศึกษาการ พัฒนาห้วยฮ่อง
ไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ขึ้นไปจนจรดขอบอ่างเก็บ น้าแม่กวง รวมเนื้อที่ประมาณ
30,000 ไร่
  1.2) ระยะที่ 2 พื้นที่ดาเนินการมีขอบเขตต่อจากระยะที่ 1 ขึ้นไปทางด้านทิศเหนือจนจรดอาเภอ
แม่แตง และอาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ รวมเนื้อที่อีกประมาณ 70,000 ไร่
  1.3) ระยะที่ 3 ดาเนินงานในพืนทีส่วนที่เหลือในเขตลุ่มน้าแม่กวง มีพื้นที่ดาเนินการอีกประมาณ
                                 ้ ่
245,000 ไร่ ต่อจากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ไปทางด้านตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่อาเภอดอย
สะเก็ด จนจรดพื้นที่อาเภอสันกาแพง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และอาเภอแม่แจ้ห่ม
จังหวัดลาปาง
ความเป็นมา

2. แนวทางการพัฒนาพื้นที่ได้พระราชทานไว้ดังนี้
  2.1) พิจารณาคัดเลือกพื้นทีเหมาะสมจัดให้แก่ราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่
โครงการก่อนแล้วทากินเพื่อการเกษตรไม่ให้มีการบุกรุกป่าเพิ่มเติม
  2.2) เร่งรัดให้มีการปลูกป่าในพื้นที่ที่ถูกทาลาย ฟื้นฟูแหล่งต้นน้าลาธาร
  2.3) พิจารณาดาเนินการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ที่สมบูรณ์ และมีมาตรการ ป้องกันรักษาป่าที่
เหมาะสม
  2.4) พิจารณาสร้างฝายต้นน้าลาธารกระจายพื้นที่โครงการ เพื่อเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่พื้นที่ป่า
และจัดหาน้าสนับสนุนโครงการตามความเหมาะสม
2.5) พิจารณาให้ปลูกหญ้าแฝกเพื่อเป็นกาแพงป้องกันไม่ให้สารพิษลงอ่างเก็บน้าตามบริเวณที่
ก่อสร้างฝายต้นน้าลาธาร
ที่ตั้งของโครงการและข้อมูลพื้นฐาน

พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวง ต.ป่าเมี่ยง ต.เทพเสด็จ ต.ลวงเหนือ ต.เชิง
ดอย อ.ดอยสะเก็ด ต.ห้วยแก้ว อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ พื้นที่โครงการ 345,000
ไร่
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1) เพื่อป้องกันรักษาป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์อยู่ให้เป็นแหล่งต้นน้้าล้าธาร และที่อยู่
อาศัยของสัตว์ป่ามิให้ถูกท้าลาย ตลอดจนรักษาสภาพแวดล้อม และฟื้นฟูสภาพป่าที่
ถูกท้าลายจนเสื่อมโทรมให้คืนสู่สภาพป่าที่สมบูรณ์ดังเดิม
2) เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่เหมาะสม ส้าหรับราษฎรที่อาศัยอยู่ในป่าสงวน
แห่งชาติในพื้นที่โครงการ ตลอดจนการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานที่จ้าเป็นในด้านแหล่งน้้า
และที่ดินท้ากิน
3) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรในพื้นที่โครงการให้สูงขึ้น สามารถ
ด้ารงชีพอยู่ได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น
4) เพื่อน้าผลการศึกษาและวิจัยของศูนย์ศึกษาธิการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อัน
เนื่องมาจากพระราชด้าริ อ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ที่เหมาะสมมาขยายผล
ในการพัฒนา และให้บริการแก่ราษฎรในพื้นที่โครงการ
เป้าหมายของโครงการ

1) ป้องกันรักษาป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์อยู่แล้ว พื้นที่ 262,000 ไร่ ให้คงสภาพป่า
ที่สมบูรณ์ต่อไป
2) ฟื้นฟูปรับปรุง และพัฒนาป่าไม้ที่เสื่อมโทรม จานวนประมาณ 46,000 ไร่ ให้
มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ต่อไป
3) จัดและพัฒนาที่ดินทากินให้แก่ราษฎร ประมาณ 1,360 ไร่ พัฒนาและส่งเสริม
อาชีพที่เหมาะสม ทั้งในด้านการเกษตร และนอกการเกษตร เพื่อให้ราษฎรมี
ระดับการครองชีพที่ดีขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถป้องกันป่าไม่ที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่แล้ว ให้คงสภาพที่สมบูรณ์ต่อไป
2 สามารถฟื้นฟูปรับปรุงและพัฒนาป่าไม้ที่เสื่อมโทรม ให้เป็นสภาพป่าที่
สมบูรณ์ต่อไป
3 สามารถทาการจัดและพัฒนาที่ดินทากินให้แก่ราษฎรได้ ในเขตพื้นที่
โครงการฯ สามารถทาการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสม ทั้งในด้าน
การเกษตร และนอกการเกษตรให้แก่ราษฎร เพื่อการครองชีพที่ดีขึ้น
ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ
        การปลูกป่าที่มีความชุ่มชื้นสูงให้ปลูกต้นไม้ที่ไม่ผลัดใบ เช่น ต้นตะแบก
 เป็นพันธุ์ไม้ของป่าเบญจพรรณชื้นเจริญเติบโตในที่ชุ่มชื้น ทาให้ป่าไม้อยู่ได้
 ยั่งยืนเนื่องจากบริเวณป่าไม้เป็นบริเวณที่ชุ่มชื้น
        การปลูกต้นยูคาลิปตัสในพื้นที่ที่มีความชุ่มชื้นน้อยเนื่องจากต้นยูคาลิปตัส
 นั้น สามารถปลกได้ในสภาพพื้นดินที่แห้งแล้ง ช่วยให้เกิดความสมดุลตาม
 ธรรมชาติ เพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่พื้นที่เนื่องจาก ปริมาณน้าที่ต้นไม้ยูคาลิปตัส
 ดูดขึ้นไปคายน้าออกทางใบ เป็นปริมาณกว่า 95% มีส่วนช่วยทาให้ฝนตก
 ก่อให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารในดิน
ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ
   ทฤษฏีการกระจายตัวของประชากร(Dispersion)
        แบบการกระจายตัวเป็นกลุ่มอยู่กนอย่างอิสระภายในกลุ่มเพื่อความอยูรอดของประชากร
                                         ั                                ่
   ให้มากที่สุดเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันซึ่งเป็นไปตามหลักการของ แอลลี(Allee’s principle)ที่
   จานวนประชากรต้องมีพอเหมาะไม่มากจนเกินไปหรือน้อยจนเกินไปซึ่งเป็นไปตามข้อกาหนด
   สาหรับหมู่บ้านหรือราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ก่อนหน้านีแล้วให้ทากินต่อไปโดยให้เจ้าหน้าที่
                                                             ้
   ป่าไม้ควบคุมดูแลไม่ให้มีการบุกรุกพื้นที่เพิ่มเติมแต่ไม่ควรเกิน100ครอบครัว เพื่อจะทาให้
   ประชากรได้ดารงชีวิตอย่างเพียงพอต่อความต้องการเพราะ ถ้ามีประชากรน้อยเกินไปจะทาให้
   สภาพแวดล้อมอยู่ในสภาวะที่ไม่สมดุลเนื่องจากการเปลียนแปลงสิ่งแวดล้อมสูง หรือถ้ามี
                                                           ่
   ประชากรมากเกินไปจะทาให้เกิดการแก่งแย่งจนทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมเนื่องจากการ
   บุกรุกพื้นที่ป่า การหาอาหาร ล่าสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น
ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ
     การปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินและการปลูกหญ้าแฝกผสมกับ
 ฝ่ายหิน(Check Dam) ช่วยลดการพังทลายของดินและลดความรุนแรงของกระแสน้าในลา
 ห้วย ทาให้ระยะเวลาการไหลของน้าเพิ่มมากขึ้น ความชุ่มชื้นมีเพิ่มขึ้น และแผ่ขยายกระจาย
 ความชุ่มชื้นออกไปเป็นวงกว้างในพืนที่ทงสองฝั่งของลาห้วย
                                 ้ ั้
ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ

      Check Dam หรือ “ฝายชะลอความชุ่มชื้น” ซึ่งในโครงการสร้างไว้หลายจุดเพื่อ ขวางกัน   ้
   ทางเดินของลาน้า ซึ่งจะกั้นห้วยลาธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้าหรือพื้นที่ที่มความลาด
                                                                                  ี
   ชัน สูงทาให้สามารถดารงชีพอยู่ได้ และหากช่วงที่น้าไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน้า
   ให้ช้าลงและกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลเทลงไป ในบริเวณลุ่มน้าตอนล่าง
       เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพให้แก่พื้นที่ จากการที่ความชุ่มชื้นเพิ่มมากขึ้น ความ
   หนาแน่นของพันธุพืชก็ย่อมจะมีมากขึ้น
                     ์
      การที่สามารถทาให้เกิดเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า และใช้เป็นแหล่งน้าเพื่อการบริโภคของ
   มนุษย์และสัตว์ต่างๆ ตลอดจนนาไปใช้ในการเกษตรได้อีกด้วย
จัดทาโดย


 นางสาวกัลปนา อินปันใจ รหัส 53181520102
นางสาวพรรณนิดา สายมัน รหัส 53181520127
  สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา(ชีววิทยา) ชั้นปีที่ 3

More Related Content

Similar to โครงการในพระราชดำร (1)

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคตSnook12
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 
โครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยโครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยNattamonnew
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGiiGx Giuseppina
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยnatsuda_naey
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...Dr.Choen Krainara
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์Nutchy'zz Sunisa
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีfernsupawade
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 

Similar to โครงการในพระราชดำร (1) (20)

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคต
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 
โครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัยโครงการบรรเทาอุทกภัย
โครงการบรรเทาอุทกภัย
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
254 8
254 8254 8
254 8
 

More from DekDoy Khonderm

อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่DekDoy Khonderm
 
วิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นวิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นDekDoy Khonderm
 
รูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzawรูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ JigzawDekDoy Khonderm
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 

More from DekDoy Khonderm (6)

อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่อังกฤษใหม่
อังกฤษใหม่
 
วิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่นวิทย์ท้องถิ่น
วิทย์ท้องถิ่น
 
รูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzawรูปแบบ Jigzaw
รูปแบบ Jigzaw
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 

โครงการในพระราชดำร (1)

  • 1. โครงการพัฒนาพืนที่ป่าขุนแม่กวง ้ อันเนืองมาจากพระราชดาริ ่
  • 2. ความเป็นมา เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสร็จพระราชดาเนิน การดาเนินงานของศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และได้พระราชทานพระราชดาริให้พัฒนาพื้นที่ ป่าแม่ขุนกวง ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าขุนแม่กวง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่โดยสรุปได้ดังนี้ โดยพิจารณาดาเนินการพัฒนาพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวงพื้นที่จาก หมู่บ้าน ศาลา ปางสัก ตาบลเชิงดอย อาเภอดอยสะเก็ดไปจดขอบอ่างน้าแม่กวง ซึ่ง ได้มีการดาเนินการให้ราษฎรทากินเป็นการชั่วคราว ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ แต่ยังมี การบุกรุกของราษฎรดังนั้นควรจะได้มีการปรับปรุงให้เป็นพื้นที่ต้นน้าลาธาร มี ความชุ่มชื้น สามารถทากินได้
  • 3. ความเป็นมา ทรงรับสั่งให้กรมป่าไม้ดาเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาปลูกป่าไม้ โดยให้ปลูกไม้ที่ให้ความชุ่มชื้นเป็นหลักให้พยายามปลูกไม้ที่ไม่ผลัดใบ สาหรับ พื้นที่ใดที่ไม่สามารถปลูกได้ให้จักปลูกพันธุ์ไม้ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ หรือปลูกไม้ยูคาลิปตัส และให้กรมชลประทานจัดหาแหล่งน้า โดยใช้น้าจากน้าแม่ ลายและทาให้เป็นอ่างเก็บน้าขนาดเล็กในพื้นที่จาเป็นและทา Check Dam เป็นจุดๆ เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นเช่นเดียวกัน สาหรับหมู่บ้านหรือราษฎรที่อาศัยอยู่ก่อนแล้วก็ ควรพิจารณาให้อยู่อาศัยหรือทากินต่อไป โดยมีการควบคุมของเจ้าหน้าที่และไม่ให้มี การบุกรุกเพิ่มเติม แต่ไม่ควรจะเกิน 100 ครอบครัว และห้ามให้มีการบุกรุกเพิ่ม
  • 4. ความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นทีป่าขุนแม่ก ่ วง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้ 1.ให้พิจารณาดาเนินการพัฒนาพื้นที่ปาสงวนแห่งชาติป่าขุนแมกวง โดยให้แบ่งพืนที่ดาเนินการ ่ ้ เป็น 3 ระยะคือ 1.1) ระยะที่ 1 พื้นที่ดาเนินการมีขอบเขตทางด้านทิศเหนือของศูนย์ศึกษาการ พัฒนาห้วยฮ่อง ไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ขึ้นไปจนจรดขอบอ่างเก็บ น้าแม่กวง รวมเนื้อที่ประมาณ 30,000 ไร่ 1.2) ระยะที่ 2 พื้นที่ดาเนินการมีขอบเขตต่อจากระยะที่ 1 ขึ้นไปทางด้านทิศเหนือจนจรดอาเภอ แม่แตง และอาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ รวมเนื้อที่อีกประมาณ 70,000 ไร่ 1.3) ระยะที่ 3 ดาเนินงานในพืนทีส่วนที่เหลือในเขตลุ่มน้าแม่กวง มีพื้นที่ดาเนินการอีกประมาณ ้ ่ 245,000 ไร่ ต่อจากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ไปทางด้านตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่อาเภอดอย สะเก็ด จนจรดพื้นที่อาเภอสันกาแพง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และอาเภอแม่แจ้ห่ม จังหวัดลาปาง
  • 5. ความเป็นมา 2. แนวทางการพัฒนาพื้นที่ได้พระราชทานไว้ดังนี้ 2.1) พิจารณาคัดเลือกพื้นทีเหมาะสมจัดให้แก่ราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ โครงการก่อนแล้วทากินเพื่อการเกษตรไม่ให้มีการบุกรุกป่าเพิ่มเติม 2.2) เร่งรัดให้มีการปลูกป่าในพื้นที่ที่ถูกทาลาย ฟื้นฟูแหล่งต้นน้าลาธาร 2.3) พิจารณาดาเนินการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ที่สมบูรณ์ และมีมาตรการ ป้องกันรักษาป่าที่ เหมาะสม 2.4) พิจารณาสร้างฝายต้นน้าลาธารกระจายพื้นที่โครงการ เพื่อเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่พื้นที่ป่า และจัดหาน้าสนับสนุนโครงการตามความเหมาะสม 2.5) พิจารณาให้ปลูกหญ้าแฝกเพื่อเป็นกาแพงป้องกันไม่ให้สารพิษลงอ่างเก็บน้าตามบริเวณที่ ก่อสร้างฝายต้นน้าลาธาร
  • 6. ที่ตั้งของโครงการและข้อมูลพื้นฐาน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวง ต.ป่าเมี่ยง ต.เทพเสด็จ ต.ลวงเหนือ ต.เชิง ดอย อ.ดอยสะเก็ด ต.ห้วยแก้ว อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ พื้นที่โครงการ 345,000 ไร่
  • 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อป้องกันรักษาป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์อยู่ให้เป็นแหล่งต้นน้้าล้าธาร และที่อยู่ อาศัยของสัตว์ป่ามิให้ถูกท้าลาย ตลอดจนรักษาสภาพแวดล้อม และฟื้นฟูสภาพป่าที่ ถูกท้าลายจนเสื่อมโทรมให้คืนสู่สภาพป่าที่สมบูรณ์ดังเดิม 2) เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่เหมาะสม ส้าหรับราษฎรที่อาศัยอยู่ในป่าสงวน แห่งชาติในพื้นที่โครงการ ตลอดจนการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานที่จ้าเป็นในด้านแหล่งน้้า และที่ดินท้ากิน 3) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรในพื้นที่โครงการให้สูงขึ้น สามารถ ด้ารงชีพอยู่ได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น 4) เพื่อน้าผลการศึกษาและวิจัยของศูนย์ศึกษาธิการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อัน เนื่องมาจากพระราชด้าริ อ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ที่เหมาะสมมาขยายผล ในการพัฒนา และให้บริการแก่ราษฎรในพื้นที่โครงการ
  • 8. เป้าหมายของโครงการ 1) ป้องกันรักษาป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์อยู่แล้ว พื้นที่ 262,000 ไร่ ให้คงสภาพป่า ที่สมบูรณ์ต่อไป 2) ฟื้นฟูปรับปรุง และพัฒนาป่าไม้ที่เสื่อมโทรม จานวนประมาณ 46,000 ไร่ ให้ มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ต่อไป 3) จัดและพัฒนาที่ดินทากินให้แก่ราษฎร ประมาณ 1,360 ไร่ พัฒนาและส่งเสริม อาชีพที่เหมาะสม ทั้งในด้านการเกษตร และนอกการเกษตร เพื่อให้ราษฎรมี ระดับการครองชีพที่ดีขึ้น
  • 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 สามารถป้องกันป่าไม่ที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่แล้ว ให้คงสภาพที่สมบูรณ์ต่อไป 2 สามารถฟื้นฟูปรับปรุงและพัฒนาป่าไม้ที่เสื่อมโทรม ให้เป็นสภาพป่าที่ สมบูรณ์ต่อไป 3 สามารถทาการจัดและพัฒนาที่ดินทากินให้แก่ราษฎรได้ ในเขตพื้นที่ โครงการฯ สามารถทาการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสม ทั้งในด้าน การเกษตร และนอกการเกษตรให้แก่ราษฎร เพื่อการครองชีพที่ดีขึ้น
  • 10. ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ การปลูกป่าที่มีความชุ่มชื้นสูงให้ปลูกต้นไม้ที่ไม่ผลัดใบ เช่น ต้นตะแบก เป็นพันธุ์ไม้ของป่าเบญจพรรณชื้นเจริญเติบโตในที่ชุ่มชื้น ทาให้ป่าไม้อยู่ได้ ยั่งยืนเนื่องจากบริเวณป่าไม้เป็นบริเวณที่ชุ่มชื้น การปลูกต้นยูคาลิปตัสในพื้นที่ที่มีความชุ่มชื้นน้อยเนื่องจากต้นยูคาลิปตัส นั้น สามารถปลกได้ในสภาพพื้นดินที่แห้งแล้ง ช่วยให้เกิดความสมดุลตาม ธรรมชาติ เพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่พื้นที่เนื่องจาก ปริมาณน้าที่ต้นไม้ยูคาลิปตัส ดูดขึ้นไปคายน้าออกทางใบ เป็นปริมาณกว่า 95% มีส่วนช่วยทาให้ฝนตก ก่อให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารในดิน
  • 11. ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ ทฤษฏีการกระจายตัวของประชากร(Dispersion) แบบการกระจายตัวเป็นกลุ่มอยู่กนอย่างอิสระภายในกลุ่มเพื่อความอยูรอดของประชากร ั ่ ให้มากที่สุดเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันซึ่งเป็นไปตามหลักการของ แอลลี(Allee’s principle)ที่ จานวนประชากรต้องมีพอเหมาะไม่มากจนเกินไปหรือน้อยจนเกินไปซึ่งเป็นไปตามข้อกาหนด สาหรับหมู่บ้านหรือราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ก่อนหน้านีแล้วให้ทากินต่อไปโดยให้เจ้าหน้าที่ ้ ป่าไม้ควบคุมดูแลไม่ให้มีการบุกรุกพื้นที่เพิ่มเติมแต่ไม่ควรเกิน100ครอบครัว เพื่อจะทาให้ ประชากรได้ดารงชีวิตอย่างเพียงพอต่อความต้องการเพราะ ถ้ามีประชากรน้อยเกินไปจะทาให้ สภาพแวดล้อมอยู่ในสภาวะที่ไม่สมดุลเนื่องจากการเปลียนแปลงสิ่งแวดล้อมสูง หรือถ้ามี ่ ประชากรมากเกินไปจะทาให้เกิดการแก่งแย่งจนทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมเนื่องจากการ บุกรุกพื้นที่ป่า การหาอาหาร ล่าสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น
  • 12. ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ การปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินและการปลูกหญ้าแฝกผสมกับ ฝ่ายหิน(Check Dam) ช่วยลดการพังทลายของดินและลดความรุนแรงของกระแสน้าในลา ห้วย ทาให้ระยะเวลาการไหลของน้าเพิ่มมากขึ้น ความชุ่มชื้นมีเพิ่มขึ้น และแผ่ขยายกระจาย ความชุ่มชื้นออกไปเป็นวงกว้างในพืนที่ทงสองฝั่งของลาห้วย ้ ั้
  • 13. ทฤษฎีที่เชื่อมโยงทางระบบนิเวศ Check Dam หรือ “ฝายชะลอความชุ่มชื้น” ซึ่งในโครงการสร้างไว้หลายจุดเพื่อ ขวางกัน ้ ทางเดินของลาน้า ซึ่งจะกั้นห้วยลาธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้าหรือพื้นที่ที่มความลาด ี ชัน สูงทาให้สามารถดารงชีพอยู่ได้ และหากช่วงที่น้าไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน้า ให้ช้าลงและกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลเทลงไป ในบริเวณลุ่มน้าตอนล่าง เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพให้แก่พื้นที่ จากการที่ความชุ่มชื้นเพิ่มมากขึ้น ความ หนาแน่นของพันธุพืชก็ย่อมจะมีมากขึ้น ์ การที่สามารถทาให้เกิดเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า และใช้เป็นแหล่งน้าเพื่อการบริโภคของ มนุษย์และสัตว์ต่างๆ ตลอดจนนาไปใช้ในการเกษตรได้อีกด้วย
  • 14. จัดทาโดย นางสาวกัลปนา อินปันใจ รหัส 53181520102 นางสาวพรรณนิดา สายมัน รหัส 53181520127 สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา(ชีววิทยา) ชั้นปีที่ 3