SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 4
การศึกษาปฐมวัยในเอเชีย
แผนการสอนประจาบท
1. จุดหมายการเรียนรู้
1. เพื่อให้สามารถอธิบายการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้
2. เพื่อให้สามารถอธิบายหลักการรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่าง
ประเทศได้
3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้
4. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยใน
ต่างประเทศได้
2. สาระการเรียนรู้
1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น
2. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอล
3. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย
4. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย
5. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
6. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ
7. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย
8. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
9. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนรายวิชา
2. อภิปราย ซักถาม สรุปจากสไลด์ (Power point)
3. ศึกษาเอกสารการสอนและตาราที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งสรุปสาระสาคัญ
4. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า การจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศ
5. วิเคราะห์ลักษณะเด่น ลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยในแต่ละ
ประเทศ
4. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาปฐมวัย
80
2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point)
3. หนังสือ ตารา งานวิจัย
4. เว็บไซต์อาจารย์ Internet
5. การประเมินผล
1. ผลการนาเสนอศึกษาค้นคว้าเอกสารรายงาน
2. ผลการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าทาง internet
3. ผลการวิเคราะห์ลักษณะเด่นลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยของ
แต่ละประเทศ
4. แบบทดสอบ และแบบฝึกหัดท้ายบท
81
บทที่ 4
การศึกษาปฐมวัยในเอเชีย
การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียได้มีการพัฒนาขึ้นมากในหลาย
ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น อิสราเอล รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยบางอย่างสามารถเป็น
ตัวอย่างที่ดี และเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษา
ระดับปฐมวัยในทวีปเอเชียได้ให้ความสาคัญของเด็กปฐมวัยมาก โดยประเด็นสาคัญเน้น
การเตรียมความพร้อมให้เด็กที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยแบ่ง
พัฒนาการได้ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ก่อนที่
จะเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อไปแต่ทั้งนี้การจัดการศึกษาของแต่ละประเทศอาจมีจุดเน้นที่
แตกต่างกันออกไปบ้างตามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การจัดการศึกษา ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง การปกครองวัฒนธรรม ปรัชญา ความเชื่อทางศาสนา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะมี
อิทธิพลต่อการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของประเทศต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกันไปจน
เกิดเป็นอัตลักษณ์ที่สาคัญ แต่ในบทนี้จะขอกล่าวถึงการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของ
ประเทศในเอเชีย 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอิสราเอล และประเทศมาเลเซีย
ประเด็นที่สาคัญที่จะกล่าวถึงในการจัดการศึกษามีดังนี้
1. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย
2. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
3. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ
4. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
6. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศแถบเอเชียหลายประเทศมีความเจริญก้าวหน้า
จนเป็นที่ยอมรับทั้งทั่วโลก เช่น ญี่ปุ่น อิสราเอล เป็นต้น การจัดแต่ละประเทศมีลักษณะ
เฉพาะที่แตกต่างกันส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความเชื่อประเพณีวัฒนธรรมโดยมีรายละเอียดดังนี้
การศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่น
ประภาพรรณ สุวรรณสุข. (2539 : 69) ได้กล่าวถึงการศึกษาปฐมวัยในประเทศ
ญี่ปุ่นว่า ประเทศญี่ปุ่นได้จัดการศึกษาระดับปฐมวัยและได้แบ่งสถาบันการศึกษาของเด็ก
ก่อนวัยเรียนออกเป็น 2 รูปแบบคือ
82
1. สถานรับเลี้ยงเด็ก อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และการดูแลของกระทรวงสาธารณสุข
และการสงเคราะห์ โดยรับเด็กที่แม่ต้องออกไปทางานนอกบ้านรับเด็กตั้งแต่อายุระหว่าง
แรกเกิดถึง 6 ปี
2. โรงเรียนอนุบาล อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และการดูแลของกระทรวงศึกษาธิการรับ
เด็กอายุระหว่างอายุ 3 – 6 ปี
เนื่องจากสถาบันการศึกษาของเด็กปฐมวัยทั้ง 2 รูปแบบนี้ มีประวัติความเป็นมาใน
การจัดการศึกษา หลักสูตร หน่วยงานที่จัดดาเนินงาน และบุคลากรที่รับผิดชอบดาเนินการ
จัดการศึกษาแตกต่างกันไป เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้นจึงขอเสนอการพัฒนา
การศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นแบ่งตามลักษณะของสถาบันดังนี้
1. ประวัติการจัดการศึกษาปฐมวัย
ประภาพรรณ สุวรรณสุข (2539 : 69 – 74) ได้กล่าวถึงประวัติของการจัด
การศึกษาในระดับปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นว่ามีการจัดดาเนินงาน 2 ประเภท สรุปได้ดังนี้
1.1 สถานรับเลี้ยงเด็ก ประเทศญี่ปุ่นเปิดบริการสถานรับเลี้ยงเด็กครั้งแรกใน
ปี ค.ศ. 1890 ที่เมืองนิกาต้าโดยที่สามีภริยาคู่หนึ่งได้เปิดโรงเรียนโดยรับเด็กนักเรียนที่
ยากจน ส่วนใหญ่เข้ามาเรียนผลปรากฏว่าเด็กเหล่านั้นจาเป็นที่จะต้องอุ้มน้องมาเรียนในชั้น
เรียนด้วย ทาให้เป็นที่รบกวนการเรียนการสอนในชั้นเรียนเป็นอย่างมาก เหตุนี้เองสามี
ภริยาคู่นี้จึงตัดสินใจใช้สถานที่ในโรงเรียนให้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กไปด้วย จาก
จุดเริ่มต้นนี้เองจนถึงปี ค.ศ. 1906 ปรากฏว่าได้เกิดสถานรับเลี้ยงเด็กขึ้นอีก 15 แห่ง เพื่อ
บริการเด็กที่แม่จะต้องไปทางานหรือเด็กที่ขาดแม่ ซึ่งโรงเรียนเหล่านั้นเปิดโดยเอกชน
ทั้งหมด
ต่อมาในช่วงเศรษฐกิจตกต่าหลังสงครามโลกครั้งที่ 1กระทรวงเคหะ(Ministry of
Housing) ได้จัดสร้างสถานรับเลี้ยงเด็ก เพื่อช่วยพ่อแม่ที่ต้องออกไปทางานในปี ค.ศ. 1919
สถานรับเลี้ยงเด็กของเอกชนได้จัดขึ้นในเมืองโอซาก้าและเมืองใหญ่อีกหลายเมืองจนถึงปี
ค.ศ. 1988 ปรากฏว่าสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นทั้งหมด 1,495 แห่งในประเทศญี่ปุ่น
แม้ว่าการจัดหลักสูตรในระยะเริ่มต้นของสถานรับเลี้ยงเด็กจะคล้ายกับการจัด
หลักสูตรของโรงเรียนอนุบาล แต่ทว่าวัตถุประสงค์หลักนั้นแตกต่างกัน โดยที่สถานรับ
เลี้ยงเด็กนั้นจัดเพื่อเลี้ยงเด็กที่พ่อแม่ของเด็กต้องออกไปทางานไม่มีระเบียบของรัฐมา
ควบคุมจึงไม่เหมือนกับ โรงเรียนอนุบาลที่จัดเพื่อให้การศึกษาเบื้องต้นแก่เด็กเป็นการเตรียม
ตัวเด็กให้พร้อมเพื่อเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อไปต่อมาในสงครามโลกครั้งที่ 2
โรงเรียนอนุบาลและสถานรับเลี้ยงเด็กได้เกิดการขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนทาให้ต่างคน
ต่างแยกกันพัฒนา
83
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการเลี้ยงเด็กยังคงเป็นแบบโบราณอยู่คือ
ต้องให้เด็กอยู่ภายใต้การดูแลของพ่อแม่เป็นหลัก แต่ทว่าในกฎหมายเด็กปี ค.ศ. 1949
กล่าวไว้ว่าเทศบาลจะต้องรับผิดชอบดูแลเด็กในกรณีที่ผู้ปกครองไม่สามารถให้การดูแลได้
เนื่องจากความเจ็บป่วยหรือต้องทางานและในกฎข้อที่ 1 และ 2 ของกฎหมายนี้ได้กล่าวอีก
ว่ารัฐบาลจะต้องมีส่วนรับผิดชอบในการพัฒนาสติปัญญาและ ร่างกายของเด็กจึงมีการจัด
สนามเด็กเล่น คลินิกแนะแนวเด็กและการบริการรักษาพยาบาลฟรีให้แก่แม่และเด็ก
หลังจากปี ค.ศ. 1947 เป็นต้นมา สถานรับเลี้ยงเด็กได้เจริญขึ้นอย่างมากมายอีกทั้ง
ยังได้มีการตกลงระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์กับกระทรวงศึกษาธิการ
ในเรื่องที่จะขอใช้หลักสูตรการศึกษาของเด็กอายุ 3 – 6 ปี เช่นเดียวกับโรงเรียนอนุบาล
ด้วย การจัดสถานรับเลี้ยงเด็กนอกจากที่จะให้รัฐเป็นผู้จัดให้ในสถาบันแล้ว ยังได้มีการจัด
ขึ้นในบ้านอีกด้วย แต่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่ามีจานวนเท่าไร
ในปี ค.ศ. 1961 สถานรับเลี้ยงเด็กได้จัดบริการพิเศษให้แก่เด็ก ที่มีผู้ปกครอง
ประกอบอาชีพประมง และชาวนาในช่วงฤดูกาลประมงและการทานาด้วย
ในปี ค.ศ. 1974 ได้มีการสารวจพบว่ามีสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นมากมายเป็นของ
รัฐถึง 10,332 แห่ง และเป็นของเอกชน 6,160 แห่ง
1.2 การอนุบาลศึกษาในประเทศญี่ปุ่นโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของประเทศ
ญี่ปุ่นนั้นตั้งโดยรัฐบาลในวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1876 โดยจัดเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน
ฝึกหัดครูสตรี และต่อมาในปี ค.ศ. 1878 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการฝึกหัดครู
อนุบาลขึ้นในโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีแห่งนั้น มีผลทาให้การอนุบาลแพร่หลายในญี่ปุ่นเป็นอัน
มาก ดังจะเห็นได้ว่าในปี ค.ศ. 1900 ได้มีโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐและ เอกชนเป็นจานวน
ถึง 241 แห่ง
โรงเรียนอนุบาลที่จัดขึ้นในช่วงแรกนั้นได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของ
เฟรอเบลและแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยของอเมริกาในสมัยนั้น แม้จะ
ได้รับอิทธิพลมาจากเฟรอเบลและอเมริกาก็ตาม ญี่ปุ่นได้ทาการปรับแนวความคิดเหล่านั้น
ให้สอดคล้องกับความต้องการและวัฒนธรรมของตน ดังจะเห็นได้จากจุดมุ่งหมายของ
การศึกษาปฐมวัยที่กล่าวไว้ว่า
“การศึกษาปฐมวัยนั้นมุ่งเพื่อฝึกให้เด็กเกิดการรับรู้ตามธรรมชาติพัฒนาให้จิตใจ
ตื่นอยู่เสมอ อีกทั้งก่อให้ร่างกายแข็งแรง ปลูกฝังความหนักแน่นของอารมณ์พร้อมทั้งฝึกให้
ใช้ภาษาและท่าทางที่สุภาพ” หลักสูตรของโรงเรียนอนุบาลในญี่ปุ่นนั้นครอบคลุมถึงเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับชีวิต ความสวยงาม และความรู้ทั่วไป ส่วนกิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่น ได้แก่
การเล่นลูกบอล 5 สี ต่อโซ่ พับกระดาษ ใช้ตะเกียบ ร้องเพลงและการตัดกระดาษ เป็นต้น
84
ในปี ค.ศ. 1899 สมาคมเฟรอเบลได้เสนอให้กระทรวงศึกษาธิการสร้างกฎเกณฑ์ของ
การอนุบาลขึ้นมา กฎเกณฑ์เหล่านี้ได้มีผลใช้มาจนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1947 และกฎเกณฑ์อัน
เดียวกันนี้เองได้ใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างพระราชบัญญัติการศึกษาปฐมวัยใน
ปี ค.ศ. 1926 ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้ครอบคลุมถึงเกณฑ์อายุ จานวนชั่วโมงที่ใช้ใน
การสอน จานวนเด็กที่ควรจะรับอุปกรณ์ที่ควรจะมีวัตถุประสงค์ตลอดจนหลักสูตรและจาก
การสารวจโรงเรียนอนุบาลในปี ค.ศ. 1926 พบว่ามีโรงเรียนอนุบาล เพิ่มขึ้นถึง 1,066 โรง
และมีเด็กนักเรียนถึง 100,000 คน โดยที่โรงเรียนส่วนใหญ่นั้นอยู่ในตัวเมือง
ในระยะก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย รัฐบาลได้เล็งเห็นความสาคัญของ
การศึกษาปฐมวัยจึงได้ประกาศให้มีหลักสูตรอนุบาลศึกษาขึ้นใช้ทั่วประเทศแต่เมื่อเกิด
สงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น การอนุบาลศึกษาได้หยุดชะงักไป และได้เปลี่ยนไปเป็นสถานเลี้ยง
เด็กแทน ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงการอนุบาลศึกษาได้ฟื้นฟูขึ้นมาใหม่
กลายเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเบื้องต้นของการศึกษาแห่งชาติ
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนอนุบาลในประเทศญี่ปุ่นเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว
มาก ดังจะเห็นได้จากมีการถกเถียงถึงเป้าหมายการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งยังได้มีการจัดทา
กฎหมายศึกษาในปี ค.ศ. 1947 ด้วยและได้มีการตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรหลาย
ชุดด้วยกันเพื่อที่จะให้ไปปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ความต้องการ
ของสังคมและเด็กญี่ปุ่น
จากการสารวจของกระทรวงศึกษาธิการในปี ค.ศ. 1970 พบว่าประชาชนชาวญี่ปุ่น
มีความต้องการในด้านการศึกษาปฐมวัยมาก ประมาณร้อยละ 50 ของผู้ปกครองมี
ความต้องการให้ลูกตนได้เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลร้อยละ 15 ของผู้ปกครองทั้งหมด มี
ความต้องการให้ลูกของตนได้เข้าเรียนในศูนย์เลี้ยงเด็กและน้อยกว่าร้อยละ 3 ผู้ปกครองที่ไม่
ตอบ พบว่าร้อยละ 60 ของนักเรียนที่เข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งได้ผ่านโรงเรียน
อนุบาลแล้ว
เนื่องจากความต้องการของประชาชนในเรื่องการศึกษาปฐมวัย จึงทาให้มีการสร้าง
โรงเรียนอนุบาลขึ้นมาอีกมากมายทั้งที่เป็นของเอกชนและรัฐบาล แต่ทว่าค่าใช้จ่ายใน
การส่งลูกเข้าเรียนในโรงเรียนเอกชนนั้นแตกต่างจากโรงเรียนรัฐบาลอย่างเห็นได้ชัดเจน จึง
ได้เกิดมีการเรียกร้องขอให้ทางรัฐบาลจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเพิ่มอีก
ตามกฎของกระทรวงศึกษาธิการยอมให้แต่ละชั้นเรียนมีนักเรียนไม่เกิน 40 คนแต่
จากการสารวจใน ปี ค.ศ. 1969 พบว่าเฉลี่ยแล้วมีเด็กเพียง 34 คน ในแต่ละชั้นและ
อัตราส่วนระหว่างครูกับนักเรียนนั้นคือ 1 ต่อ 25 อย่างไรก็ตามตัวเลขนี้ก็ไม่แน่นอนขึ้นอยู่
กับระดับอายุของเด็ก ในขณะเดียวกันเด็กจะต้องอยู่ในโรงเรียนอย่างต่าวันละ 4 ชั่วโมง
85
รวมทั้งหมด 220 วันภายใน 1 ปี จานวนชั่วโมงของเด็กที่จะอยู่ในโรงเรียนนั้นย่อมต้องขึ้นอยู่
กับระดับของอายุเป็นเกณฑ์ และเปิดเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันเสาร์
จากการศึกษาประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น พอสรุปได้ว่าการศึกษา
สาหรับเด็กในประเทศญี่ปุ่นในระยะแรกจัดขึ้นเพื่อพัฒนาระดับสติปัญญา ปลูกฝังให้มี
ร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ช่วยให้มีความเจริญงอกงามทางสังคมและมีจริยธรรม
จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1882 มีประกาศสาระสาคัญของการอบรมเลี้ยงดูเด็กระบุวัตถุประสงค์
ให้เด็กได้พัฒนาทั้งร่างกายและ จิตใจ พร้อมทั้งพฤติกรรมทางจริยธรรมของเด็กเพื่อเตรียม
สาหรับการเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อมาพระราชบัญญัติโรงเรียนอนุบาล ในปี ค.ศ. 1926
ได้ระบุวัตถุประสงค์ให้มีการศึกษาแก่พ่อแม่ของเด็กทางบ้านด้วย แต่ในสมัยสงคราม
ศักราชโชวะ (ค.ศ. 1926 – 1945) วัตถุประสงค์ของการศึกษาปฐมวัยค่อย ๆ เอียงไปทาง
ชาตินิยม และระบบทหารตามเหตุการณ์แวดล้อม จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึง
ได้มีประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของการศึกษาเน้นไปทางการศึกษา
เพื่อชีวิตที่มีความสุขและสันติแทน
2. รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น
การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่นจัดบริการแก่เด็กอายุ 3 – 5 ปี
โดยมีหลักสูตรที่ใช้จัดการศึกษาแบบหลักสูตร 1 ปี หลักสูตร 2 ปี และหลักสูตร 3 ปี ผู้มี
หน้าที่จัดการศึกษาในแต่ละ ท้องถิ่นสามารถเลือกจัดตามความพร้อม โดยมีรูปแบบการจัด
2 ประเภทคือ
2.1 โรงเรียนอนุบาล รับเด็กอายุระหว่าง 3 – 5 ปี แบ่งกลุ่มตามอายุ คือ กลุ่มอายุ
3 ขวบ กลุ่มอายุ 4 ขวบ และกลุ่มอายุ 5 ขวบ จานวนกลุ่มละ 40 คน เด็กเหล่านี้จะเรียน
อยู่ที่โรงเรียนวันละ 4 ชั่วโมง โดยกาหนดเวลาเรียนว่าต้องเรียนมากกว่า 220 วันต่อ 1 ปี
และมีวัตถุประสงค์เพื่อจะเสริมสร้างสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจของเด็ก ๆ ให้เจริญ
ควบคู่กันไป พร้อมทั้งช่วยสร้างแบบแผนขั้นต้นแห่งความประพฤติในชีวิตประจาวันของเด็ก
ด้วยการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก่เด็ก
2.2 สถานรับเลี้ยงเด็กหรือศูนย์เลี้ยงเด็กจัดขึ้นเพื่อรับเลี้ยงเด็กที่พ่อแม่ต้องออกไป
ทางาน โดยเฉพาะเด็กที่มาจากครอบครัวที่ฐานะค่อนข้างยากจน ซึ่งโดยปกติจะใช้เวลาให้
การเลี้ยงดูวันละ 8 ชั่วโมงโดยเด็กจะมาที่สถานรับเลี้ยงเด็กประมาณ 08.30 น. และกลับ
บ้านเวลา 16.30 น. หากแต่เวลามาและกลับของเด็กนั้นจะไม่แน่นอนตายตัว จะขึ้นอยู่กับ
เวลาทางานของพ่อแม่มีเด็กบางคนจาเป็นต้องมาสถานรับเลี้ยงเด็กก่อนเวลา 08.00 น. จึง
มีการเปิดบริการที่เรียกว่าสถานรับเลี้ยงเด็กภาคเช้า (Early Morning Nursing) ซึ่งเริ่มจาก
86
เวลา 07.30 น. และยังมีการเปิดบริการอีกพวกหนึ่งที่เรียกว่าสถานรับเลี้ยงเด็กกลับช้า
(Staying late Nursing) สาหรับเด็กที่ครูต้องให้การดูแลจนกว่าพ่อแม่จะมารับกลับในเวลา
18.00 น. สาหรับเด็กที่มารับบริการจะรับเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ขวบ การแบ่งกลุ่ม
เด็กจะแบ่งตามขั้นพัฒนาการเป็นสาคัญ โดยมีการจัดกลุ่มและจัดชั้นแบบรวม
3. หลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น มี 2 ประเภท คือ
3.1 หลักสูตรสาหรับโรงเรียนอนุบาลในประเทศญี่ปุ่น เป็นการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนา บุคลิกภาพแก่เด็กปฐมวัย อายุระหว่าง 3 – 5 ปี จุดประสงค์ของหลักสูตรอนุบาล
นั้นได้กาหนดขึ้นตามมาตรฐาน คือให้มีแผนการสอนที่เหมาะสม โดยมีกิจกรรมที่คานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างวัยของเด็ก ระยะเวลาในการสอนและสภาพของท้องถิ่นวิชาที่จัดให้
เด็กเรียนมี 6 รายวิชา คือ
3.1.1 พลานามัย เพื่อช่วยกระตุ้นเด็กให้สนใจในการออกกาลังกายแบบต่าง ๆ ให้
มีสุขนิสัยและทัศนคติที่จาเป็นสาหรับการมีชีวิตที่สมบูรณ์มั่นคงและมีสุขภาพดี
3.1.2สังคมศึกษา เพื่อช่วยกระตุ้นให้เด็กกระตือรือร้น และสนใจเกี่ยวกับสังคมและ
สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว และพัฒนาลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ ทั้งในชีวิตส่วนตัว
และชีวิตในสังคมของเด็กในอนาคต
3.1.3ธรรมชาติศึกษาเพื่อช่วยให้เด็กมีความเข้าใจและคุ้นเคยกับสัตว์พืชและ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ส่งเสริมให้เด็กฝึกสังเกต วิเคราะห์ และจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นด้วยตนเองให้มีทักษะที่จาเป็นสาหรับใช้ในชีวิตประจาวันให้รู้จักและสนใจในตัวเลข
ต่าง ๆ
3.1.4 ภาษา เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง ในการฟังนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ ได้เข้า
ไปส่งเสริมให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสระโดยใช้ภาษาได้ถูกต้อง และสนับสนุนให้
เด็กได้อ่านหนังสือที่มีรูปภาพและนิทานต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่มและจินตนาการ
ของเด็กให้กว้างไกล
3.1.5 ดนตรีและจังหวะ เพื่อให้เด็กได้สนุกสนานกับการฟังดนตรี ส่งเสริมการร้อง
เพลง การเล่นกับเครื่องดนตรี ต่างๆ ให้อิสระในการที่เด็กจะแสดงออกทั้งทางความคิดเห็น
และความรู้สึกทางเสียงเพลงและการแสดงท่าทางอย่างเสรี
3.1.6 การวาดภาพและงานฝีมือเพื่อพัฒนาทางด้านสุนทรียภาพช่วยให้เด็กได้มี
ประสบการณ์ที่สนุกสนานในการแสดงออกทางรูปภาพที่วาดหรืองานฝีมือต่าง ๆ อย่างมี
อิสระ
87
นอกเหนือจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วในหลักสูตรยังได้บรรจุการแข่งขัน
กีฬา การไปปิกนิก การสารวจสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชนเข้าไว้ด้วยรวมทั้งพิธีการและงาน
ฉลองต่าง ๆ เช่น วันเด็กเทศกาลฉลองตุ๊กตา วันดูพระจันทร์ เทศกาลดูดาว หรือวันฉลอง
ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอนุบาล เป็นต้น
3.2 หลักสูตรสาหรับสถานรับเลี้ยงเด็ก ถ้าเป็นเด็กกลุ่มอายุเท่ากันกับเด็กโรงเรียน
อนุบาลนั้นจะตั้งอยู่บนพื้นฐานของ “มาตรฐานของหลักสูตรอนุบาล” หรือพูดอีกอย่างหนึ่ง
ก็คือเป็นมาตรฐานที่ปรับมาจากมาตรฐานขั้นต่าของสถาบันสวัสดิการเด็กนั่นเอง
ในสถานรับเลี้ยงเด็กมีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ การตรวจสุขภาพประจาวัน การนอน
การพักผ่อนกลางวัน การตรวจผิวหนังและอุณหภูมิของร่างกาย การตรวจความสะอาด
เมื่อนักเรียนมาโรงเรียน การเล่นอย่างอิสระ ซึ่งเด็กอาจจะเลือกเล่นดนตรี กิจกรรมเข้า
จังหวะ การวาดภาพฝึกศิลปะปฏิบัติ ศึกษาธรรมชาติ สังคมศึกษา หรือเล่นเกมกันเป็นกลุ่ม
เพื่อความสนุกสนานและเมื่อถึงเวลากลับบ้านก็จะมีการตรวจความสะอาดดูว่ามีแผลหรือ
บาดเจ็บที่ตรงไหนบ้าง เสื้อผ้าเรียบร้อยหรือไม่ทุกครั้ง
กิจกรรมอื่น ๆ ก็คล้ายคลึงกับโรงเรียนอนุบาลคือ มีการพาเด็กไปปิกนิก มีกิจกรรม
สารวจรอบ ๆ โรงเรียนและพาไปร่วมชมงานเทศกาลต่าง ๆ ตามประเพณี ตามปกติแล้ว
สถานรับเลี้ยงเด็กจะดูแลเด็กวันละ 8 ชั่วโมง ในปัจจุบันหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเป็น
หลักสูตรระดับหนึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงการศึกษาธิการเป็นผู้
กาหนดตามกฎหมายการศึกษาในระบบโรงเรียน (The School Education Law) และ
ข้อบังคับกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาในระบบ โรงเรียน (Enforcement
Regulations for the School Education Law) โดยหน่วยงานดังกล่าวได้กาหนดเวลา
เรียนอย่างต่าสาหรับระดับการศึกษาปฐมวัยและกาหนดรายวิชาและจานวนชั่วโมงที่ต้อง
ทาการสอนสาหรับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่นไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับการจัดการศึกษาใน
ระดับนี้เป็นหน้าที่ของจังหวัด (Prefecture) ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค โดยมี
คณะกรรมการการศึกษาของจังหวัด (Prefectural Board of Education) มีหน้าที่ในการบริหาร
การศึกษาขั้นพื้นฐานคือบริการให้คาปรึกษาและข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมสารวจความต้องการ
ในการเรียนรู้ของประชาชนและพัฒนาโปรแกรมการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตพร้อมทั้งรับผิดชอบการจัดฝึกอบรมสาหรับผู้จัดโปรแกรม ตลอดจนเตรียมระบบและ
วิธีการสาหรับฝึกอบรมดังกล่าว นอกจากจังหวัดจะเป็นผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาแล้วยังมี
หน่วยงานอื่น ๆ ที่สนับสนุนและกากับดูแลการจัดการศึกษาในแต่ละรูปแบบ ดังนี้
88
4.1 การจัดการศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์ การกีฬา และวัฒนธรรม รับผิดชอบ
ดูแลโรงเรียนอนุบาลทั้งโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐที่ท้องถิ่นหรือจังหวัด และโรงเรียน
อนุบาลของเอกชน โดยกระทรวงศึกษาธิการจะออกกฎที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาค่า
เล่าเรียนซึ่งจะคานึงถึงหลักสูตรจานวนปีที่จะต้องเรียน ชั่วโมงที่สอน มาตรฐานของตึก
เรียน เครื่องมือภายในโรงเรียนจานวนครู และครูใหญ่ เป็นต้น
4.2 กระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์ จะดูแลและรับผิดชอบสถานรับเลี้ยง
เด็กโดยมีการกาหนดมาตรฐานอย่างต่าของสถานรับเลี้ยงเด็กไว้ ซึ่งมาตรฐานนั้นรวมถึง
สถานที่เครื่องมือสาหรับเลี้ยงดูเด็กทารก ห้องเลี้ยงเด็ก อัตราส่วนระหว่างครูกับนักเรียน
ส่วนหลักสูตรและเครื่องเล่นต่าง ๆ สาหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี นั้น จะให้เหมือนกับของ
โรงเรียนอนุบาลทุกประการสาเหตุที่จัดเหมือนกันก็เนื่องมาจากข้อตกลงระหว่างกระทรวง
สาธารณสุขและการสงเคราะห์กับกระทรวงศึกษาธิการในปี ค.ศ. 1963
เงินสนับสนุนในการดาเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็กนั้น ได้รับความร่วมมือกัน
ระหว่างส่วนบริการงานส่วนท้องถิ่นกับรัฐบาล โดยที่รัฐบาลให้ความช่วยเหลือผ่านทาง
องค์การสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ ส่วนค่าเล่าเรียนนั้นขึ้นอยู่กับฐานะครอบครัวของเด็กเป็น
หลักถ้าเด็กที่มาจาก ครอบครัวที่มีฐานะต่าก็แทบจะไม่ต้องจ่ายเงินเลย
5. บุคลากร
บุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นมีดังนี้
5.1 บุคลากรในโรงเรียนอนุบาลจะประกอบไปด้วยผู้อานวยการ คณะครูและอาจจะมี
บุคลากรอื่นๆ อีกแต่ในสถานการณ์พิเศษก็อาจมีการยกเว้นได้
ผู้อานวยการ เป็นผู้บังคับบัญชาและดูแลรับผิดชอบรวมทั้งให้คาปรึกษาแก่ผู้ร่วมงานอื่นๆ
มักจะเป็นผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตรครูระดับชั้นเยี่ยมและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
ทางด้านการศึกษาไม่น้อยกว่า 5 ปี
ครูประจาการที่ปฏิบัติงานเต็มเวลา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบเด็กมักจะมี
วุฒิปริญญาตรีหรืออนุปริญญาจากวิทยาลัย ในบางกรณีอาจมีผู้ช่วยครูที่ทางานเต็มเวลา
หรือครูประจาการที่ทางาน ไม่เต็มเวลามาสอนแทนบ้าง แต่ผู้ช่วยหรือครูแบบทางาน
ประเภทไม่เต็มเวลาเหล่านี้ก็จะต้องมีวุฒิอย่างน้อยมัธยมปลาย
โรงเรียนอนุบาลทุกแห่งจะมีหัวหน้าครูซึ่งจะทาหน้าที่ช่วยเหลือผู้อานวยการมีครู
พยาบาล หรือผู้ช่วย และเสมียน บุคลากรดังกล่าวมีความจาเป็นสาหรับโรงเรียน
นอกจากนี้ถ้าสามารถจัดหาได้ก็ควรจะได้จัดหาแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรรวมไว้ด้วย
ห้องเรียนแต่ละห้องควรมีครูเต็มเวลาประจาอย่างน้อย 1 คน ต่อนักเรียนที่อายุ
เท่ากันไม่เกิน 40 คน
89
5.2 บุคลากรของสถานรับเลี้ยงเด็กประกอบด้วย พยาบาลกลางวันและแพทย์
ที่มาประจาเฉพาะบางเวลา สาหรับพยาบาลกลางวันนั้นควรจะมีอัตราส่วน 1 คนต่อเด็ก
อายุต่ากว่า 3 ขวบ 6 คน และอย่างน้อย 1 คนต่อเด็กอายุระหว่าง 3 – 4 ขวบ 20 คน
สถานรับเลี้ยงเด็กทุกแห่งควรมีพยาบาลประจาอย่างน้อยที่สุดแห่งละ 2 คน พยาบาล
เหล่านี้ควรจะมีวุฒิทางพยาบาลจากสถาบันที่กระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์หรือ
องค์การอื่นที่เกี่ยวข้องรับรองแล้ว
การศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอล
ประเทศอิสราเอลเคยสูญเสียอิสรภาพนานถึง 2,000 ปี ประชาชนในประเทศจึง
ต้องอพยพไปอยู่ประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก จนกระทั่งภายหลังได้อพยพกลับมารวมตัวกันอยู่ใน
ดินแดนเดิมที่เคยอาศัยอยู่ ประเทศอิสราเอลจึงเป็นประเทศที่เพิ่งตั้งตัวใหม่ แต่มีอดีตที่
รุ่งเรืองและยาวนานประกอบไปด้วยสังคมที่กาลังเติบโตและพัฒนาและมีโปรแกรม
การศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้า ๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป อิสราเอลมีส่วนผสมของสังคม
ตะวันออกและตะวันตกอยู่ด้วยกัน เป็นที่รวมของผู้คนที่มาตั้งหลักแหล่งจากทุกมุมโลก จะ
เห็นได้จากระบบการศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายของเยาวชนของชาติซึ่งมี
ภูมิหลังที่แตกต่างกัน มีทั้งกลุ่มที่ยึดมั่นศรัทธาในศาสนาและกลุ่มที่ไม่มีศาสนามีทั้งอาณา
เขตของพวกอาหรับและอาณาเขตของพวกฮิบรูและยังมีภาษามากมายที่ใช้ในการติดต่อกัน
อย่างไรก็ดี แม้อิสราเอลจะเป็นดินแดนแห่งความขัดแย้งดังกล่าว แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้งประเทศ
ร่วมใจกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวและยึดเป็นสิ่งสาคัญ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัย
1. ประวัติการศึกษาปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลจัดขึ้นตามความเชื่อที่ว่าการให้การศึกษาแก่
เด็กในวัยนี้จะมีผลต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากการหล่อหลอมกล่อมเกลาเด็กทาได้ง่าย
กว่าและประสบผลสาเร็จมากกว่า ด้วยความเชื่อดังกล่าวรัฐบาลได้จัดการศึกษาภาคบังคับ
ให้ฟรีแก่เด็กอายุ 5 ขวบ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 โดยรัฐสภาออกกฎหมายการศึกษาภาค
บังคับว่าเด็กวัย 5 ขวบ ทุกคนต้องเข้าโรงเรียนอนุบาลเพื่อจะได้เรียนภาษาฮิบรู และเรียนรู้
วัฒนธรรมประจาชาติ ทั้งนี้โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้การศึกษาในระดับนี้เป็นเครื่องอุดช่อง
ระหว่างประชาชนผู้อพยพมาจากดินแดน ต่าง ๆ กว่า 100 ประเทศ
การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุคแรก ๆ มิได้ประสบผลสาเร็จดังที่คาดไว้ ทั้งนี้
เนื่องจากผู้อพยพใหม่ ในช่วง ค.ศ. 1950 – 1960 ส่วนใหญ่มาจากประเทศที่นับถือศาสนา
อิสลามซึ่งยากจนและอพยพมาจากหลายประเทศจึงประสบปัญหาด้านวัฒนธรรม
90
เศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันมากจนไม่สามารถใช้การศึกษาในระดับนี้เป็นเครื่อง
หล่อหลอมเด็กเพื่อให้ประเทศชาติเป็นปึกแผ่นได้ จึงจาเป็นต้องปรับวิธีการเรียนการสอน
เสียใหม่เพื่อให้ผู้อพยพมาใหม่ยอมรับได้จนกระทั่งใน ปี ค.ศ. 1960 – 1970 มีสถิติว่าเด็ก
อายุ 3 – 4 ขวบ ทุกคนได้รับการศึกษาปฐมวัย
ในปี ค.ศ. 1976 และ 1977 รัฐได้ใช้จ่ายเงินถึง ร้อยละ 8.33 ของงบประมาณ
การศึกษาทั้งหมดไปทางด้านการศึกษาปฐมวัย โดยเด็กที่อายุถึง 5 ขวบ จะได้รับการศึกษา
ในระดับการศึกษาปฐมวัยซึ่งเป็นการศึกษาภาคบังคับและให้เปล่า และเด็กเกือบร้อยละ
100 จะเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล (คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 26 อ้างจาก
สานักงานสถิติกลางแห่งอิสราเอล,1890) สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ รัฐบาลจะให้เงิน
อุดหนุนค่าเล่าเรียนโดยพิจารณาตามความจาเป็นของครอบครัวเป็นราย ๆ ไป
ในปี ค.ศ. 1978 อิสราเอลมีโรงเรียนอนุบาล 5,400 แห่ง และมีเด็กเข้าเรียนใน
โรงเรียนอนุบาลเป็นจานวนมาก กล่าวคือ เด็กในกลุ่มอายุ 5 ปี เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล
ร้อยละ 100 เด็กในกลุ่มอายุ4 ปีและ 3 ปี เข้าเรียนร้อยละ 97 และ 87 ตามลาดับ
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2526 : 218)
ในปี ค.ศ. 1979 – 1980 รัฐบาลได้จัดทุนอุดหนุนสาหรับการจัดการศึกษาของเด็ก
ปฐมวัยจานวนกว่า 5,000 ห้องเรียน ซึ่งรับเลี้ยงดูเด็กระหว่าง 3 – 6 ขวบ เป็นจานวนถึง
264,000 คน (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 27 อ้างจากสานักงานสถิติ
กลางแห่งอิสราเอล, 1980)
ในปี ค.ศ.1989 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม พยายามให้มีการสอนอ่านเขียนใน
โรงเรียนอนุบาลซึ่งขัดกับปรัชญาดั้งเดิมของการให้การศึกษา จึงได้มีการนาวิธีการสอน
ภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) มาใช้ โดยเน้นการจัดสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วย
ภาษาเขียนและเปิดโอกาสให้เด็กได้พูดและเขียน นอกจากนี้ยังพาเด็กไปทัศนศึกษานอก
สถานที่ ได้เรียนรู้ศิลปะดนตรี ละคร และคอมพิวเตอร์ และในปี ค.ศ. 1990 กระทรวงศึกษา
และวัฒนธรรมได้เพิ่มการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกระดับการศึกษา ในระดับ
การศึกษาปฐมวัยจัดเป็นโปรแกรมให้เด็กได้หัดสังเกตสิ่งรอบตัว โดยผนวกเข้ากับกิจกรรม
การเล่นบทบาทสมมุติ กิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ การเล่านิทาน หรือการทาโครงงาน
แม้ว่าสถิติจะแสดงให้เห็นว่าอิสราเอลเป็นประเทศที่ประสบผลสาเร็จในการขยาย
การศึกษาปฐมวัย แต่อิสราเอลก็มิได้นิ่งนอนใจได้หาทางปรับปรุงคุณภาพในการจัด
ตลอดจนวิธีการให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของตนเองตลอดเวลาปัญหาที่
อิสราเอลยอมรับว่าตนเองยังประสบอยู่และกาลังทดลองหาแนวทางแก้ไข ได้แก่
91
1. ช่องว่างทางด้านการเรียนรู้ของเด็ก โดยมีเด็กเป็นจานวนมากที่จัดว่าเป็นผู้ด้อย
โอกาสทางการศึกษาทาให้เกิดการเสียเปรียบแก่เด็กอื่น ๆ รัฐบาลจึงได้พยายามแก้ปัญหา
บนรากฐานของความเชื่อที่ว่าการแก้ไขเด็กได้เร็วเท่าไรก็จะอุดช่องว่างในการเรียนรู้ของ
เด็กได้มากเท่านั้น รัฐบาลจึงได้เน้นพัฒนาการทางด้านสติปัญญาแก่เด็กด้อยโอกาส โดย
ใช้การจัดกลุ่มเด็กเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เด็กได้รับการสอนความคิดเบื้องต้นทางด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษ อย่างไรก็ดีวิธีการนี้ต้องอาศัยการแนะแนวสาหรับครูเป็นเครื่องช่วย
ทาให้ไม่ประสบผลสาเร็จดังคาดหวัง เนื่องจากอิสราเอลไม่มีบุคลากรผู้ที่จะให้การแนะแนว
อย่างเพียงพอ
2. ช่องว่างทางด้านวัฒนธรรมและค่านิยมระหว่างครูกับพ่อแม่เด็กในช่วงแรก ๆ ครู
จะพยายามสอนแม่เด็กให้เรียนรู้ภาษาฮิบรูสอนสุขศึกษาจิตวิทยาการศึกษาและการ
ปกครองแบบประชาธิปไตย แต่ประสบความล้มเหลว เนื่องจากความแตกต่างทางด้าน
วัฒนธรรมและค่านิยมในการดาเนินชีวิต ครูจึงเกิดความรู้สึกดูหมิ่นพ่อแม่เด็กว่าเป็นพวกไร้
วัฒนธรรม ต่อมารัฐบาลได้หาทางแก้ไขจนเป็นผลสาเร็จ โดยให้ความสนใจและยอมรับ
วัฒนธรรมพื้นฐานของพ่อแม่เด็กชักชวนให้มาร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้
พ่อแม่เด็กได้แสดงออกซึ่งวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนก่อนที่จะอพยพมาอิสราเอล พร้อมทั้ง
เปิดโอกาสให้เล่าถึงชีวิตในวัยเด็กในประเทศของตน
3. ช่องว่างระหว่างบุคคลและสังคม ปัญหาข้อนี้เกิดจากการที่พ่อแม่ไม่รู้จัก หรือไม่
เข้าใจความสาคัญของตนเอง เนื่องจากวัฒนธรรมของตนไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมทั่วไป
อิสราเอลในช่วงเวลานั้น ทาให้ผลกระทบตกมาอยู่ที่ตัวเด็ก เด็กเป็นจานวนมากไม่รู้จักชื่อ
ตนเอง ไม่รู้จักชื่อพ่อแม่ พี่น้องด้วยวิธีการในข้อ 1.2 กล่าวคือ การที่ครูยอมรับวัฒนธรรม
ดั้งเดิมของพ่อแม่เด็กทาให้พ่อแม่เด็กเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมเดิมของตนทาให้รู้จัก
ความสาคัญของตนเองมากขึ้น
2. รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัยในอิสราเอลจัดขึ้นโดยมุ่งที่จะส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตาม
ความสามารถของแต่ละบุคคล โดยรัฐบาลได้อาศัยอาสาสมัคร พ่อแม่ เด็กวัยรุ่น หญิงที่มี
อายุ ตลอดจนครูให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก โดยคานึงถึงความสามารถส่วนบุคคล
การศึกษาปฐมวัยในอิสราเอล แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่
2.1 โรงเรียนอนุบาล (Kindergaten) การจัดการศึกษาขั้นอนุบาลศึกษาเป็น
การศึกษาภาคบังคับและจัดโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายรับเลี้ยงดูเด็กอายุระหว่าง 5 – 6 ขวบ มีทั้ง
โรงเรียนของรัฐบาลกลาง (Govemment Preschool) และโรงเรียนขององค์การต่าง ๆ ซึ่ง
อาจเป็นของ เอกชนหรือของเทศบาลก็ได้ โรงเรียนของรัฐบาลได้จัดทุนอุดหนุนสาหรับ
92
การจัดการศึกษาในระดับอนุบาล การรับเด็กใช้วิธีพิจารณาว่าบ้านอยู่ใกล้โรงเรียนเป็น
เกณฑ์ การจัดนักเรียนเข้าห้องเรียนจะสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมท้องถิ่นที่เกี่ยวพันกันใน
หมู่ครอบครัว และในขณะเดียวกันโรงเรียนก็ยังคงพยายามที่จะจัดกลุ่มของนักเรียนตาม
อายุ และมีบ่อยครั้งที่กลุ่มนักเรียนห้องเดียวกันจะมีช่วงอายุต่างกันถึง 2 ปี
2.2 โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) โรงเรียนเด็กเล็กรับดูแลเด็กอายุ 3–5 ขวบ
หลักสูตร 2 ปี อยู่ภายใต้การดูแลของสภาเทศบาล ซึ่งให้การอุดหนุนเรื่อง สถานที่ อุปกรณ์
เงินเดือนครูผู้ช่วยครู และค่าใช้จ่ายอีกเล็กน้อยส่วนกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจะเป็น
ผู้จ่ายเงินเดือนครูและให้การนิเทศ ตลอดจนให้เงินอุดหนุนแก่ครอบครัวเด็กทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
รายได้ของแต่ละครอบครัว
2.3 สถานรับเลี้ยงเด็ก (Day Care) หรือศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวันรับดูแลเด็กตั้งแต่
อายุ 3 เดือน ถึง 4 ขวบ โปรแกรมการจัดศูนย์เลี้ยงเด็กนี้เป็นสวัสดิการสาหรับมารดาที่
ต้องทางานนอกบ้าน โดยรับดูแลเด็กตั้งแต่ทารกอายุ 3 เดือน ไปจนถึงเด็กที่จะเข้าโรงเรียน
ได้วิธีการดูแลในแต่ละศูนย์จะแตกต่างกันไป โดยปกติแล้วจะเป็นการเลี้ยงดูแทนจนถึงอายุ 4
ขวบ
2.4 การศึกษาปฐมวัยในคิบบุทซ์ คิบบุทซ์ คือ “ประชาคมที่รวมอยู่ด้วยกันอย่าง
สมัครใจส่วนมากจะเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ไม่มีผลประโยชน์ส่วนบุคคล แต่รับผิดชอบต่อ
ความต้องการของสมาชิกและครอบครัว” (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2534 :
37 อ้างจาก Encyclopedia Judaica. 1971) ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของคิบบุทซ์ก็คือ
ความเอาใจใส่ดูแลต่อเด็ก ๆ ของสมาชิกในประชาคมในคิบบุทซ์ เด็ก ๆ จะอยู่ร่วมกันใน
บ้านเด็กและจะอยู่กับพ่อแม่เฉพาะเวลาที่ว่างเท่านั้น
การศึกษาสาหรับเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูในโรงเรียนของคิบบุทซ์จะพิเศษแตกต่างไป
จากปกติ เมื่ออายุได้ 6 สัปดาห์ ทารกจะได้รับการดูแลอยู่ในบ้านเด็กอ่อนในคิบบุทซ์
จนกระทั่งอายุได้เดือนครึ่งถึงก่อนอายุได้ 2 เดือนเล็กน้อย ทารกจะได้อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
เล็ก ๆ ในบ้านเด็กอ่อนขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของทารกแต่ละคน จานวนทารกที่อยู่ในกลุ่มอายุ
เดียวกันจะแปรไปตามจานวนผู้ดูแล เมื่อทารกโตขั้นจนถึงขนาดเดินเตาะแตะจะย้ายไปอยู่
บ้านเด็กเล็ก จนถึงอายุที่จะเข้าเรียนในชั้นบริบาลทารกได้เมื่อเด็กมีความพร้อมแล้วก็จะได้
เลื่อนไปอยู่ในกลุ่มเด็กระดับอนุบาลได้อยู่ในบ้านเดียวกันและเรียนไปด้วยกันกับเด็กที่มีอายุ
ในช่วง 3 ขวบครึ่งถึง 7 ขวบการเรียนนี้จะผ่านไปโดยไม่มีลาดับชั้นจนจบชั้นปีที่ 1 ระบบ
การเรียนจะแตกต่างกันไปในแต่ละ คิบบุทซ์ แต่สิ่งที่เหมือนกันอย่างหนึ่งในทุกแห่งก็คือ เด็ก
จะได้พัฒนาไปในกลุ่มเด็กอายุใกล้เคียงกันได้เรียนรู้ปีแรก ๆ ของการศึกษาบนพื้นฐานของ
“ความพร้อม” ของตนเองมากกว่าจะเรียนตามลาดับชั้นที่ได้วางแผนเอาไว้แล้ว
93
สมาชิกในคิบบุทซ์จะมีการติดต่อใกล้ชิดกับศูนย์แนะแนวจิตวิทยาส่วนกลางและ
พร้อมเสมอที่จะทาการค้นคว้าทดลองเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้ผลที่คาดหวังไว้ว่าจะ
เป็นระบบการศึกษาที่ดีกว่าเดิม
พัฒนาการของสังคมในคิบบุทซ์ในระยะหลังนี้ แสดงให้เห็นแนวโน้มของการเปลี่ยน
แนวในการเลี้ยงดูเด็กที่กาลังเกิดขึ้นสมาชิกในคิบบุทซ์รุ่นใหม่ ๆ พวกซาบราส (Sabras) ซึ่ง
เกิดและได้รับการเลี้ยงดูใน อิสราเอลกาลังเคลื่อนไหวที่จะรวมตัวเป็นครอบครัวมากขึ้น
บิดามารดาจานวนไม่น้อยให้ลูกนอนกับตนในบ้านเดียวกันหากเหตุการณ์ยังคงเป็นเช่นนี้
ต่อไปบทบาทและวัตถุประสงค์ของบ้านเด็กก็คงจะต้องเปลี่ยนแปลงไป (สานักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 37 – 38)
3. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลนั้นแต่เดิมมาเป็นหลักสูตรที่ยึด
เนื้อหาที่เป็นหลักตามประเพณีดั้งเดิม การจัดการศึกษาปฐมวัยคือการจัดกรอบสาหรับเด็ก
ที่บิดามารดาเป็นผู้ลี้ภัย ได้มีโอกาสรับรู้ถึงวัฒนธรรมฮิบรูพื้น ๆ ที่มีโอกาสฟื้นฟูขึ้นใหม่
อย่างช้าๆ ในขณะที่พวกรุ่นพ่อแม่มีภาษาพูดมากมายเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 เกือบทุกคนจะ
พูดภาษาฮิบรูได้อย่างคล่องแคล่ว ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนรู้ในชั้นอนุบาลเป็นเวลาหลาย
ปี ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะไม่มีความจาเป็นที่บังคับให้ต้องมีโปรแกรมการศึกษาที่ยึดเนื้อหา
ซึ่งเน้นวันหยุดในวันสาคัญต่าง ๆ บทเพลงสวดตามประเพณีต่าง ๆ เหล่านี้ก็ตาม แต่
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแข็งแกร่งขึ้นจนไม่สามารถจะเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ๆ แม้แต่
กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมก็ยังต้องระมัดระวังในการให้คาจากัดความและพยายาม
ส่งเสริมหลักสูตรที่จะช่วยเน้นทั้งทางด้านเนื้อหาความรู้และทักษะทางร่างกายที่จะช่วยใน
การเรียนรู้ซึ่งโปรแกรมที่จัดอย่างยอดเยี่ยมนี้พร้อมทั้งเอกสารประกอบต่าง ๆ ได้มี
การเตรียมไว้แล้วแต่ครูก็ยังลังเลที่จะใช้ให้เป็นประโยชน์
แบบแผนการศึกษาของอิสราเอลค่อนข้างจะคานึงถึงเด็กเป็นกลุ่มมากกว่าจะ
คานึงถึงแต่ละบุคคล แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละเลยความเป็นส่วนตัวของเด็กแต่อย่างใด
ในการเรียนการสอนจะมีการเน้นความสาคัญของเด็กในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคมเท่า ๆ
กับที่เขาเป็น คน ๆ หนึ่งเด็ก ๆ จะทางานหรือเล่นกันเป็นกลุ่มซึ่งครูจะเป็นผู้เลือกหรือ
จัดสรรให้เองครูเป็นผู้มีสิทธิ์ขาดในการควบคุมชั้นและกิจกรรมการเรียนการสอน แต่ก็เปิด
โอกาสให้นักเรียนมีอิสระในการทา กิจกรรมและตัดสินใจของตนเองได้ ตัวอย่างเช่น ครูเป็น
ผู้จัดตารางเวลาของแต่ละวัน แต่ในระหว่างที่ทากิจกรรมตามตารางนั้น นักเรียนอาจจะเลือก
ทางานชิ้นใดก็ได้จะไปเข้ากลุ่มกับใครก็ได้โดยเสรีดังนี้ เป็นต้น
94
หากมีปัญหาการทะเลาะวิวาทกันระหว่างเด็ก ๆ หรือปัญหาระเบียบวินัยต่าง ๆ ครู
จะมีวิธีจัดการอย่างนุ่มนวล ตามปกติครูจะใช้วิธีพูดทั้งพูดให้กาลังใจและชี้แจงเหตุผล จะ
มีการลงโทษน้อยมากไม่ว่าจะด้วยวิธีใดก็ตาม โดยเฉพาะการลงโทษทางกายนั้นแทบจะไม่
มีเลย
ครูอนุบาลจะมีความพอใจในการที่จะวางแผนปฏิบัติการในการเรียนการสอนของ
ตนได้อย่างอิสระ แม้ว่าจะต้องยึดถือมาตรฐานเดียวกันก็ตาม เพราะมีกฎเกณฑ์ไม่กี่ข้อ
สาหรับครูที่จะต้องปฏิบัติตามโปรแกรมการสอนเนื้อหาความรู้ ศิลปะ หรือพัฒนาการ
ทางด้านสังคมในทางตรงกันข้ามกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจะสนับสนุนให้ครูได้ใช้
นวัตกรรมต่าง ๆ ให้ค่อย ๆ เปลี่ยนไปจากหลักสูตรที่ผูกติดอยู่กับปรัชญาหรือประเพณี
เดิม ๆ สิ่งที่พึงประสงค์ก็คือ การที่ครูจะให้ความสาคัญกับการสอนเนื้อหาความรู้
พัฒนาการทางร่างกาย และทักษะทางสังคม โดยส่วนใหญ่ของการสอนจะเป็นการสอนใน
กลุ่มย่อยก่อน
จากความเคลื่อนไหวที่ให้ความสาคัญและเป็นทักษะทางสติปัญญานี้เองทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรระดับการศึกษาปฐมวัยขึ้น ในระยะแรกนั้นการศึกษาปฐมวัย
ในอิสราเอลเป็นการศึกษาที่จัดตามแนวความคิดของฟรอเบล และเปสตาลอชซี่ แต่ต่อมา
เมื่อมีการอพยพ โยกย้ายกันมากขึ้นนโยบายการศึกษาระดับอนุบาลก็ค่อย ๆ เปลี่ยนไปโดย
รับทฤษฎีใหม่ ๆ เช่น ทฤษฎีของมอนเตสซอรี่ และดิวอี้เข้ามาผสมกลมกลืนกันเป็นแนว
การสอนต่อมา ทางด้านคิบบุทซ์นั้นแต่เดิมการจัดการศึกษาปฐมวัยจะเน้นทางด้าน
จิตวิทยา คือ เน้นพัฒนาการทางอารมณ์และสังคมของเด็ก โดยใช้การเล่นเป็นเครื่องมือ
และก็ยังยึดแนวความคิดนี้มาจนปัจจุบัน
การอพยพครั้งใหญ่ที่ติดตามมาพร้อมกับการสถาปนาประเทศในปี 1948 นั้นนามา
ซึ่งปัญหาอันใหญ่หลวงสาหรับนักการศึกษาทั้งหลายเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลต้องเผชิญหน้า
กับเด็ก ๆ จานวนมาก ที่ไม่เพียงแต่มีปัญหาทางด้านภาษาที่ใช้กันโรงเรียนเท่านั้น แต่ยังมี
ปัญหาเรื่อง ความพร้อมทางสติปัญญาตามที่โรงเรียนคาดหวังด้วยอิสราเอลตกอยู่ใน
สถานการณ์ที่แวดล้อมไปด้วยปัญหาโดยไม่ได้มีการเตรียมตัวรับมาก่อนเลยว่าเด็กที่จัดให้
เข้าเรียนในโรงเรียนนั้นกว่าร้อยละ 50 เป็นเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนซึ่งแต่เดิมมานั้น
โรงเรียนอนุบาลนับว่าเป็นขั้นแรกที่จัดขึ้นเพื่อรับมือกับปัญหานี้ แต่ในตอนนี้หลักสูตรใหม่
และกลวิธีการสอนที่เหมาะสม ก็ยังไม่อยู่ในสภาพพร้อมที่จะนามาใช้ได้ ในปีต่อมาบรรดา
ครู นักวิจัย และผู้บริหารจึงต้องช่วยกันทางานอย่างหนักและต่อเนื่อง ในการที่จะค้นหา
และระบุถึงคุณสมบัติที่เด็ก ๆ เหล่านั้นต้องการก่อนที่จะถูกส่งไป โรงเรียนเพื่อพัฒนา
โปรแกรมที่จะช่วยเหลือได้ถูกต้อง
95
คาตอบต่อการเรียกร้องประการแรก คือต้องการเพื่อให้เด็กที่ด้อยโอกาส ประการ
ที่สองก็คือการจัดทาโปรแกรมการเรียนการสอนแบบเข้มข้นในโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็น
โปรแกรมที่จัดทาขึ้นใหม่สาหรับเด็กเหล่านี้ หลักการสาคัญของโปรแกรมนี้คือเปลี่ยนไป
จากการเรียนการสอนปกติ คือ ครูจะสอนให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยให้ความสาคัญระหว่าง
กระบวนการเรียนรู้เท่า ๆ กับผลการเรียนรู้ของเด็กเน้นฝึกการใช้ภาษาและทักษะการรับรู้
ความคิดรวบยอดพื้นฐานในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์การใช้อุปกรณ์ที่ช่วยให้เด็ก
ได้เรียนรู้ โดยการให้แก้ปัญหาต่าง ๆ ฝึกการสังเกตในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว บรรดาครูจะ
ได้รับการขอร้องให้สังเกตความบกพร่องด้าน ต่าง ๆ ของเด็กตั้งแต่แรกมาโรงเรียนและ
พยายามหาวิธีช่วยเหลือสิ่งที่ช่วยสร้างบรรยากาศในการทากิจกรรมต่าง ๆ ในห้องเรียนก็
คือความร่วมมือของผู้ปกครองและความไว้วางใจกันระหว่างครูกับนักเรียน วิธีการที่ครู
ได้รับคาแนะนาให้ปฏิบัติต่อเด็ก ๆ ที่ด้อยโอกาสเหล่านี้ในการแก้ไขภาพพจน์ของตนเอง
ในทางลบและความไม่พร้อมของตนในการเรียนก็คือ การเพ่งเล็งความสนใจไปที่
การแสดงออกและการพูดของเด็ก หลักการของโปรแกรมการเรียนการสอนแบบเข้มว่า
โปรแกรมการศึกษาปฐมวัยนี้สร้างขึ้นมารอบ ๆ แกน 2 แกน แกนหนึ่งคือ การเล่นอิสระ
ของเด็กและความคิดสร้างสรรค์อีกแกนหนึ่งคือครูผู้คอยสนับสนุนและชี้นา ซึ่งจะพยายาม
หาโอกาสที่จะค่อย ๆ ดันเด็กไปตามแนวทางพัฒนาที่ได้วางไว้ความสมดุลระหว่างแกนทั้ง
2 ก็คือ ผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูแต่ละคนกับนักเรียนของตน นั่นเอง
4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ในประเทศอิสราเอลมีหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
หลายหน่วยงาน คือ
4.1 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมรับผิดชอบด้านหลักสูตรการนิเทศการศึกษา
การฝึกอบรมบุคลากรให้แก่โรงเรียนอนุบาลสาหรับเด็กในวัย 3 – 5 ปี โดยผู้ดูแลรับผิดชอบ
ถือเป็นศึกษานิเทศก์ระดับชาติ ซึ่งทาหน้าที่เป็นทั้งผู้อานวยการกรมและผู้ประสานงาน
ระหว่างกรมกับส่วนราชการอื่น ๆ ในกระทรวง นอกจากนี้กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม
ยังรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรและให้ความสะดวกแก่การอบรมครูสาหรับ
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยด้วย
4.2 เทศบาล หรือท้องถิ่น รับผิดชอบด้านบริหารโรงเรียนอนุบาลสาหรับเด็กวัย
3–5 ปี ดูแลซ่อมแซมบารุง (รวมถึงการก่อสร้างต่าง ๆ) ในโรงเรียนอนุบาลในท้องถิ่นที่ตน
รับผิดชอบ
4.3 ศูนย์ชุมชน จัดโปรแกรมสาหรับแม่และเด็กในวัยทารกและวัยสอนเดิน
96
4.4กระทรวงอนามัยและสวัสดิการสังคมกระทรวงแรงงาน และองค์การ
อาสาสมัคร ต่าง ๆ ดูแลรับผิดชอบสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวันอายุต่ากว่า 4 ปี ของแต่ละ
หน่วยงานที่ตนดูแลรับผิดชอบ โดยให้การสนับสนุนด้านการจัดบริการ การนิเทศและ
พัฒนาครู
5. บุคลากร
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2534 : 28 – 29) กล่าวถึงบุคลากรที่
เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในอิสราเอล สรุปได้ดังนี้
5.1 ครูอนุบาล ครูที่มีวุฒิทางอนุบาลจะสอนเด็กจานวน 30 – 35 คน ในแต่ละ
ห้องครู เหล่านี้จะต้องผ่านสถาบันฝึกหัดครูประมาณ 2 – 3 ปี หลังจากเรียนอย่างน้อย
3 ปี ในชั้นมัธยมปลาย ปัจจุบันมีแนวโน้มที่ไม่พึงประสงค์นักคือ นักศึกษาครูที่มี
ความสามารถสูงมักจะเลือกไปสอนในระดับมัธยมเหลือเพียงนักศึกษาที่มีความสามารถ
น้อยกว่ามาฝึกฝนทางการสอน เด็กเล็กแทนกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจึงต้องพยายาม
ช่วยเหลือครูเหล่านี้ โดยการจัดโปรแกรมการฝึกอบรมและสนับสนุนให้ครูเหล่านี้ได้มี
โอกาสศึกษาต่อในโรงเรียนอนุบาลของชาวยิวครูทุกคนเป็นหญิง แต่ในโรงเรียนของชาว
อาหรับยังถือว่าผู้ชายคือผู้ที่เป็นนักการศึกษาและร้อยละ 54 ของครูอนุบาลในอาหรับจะ
เป็นผู้ชาย และคงถือปฏิบัติเช่นนี้มาจนกระทั่งถึงเมื่อไม่นานมานี้เอง
5.2 บุคลากรสนับสนุน ครูอนุบาลจะมีผู้ช่วยที่เป็นคนนอก ผู้ช่วยเหล่านี้ได้รับ
การคัดเลือกมาจากแม่บ้านที่สมัครใจจะช่วยเหลือและมีจิตใจรักเด็ก ผู้หญิงเหล่านี้มักจะมี
ความรู้น้อยแต่จะช่วยรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานประเภทงานบ้าน คือ จัดเตรียมอาหาร
ว่างเก็บกวาดโต๊ะอาหารและช่วยครูในเรื่องทั่ว ๆ ไป เช่น ช่วยแต่งตัวให้เด็กเมื่อจะออกไป
ทากิจกรรมกลางแจ้ง ช่วยเช็ดตัว เป็นต้น ช่วงเวลาที่ผู้ช่วยเหล่านี้ได้ช่วยเด็กโดยตรงจะไม่
เกินครึ่งชั่วโมง
ครูมีโอกาสที่จะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ด้วย เพราะจะมีครูสอนจะมี
ภารกิจหรือกิจกรรมที่จะต้องเดินทางเข้าจังหวัด พยาบาล หมอ ทันตแพทย์ นักจิตวิทยา
แวะมาเยี่ยมเยียนเป็นประจา นอกจากนี้ยังมีบริการทางด้านกายภาพบาบัดไว้สาหรับใน
กรณีที่จาเป็นด้วย
การศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ ชาวพื้นเมืองเดิมของมาเลเซียเป็น
มุสลิมเกือบทั้งหมด ยกเว้นในรัฐซาบา (Sabah) และสาราวัก (Sarawak) ชาวจีนส่วนใหญ่
เป็นพุทธและคริสเตียน ชาวอินเดียส่วนใหญ่เป็นทมิฬในทางภูมิศาสตร์มาเลเซียเป็น
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55

More Related Content

What's hot

การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์Pattie Pattie
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์Siririn Noiphang
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 

What's hot (20)

การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
3แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 3)
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 

Similar to บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55

เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]CMRU
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5kruchaily
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)1707253417072534
 

Similar to บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55 (20)

เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 

บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55

  • 1. บทที่ 4 การศึกษาปฐมวัยในเอเชีย แผนการสอนประจาบท 1. จุดหมายการเรียนรู้ 1. เพื่อให้สามารถอธิบายการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้ 2. เพื่อให้สามารถอธิบายหลักการรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่าง ประเทศได้ 3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้ 4. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยใน ต่างประเทศได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น 2. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอล 3. การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย 4. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย 5. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 6. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ 7. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย 8. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 9. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนรายวิชา 2. อภิปราย ซักถาม สรุปจากสไลด์ (Power point) 3. ศึกษาเอกสารการสอนและตาราที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งสรุปสาระสาคัญ 4. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า การจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศ 5. วิเคราะห์ลักษณะเด่น ลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยในแต่ละ ประเทศ 4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาปฐมวัย
  • 2. 80 2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point) 3. หนังสือ ตารา งานวิจัย 4. เว็บไซต์อาจารย์ Internet 5. การประเมินผล 1. ผลการนาเสนอศึกษาค้นคว้าเอกสารรายงาน 2. ผลการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าทาง internet 3. ผลการวิเคราะห์ลักษณะเด่นลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยของ แต่ละประเทศ 4. แบบทดสอบ และแบบฝึกหัดท้ายบท
  • 3. 81 บทที่ 4 การศึกษาปฐมวัยในเอเชีย การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียได้มีการพัฒนาขึ้นมากในหลาย ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น อิสราเอล รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยบางอย่างสามารถเป็น ตัวอย่างที่ดี และเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษา ระดับปฐมวัยในทวีปเอเชียได้ให้ความสาคัญของเด็กปฐมวัยมาก โดยประเด็นสาคัญเน้น การเตรียมความพร้อมให้เด็กที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยแบ่ง พัฒนาการได้ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ก่อนที่ จะเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อไปแต่ทั้งนี้การจัดการศึกษาของแต่ละประเทศอาจมีจุดเน้นที่ แตกต่างกันออกไปบ้างตามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การจัดการศึกษา ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง การปกครองวัฒนธรรม ปรัชญา ความเชื่อทางศาสนา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะมี อิทธิพลต่อการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของประเทศต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกันไปจน เกิดเป็นอัตลักษณ์ที่สาคัญ แต่ในบทนี้จะขอกล่าวถึงการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของ ประเทศในเอเชีย 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอิสราเอล และประเทศมาเลเซีย ประเด็นที่สาคัญที่จะกล่าวถึงในการจัดการศึกษามีดังนี้ 1. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย 2. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 3. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ 4. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 6. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศแถบเอเชียหลายประเทศมีความเจริญก้าวหน้า จนเป็นที่ยอมรับทั้งทั่วโลก เช่น ญี่ปุ่น อิสราเอล เป็นต้น การจัดแต่ละประเทศมีลักษณะ เฉพาะที่แตกต่างกันส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความเชื่อประเพณีวัฒนธรรมโดยมีรายละเอียดดังนี้ การศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่น ประภาพรรณ สุวรรณสุข. (2539 : 69) ได้กล่าวถึงการศึกษาปฐมวัยในประเทศ ญี่ปุ่นว่า ประเทศญี่ปุ่นได้จัดการศึกษาระดับปฐมวัยและได้แบ่งสถาบันการศึกษาของเด็ก ก่อนวัยเรียนออกเป็น 2 รูปแบบคือ
  • 4. 82 1. สถานรับเลี้ยงเด็ก อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และการดูแลของกระทรวงสาธารณสุข และการสงเคราะห์ โดยรับเด็กที่แม่ต้องออกไปทางานนอกบ้านรับเด็กตั้งแต่อายุระหว่าง แรกเกิดถึง 6 ปี 2. โรงเรียนอนุบาล อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และการดูแลของกระทรวงศึกษาธิการรับ เด็กอายุระหว่างอายุ 3 – 6 ปี เนื่องจากสถาบันการศึกษาของเด็กปฐมวัยทั้ง 2 รูปแบบนี้ มีประวัติความเป็นมาใน การจัดการศึกษา หลักสูตร หน่วยงานที่จัดดาเนินงาน และบุคลากรที่รับผิดชอบดาเนินการ จัดการศึกษาแตกต่างกันไป เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้นจึงขอเสนอการพัฒนา การศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นแบ่งตามลักษณะของสถาบันดังนี้ 1. ประวัติการจัดการศึกษาปฐมวัย ประภาพรรณ สุวรรณสุข (2539 : 69 – 74) ได้กล่าวถึงประวัติของการจัด การศึกษาในระดับปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นว่ามีการจัดดาเนินงาน 2 ประเภท สรุปได้ดังนี้ 1.1 สถานรับเลี้ยงเด็ก ประเทศญี่ปุ่นเปิดบริการสถานรับเลี้ยงเด็กครั้งแรกใน ปี ค.ศ. 1890 ที่เมืองนิกาต้าโดยที่สามีภริยาคู่หนึ่งได้เปิดโรงเรียนโดยรับเด็กนักเรียนที่ ยากจน ส่วนใหญ่เข้ามาเรียนผลปรากฏว่าเด็กเหล่านั้นจาเป็นที่จะต้องอุ้มน้องมาเรียนในชั้น เรียนด้วย ทาให้เป็นที่รบกวนการเรียนการสอนในชั้นเรียนเป็นอย่างมาก เหตุนี้เองสามี ภริยาคู่นี้จึงตัดสินใจใช้สถานที่ในโรงเรียนให้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็กเล็กไปด้วย จาก จุดเริ่มต้นนี้เองจนถึงปี ค.ศ. 1906 ปรากฏว่าได้เกิดสถานรับเลี้ยงเด็กขึ้นอีก 15 แห่ง เพื่อ บริการเด็กที่แม่จะต้องไปทางานหรือเด็กที่ขาดแม่ ซึ่งโรงเรียนเหล่านั้นเปิดโดยเอกชน ทั้งหมด ต่อมาในช่วงเศรษฐกิจตกต่าหลังสงครามโลกครั้งที่ 1กระทรวงเคหะ(Ministry of Housing) ได้จัดสร้างสถานรับเลี้ยงเด็ก เพื่อช่วยพ่อแม่ที่ต้องออกไปทางานในปี ค.ศ. 1919 สถานรับเลี้ยงเด็กของเอกชนได้จัดขึ้นในเมืองโอซาก้าและเมืองใหญ่อีกหลายเมืองจนถึงปี ค.ศ. 1988 ปรากฏว่าสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นทั้งหมด 1,495 แห่งในประเทศญี่ปุ่น แม้ว่าการจัดหลักสูตรในระยะเริ่มต้นของสถานรับเลี้ยงเด็กจะคล้ายกับการจัด หลักสูตรของโรงเรียนอนุบาล แต่ทว่าวัตถุประสงค์หลักนั้นแตกต่างกัน โดยที่สถานรับ เลี้ยงเด็กนั้นจัดเพื่อเลี้ยงเด็กที่พ่อแม่ของเด็กต้องออกไปทางานไม่มีระเบียบของรัฐมา ควบคุมจึงไม่เหมือนกับ โรงเรียนอนุบาลที่จัดเพื่อให้การศึกษาเบื้องต้นแก่เด็กเป็นการเตรียม ตัวเด็กให้พร้อมเพื่อเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อไปต่อมาในสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนอนุบาลและสถานรับเลี้ยงเด็กได้เกิดการขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจนทาให้ต่างคน ต่างแยกกันพัฒนา
  • 5. 83 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการเลี้ยงเด็กยังคงเป็นแบบโบราณอยู่คือ ต้องให้เด็กอยู่ภายใต้การดูแลของพ่อแม่เป็นหลัก แต่ทว่าในกฎหมายเด็กปี ค.ศ. 1949 กล่าวไว้ว่าเทศบาลจะต้องรับผิดชอบดูแลเด็กในกรณีที่ผู้ปกครองไม่สามารถให้การดูแลได้ เนื่องจากความเจ็บป่วยหรือต้องทางานและในกฎข้อที่ 1 และ 2 ของกฎหมายนี้ได้กล่าวอีก ว่ารัฐบาลจะต้องมีส่วนรับผิดชอบในการพัฒนาสติปัญญาและ ร่างกายของเด็กจึงมีการจัด สนามเด็กเล่น คลินิกแนะแนวเด็กและการบริการรักษาพยาบาลฟรีให้แก่แม่และเด็ก หลังจากปี ค.ศ. 1947 เป็นต้นมา สถานรับเลี้ยงเด็กได้เจริญขึ้นอย่างมากมายอีกทั้ง ยังได้มีการตกลงระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์กับกระทรวงศึกษาธิการ ในเรื่องที่จะขอใช้หลักสูตรการศึกษาของเด็กอายุ 3 – 6 ปี เช่นเดียวกับโรงเรียนอนุบาล ด้วย การจัดสถานรับเลี้ยงเด็กนอกจากที่จะให้รัฐเป็นผู้จัดให้ในสถาบันแล้ว ยังได้มีการจัด ขึ้นในบ้านอีกด้วย แต่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่ามีจานวนเท่าไร ในปี ค.ศ. 1961 สถานรับเลี้ยงเด็กได้จัดบริการพิเศษให้แก่เด็ก ที่มีผู้ปกครอง ประกอบอาชีพประมง และชาวนาในช่วงฤดูกาลประมงและการทานาด้วย ในปี ค.ศ. 1974 ได้มีการสารวจพบว่ามีสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นมากมายเป็นของ รัฐถึง 10,332 แห่ง และเป็นของเอกชน 6,160 แห่ง 1.2 การอนุบาลศึกษาในประเทศญี่ปุ่นโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของประเทศ ญี่ปุ่นนั้นตั้งโดยรัฐบาลในวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1876 โดยจัดเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน ฝึกหัดครูสตรี และต่อมาในปี ค.ศ. 1878 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการฝึกหัดครู อนุบาลขึ้นในโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีแห่งนั้น มีผลทาให้การอนุบาลแพร่หลายในญี่ปุ่นเป็นอัน มาก ดังจะเห็นได้ว่าในปี ค.ศ. 1900 ได้มีโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐและ เอกชนเป็นจานวน ถึง 241 แห่ง โรงเรียนอนุบาลที่จัดขึ้นในช่วงแรกนั้นได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของ เฟรอเบลและแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัยของอเมริกาในสมัยนั้น แม้จะ ได้รับอิทธิพลมาจากเฟรอเบลและอเมริกาก็ตาม ญี่ปุ่นได้ทาการปรับแนวความคิดเหล่านั้น ให้สอดคล้องกับความต้องการและวัฒนธรรมของตน ดังจะเห็นได้จากจุดมุ่งหมายของ การศึกษาปฐมวัยที่กล่าวไว้ว่า “การศึกษาปฐมวัยนั้นมุ่งเพื่อฝึกให้เด็กเกิดการรับรู้ตามธรรมชาติพัฒนาให้จิตใจ ตื่นอยู่เสมอ อีกทั้งก่อให้ร่างกายแข็งแรง ปลูกฝังความหนักแน่นของอารมณ์พร้อมทั้งฝึกให้ ใช้ภาษาและท่าทางที่สุภาพ” หลักสูตรของโรงเรียนอนุบาลในญี่ปุ่นนั้นครอบคลุมถึงเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับชีวิต ความสวยงาม และความรู้ทั่วไป ส่วนกิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่น ได้แก่ การเล่นลูกบอล 5 สี ต่อโซ่ พับกระดาษ ใช้ตะเกียบ ร้องเพลงและการตัดกระดาษ เป็นต้น
  • 6. 84 ในปี ค.ศ. 1899 สมาคมเฟรอเบลได้เสนอให้กระทรวงศึกษาธิการสร้างกฎเกณฑ์ของ การอนุบาลขึ้นมา กฎเกณฑ์เหล่านี้ได้มีผลใช้มาจนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1947 และกฎเกณฑ์อัน เดียวกันนี้เองได้ใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างพระราชบัญญัติการศึกษาปฐมวัยใน ปี ค.ศ. 1926 ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้ครอบคลุมถึงเกณฑ์อายุ จานวนชั่วโมงที่ใช้ใน การสอน จานวนเด็กที่ควรจะรับอุปกรณ์ที่ควรจะมีวัตถุประสงค์ตลอดจนหลักสูตรและจาก การสารวจโรงเรียนอนุบาลในปี ค.ศ. 1926 พบว่ามีโรงเรียนอนุบาล เพิ่มขึ้นถึง 1,066 โรง และมีเด็กนักเรียนถึง 100,000 คน โดยที่โรงเรียนส่วนใหญ่นั้นอยู่ในตัวเมือง ในระยะก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย รัฐบาลได้เล็งเห็นความสาคัญของ การศึกษาปฐมวัยจึงได้ประกาศให้มีหลักสูตรอนุบาลศึกษาขึ้นใช้ทั่วประเทศแต่เมื่อเกิด สงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น การอนุบาลศึกษาได้หยุดชะงักไป และได้เปลี่ยนไปเป็นสถานเลี้ยง เด็กแทน ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงการอนุบาลศึกษาได้ฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ กลายเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเบื้องต้นของการศึกษาแห่งชาติ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนอนุบาลในประเทศญี่ปุ่นเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มาก ดังจะเห็นได้จากมีการถกเถียงถึงเป้าหมายการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งยังได้มีการจัดทา กฎหมายศึกษาในปี ค.ศ. 1947 ด้วยและได้มีการตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรหลาย ชุดด้วยกันเพื่อที่จะให้ไปปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง ความต้องการ ของสังคมและเด็กญี่ปุ่น จากการสารวจของกระทรวงศึกษาธิการในปี ค.ศ. 1970 พบว่าประชาชนชาวญี่ปุ่น มีความต้องการในด้านการศึกษาปฐมวัยมาก ประมาณร้อยละ 50 ของผู้ปกครองมี ความต้องการให้ลูกตนได้เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลร้อยละ 15 ของผู้ปกครองทั้งหมด มี ความต้องการให้ลูกของตนได้เข้าเรียนในศูนย์เลี้ยงเด็กและน้อยกว่าร้อยละ 3 ผู้ปกครองที่ไม่ ตอบ พบว่าร้อยละ 60 ของนักเรียนที่เข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งได้ผ่านโรงเรียน อนุบาลแล้ว เนื่องจากความต้องการของประชาชนในเรื่องการศึกษาปฐมวัย จึงทาให้มีการสร้าง โรงเรียนอนุบาลขึ้นมาอีกมากมายทั้งที่เป็นของเอกชนและรัฐบาล แต่ทว่าค่าใช้จ่ายใน การส่งลูกเข้าเรียนในโรงเรียนเอกชนนั้นแตกต่างจากโรงเรียนรัฐบาลอย่างเห็นได้ชัดเจน จึง ได้เกิดมีการเรียกร้องขอให้ทางรัฐบาลจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเพิ่มอีก ตามกฎของกระทรวงศึกษาธิการยอมให้แต่ละชั้นเรียนมีนักเรียนไม่เกิน 40 คนแต่ จากการสารวจใน ปี ค.ศ. 1969 พบว่าเฉลี่ยแล้วมีเด็กเพียง 34 คน ในแต่ละชั้นและ อัตราส่วนระหว่างครูกับนักเรียนนั้นคือ 1 ต่อ 25 อย่างไรก็ตามตัวเลขนี้ก็ไม่แน่นอนขึ้นอยู่ กับระดับอายุของเด็ก ในขณะเดียวกันเด็กจะต้องอยู่ในโรงเรียนอย่างต่าวันละ 4 ชั่วโมง
  • 7. 85 รวมทั้งหมด 220 วันภายใน 1 ปี จานวนชั่วโมงของเด็กที่จะอยู่ในโรงเรียนนั้นย่อมต้องขึ้นอยู่ กับระดับของอายุเป็นเกณฑ์ และเปิดเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันเสาร์ จากการศึกษาประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น พอสรุปได้ว่าการศึกษา สาหรับเด็กในประเทศญี่ปุ่นในระยะแรกจัดขึ้นเพื่อพัฒนาระดับสติปัญญา ปลูกฝังให้มี ร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ช่วยให้มีความเจริญงอกงามทางสังคมและมีจริยธรรม จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1882 มีประกาศสาระสาคัญของการอบรมเลี้ยงดูเด็กระบุวัตถุประสงค์ ให้เด็กได้พัฒนาทั้งร่างกายและ จิตใจ พร้อมทั้งพฤติกรรมทางจริยธรรมของเด็กเพื่อเตรียม สาหรับการเรียนในชั้นประถมศึกษาต่อมาพระราชบัญญัติโรงเรียนอนุบาล ในปี ค.ศ. 1926 ได้ระบุวัตถุประสงค์ให้มีการศึกษาแก่พ่อแม่ของเด็กทางบ้านด้วย แต่ในสมัยสงคราม ศักราชโชวะ (ค.ศ. 1926 – 1945) วัตถุประสงค์ของการศึกษาปฐมวัยค่อย ๆ เอียงไปทาง ชาตินิยม และระบบทหารตามเหตุการณ์แวดล้อม จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึง ได้มีประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของการศึกษาเน้นไปทางการศึกษา เพื่อชีวิตที่มีความสุขและสันติแทน 2. รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่นจัดบริการแก่เด็กอายุ 3 – 5 ปี โดยมีหลักสูตรที่ใช้จัดการศึกษาแบบหลักสูตร 1 ปี หลักสูตร 2 ปี และหลักสูตร 3 ปี ผู้มี หน้าที่จัดการศึกษาในแต่ละ ท้องถิ่นสามารถเลือกจัดตามความพร้อม โดยมีรูปแบบการจัด 2 ประเภทคือ 2.1 โรงเรียนอนุบาล รับเด็กอายุระหว่าง 3 – 5 ปี แบ่งกลุ่มตามอายุ คือ กลุ่มอายุ 3 ขวบ กลุ่มอายุ 4 ขวบ และกลุ่มอายุ 5 ขวบ จานวนกลุ่มละ 40 คน เด็กเหล่านี้จะเรียน อยู่ที่โรงเรียนวันละ 4 ชั่วโมง โดยกาหนดเวลาเรียนว่าต้องเรียนมากกว่า 220 วันต่อ 1 ปี และมีวัตถุประสงค์เพื่อจะเสริมสร้างสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจของเด็ก ๆ ให้เจริญ ควบคู่กันไป พร้อมทั้งช่วยสร้างแบบแผนขั้นต้นแห่งความประพฤติในชีวิตประจาวันของเด็ก ด้วยการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก่เด็ก 2.2 สถานรับเลี้ยงเด็กหรือศูนย์เลี้ยงเด็กจัดขึ้นเพื่อรับเลี้ยงเด็กที่พ่อแม่ต้องออกไป ทางาน โดยเฉพาะเด็กที่มาจากครอบครัวที่ฐานะค่อนข้างยากจน ซึ่งโดยปกติจะใช้เวลาให้ การเลี้ยงดูวันละ 8 ชั่วโมงโดยเด็กจะมาที่สถานรับเลี้ยงเด็กประมาณ 08.30 น. และกลับ บ้านเวลา 16.30 น. หากแต่เวลามาและกลับของเด็กนั้นจะไม่แน่นอนตายตัว จะขึ้นอยู่กับ เวลาทางานของพ่อแม่มีเด็กบางคนจาเป็นต้องมาสถานรับเลี้ยงเด็กก่อนเวลา 08.00 น. จึง มีการเปิดบริการที่เรียกว่าสถานรับเลี้ยงเด็กภาคเช้า (Early Morning Nursing) ซึ่งเริ่มจาก
  • 8. 86 เวลา 07.30 น. และยังมีการเปิดบริการอีกพวกหนึ่งที่เรียกว่าสถานรับเลี้ยงเด็กกลับช้า (Staying late Nursing) สาหรับเด็กที่ครูต้องให้การดูแลจนกว่าพ่อแม่จะมารับกลับในเวลา 18.00 น. สาหรับเด็กที่มารับบริการจะรับเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ขวบ การแบ่งกลุ่ม เด็กจะแบ่งตามขั้นพัฒนาการเป็นสาคัญ โดยมีการจัดกลุ่มและจัดชั้นแบบรวม 3. หลักสูตร หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่น มี 2 ประเภท คือ 3.1 หลักสูตรสาหรับโรงเรียนอนุบาลในประเทศญี่ปุ่น เป็นการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนา บุคลิกภาพแก่เด็กปฐมวัย อายุระหว่าง 3 – 5 ปี จุดประสงค์ของหลักสูตรอนุบาล นั้นได้กาหนดขึ้นตามมาตรฐาน คือให้มีแผนการสอนที่เหมาะสม โดยมีกิจกรรมที่คานึงถึง ความแตกต่างระหว่างวัยของเด็ก ระยะเวลาในการสอนและสภาพของท้องถิ่นวิชาที่จัดให้ เด็กเรียนมี 6 รายวิชา คือ 3.1.1 พลานามัย เพื่อช่วยกระตุ้นเด็กให้สนใจในการออกกาลังกายแบบต่าง ๆ ให้ มีสุขนิสัยและทัศนคติที่จาเป็นสาหรับการมีชีวิตที่สมบูรณ์มั่นคงและมีสุขภาพดี 3.1.2สังคมศึกษา เพื่อช่วยกระตุ้นให้เด็กกระตือรือร้น และสนใจเกี่ยวกับสังคมและ สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว และพัฒนาลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค์ ทั้งในชีวิตส่วนตัว และชีวิตในสังคมของเด็กในอนาคต 3.1.3ธรรมชาติศึกษาเพื่อช่วยให้เด็กมีความเข้าใจและคุ้นเคยกับสัตว์พืชและ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ส่งเสริมให้เด็กฝึกสังเกต วิเคราะห์ และจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นด้วยตนเองให้มีทักษะที่จาเป็นสาหรับใช้ในชีวิตประจาวันให้รู้จักและสนใจในตัวเลข ต่าง ๆ 3.1.4 ภาษา เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง ในการฟังนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ ได้เข้า ไปส่งเสริมให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสระโดยใช้ภาษาได้ถูกต้อง และสนับสนุนให้ เด็กได้อ่านหนังสือที่มีรูปภาพและนิทานต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่มและจินตนาการ ของเด็กให้กว้างไกล 3.1.5 ดนตรีและจังหวะ เพื่อให้เด็กได้สนุกสนานกับการฟังดนตรี ส่งเสริมการร้อง เพลง การเล่นกับเครื่องดนตรี ต่างๆ ให้อิสระในการที่เด็กจะแสดงออกทั้งทางความคิดเห็น และความรู้สึกทางเสียงเพลงและการแสดงท่าทางอย่างเสรี 3.1.6 การวาดภาพและงานฝีมือเพื่อพัฒนาทางด้านสุนทรียภาพช่วยให้เด็กได้มี ประสบการณ์ที่สนุกสนานในการแสดงออกทางรูปภาพที่วาดหรืองานฝีมือต่าง ๆ อย่างมี อิสระ
  • 9. 87 นอกเหนือจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วในหลักสูตรยังได้บรรจุการแข่งขัน กีฬา การไปปิกนิก การสารวจสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชนเข้าไว้ด้วยรวมทั้งพิธีการและงาน ฉลองต่าง ๆ เช่น วันเด็กเทศกาลฉลองตุ๊กตา วันดูพระจันทร์ เทศกาลดูดาว หรือวันฉลอง ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอนุบาล เป็นต้น 3.2 หลักสูตรสาหรับสถานรับเลี้ยงเด็ก ถ้าเป็นเด็กกลุ่มอายุเท่ากันกับเด็กโรงเรียน อนุบาลนั้นจะตั้งอยู่บนพื้นฐานของ “มาตรฐานของหลักสูตรอนุบาล” หรือพูดอีกอย่างหนึ่ง ก็คือเป็นมาตรฐานที่ปรับมาจากมาตรฐานขั้นต่าของสถาบันสวัสดิการเด็กนั่นเอง ในสถานรับเลี้ยงเด็กมีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ การตรวจสุขภาพประจาวัน การนอน การพักผ่อนกลางวัน การตรวจผิวหนังและอุณหภูมิของร่างกาย การตรวจความสะอาด เมื่อนักเรียนมาโรงเรียน การเล่นอย่างอิสระ ซึ่งเด็กอาจจะเลือกเล่นดนตรี กิจกรรมเข้า จังหวะ การวาดภาพฝึกศิลปะปฏิบัติ ศึกษาธรรมชาติ สังคมศึกษา หรือเล่นเกมกันเป็นกลุ่ม เพื่อความสนุกสนานและเมื่อถึงเวลากลับบ้านก็จะมีการตรวจความสะอาดดูว่ามีแผลหรือ บาดเจ็บที่ตรงไหนบ้าง เสื้อผ้าเรียบร้อยหรือไม่ทุกครั้ง กิจกรรมอื่น ๆ ก็คล้ายคลึงกับโรงเรียนอนุบาลคือ มีการพาเด็กไปปิกนิก มีกิจกรรม สารวจรอบ ๆ โรงเรียนและพาไปร่วมชมงานเทศกาลต่าง ๆ ตามประเพณี ตามปกติแล้ว สถานรับเลี้ยงเด็กจะดูแลเด็กวันละ 8 ชั่วโมง ในปัจจุบันหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเป็น หลักสูตรระดับหนึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงการศึกษาธิการเป็นผู้ กาหนดตามกฎหมายการศึกษาในระบบโรงเรียน (The School Education Law) และ ข้อบังคับกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาในระบบ โรงเรียน (Enforcement Regulations for the School Education Law) โดยหน่วยงานดังกล่าวได้กาหนดเวลา เรียนอย่างต่าสาหรับระดับการศึกษาปฐมวัยและกาหนดรายวิชาและจานวนชั่วโมงที่ต้อง ทาการสอนสาหรับการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศญี่ปุ่นไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับการจัดการศึกษาใน ระดับนี้เป็นหน้าที่ของจังหวัด (Prefecture) ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค โดยมี คณะกรรมการการศึกษาของจังหวัด (Prefectural Board of Education) มีหน้าที่ในการบริหาร การศึกษาขั้นพื้นฐานคือบริการให้คาปรึกษาและข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมสารวจความต้องการ ในการเรียนรู้ของประชาชนและพัฒนาโปรแกรมการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวิตพร้อมทั้งรับผิดชอบการจัดฝึกอบรมสาหรับผู้จัดโปรแกรม ตลอดจนเตรียมระบบและ วิธีการสาหรับฝึกอบรมดังกล่าว นอกจากจังหวัดจะเป็นผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาแล้วยังมี หน่วยงานอื่น ๆ ที่สนับสนุนและกากับดูแลการจัดการศึกษาในแต่ละรูปแบบ ดังนี้
  • 10. 88 4.1 การจัดการศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์ การกีฬา และวัฒนธรรม รับผิดชอบ ดูแลโรงเรียนอนุบาลทั้งโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐที่ท้องถิ่นหรือจังหวัด และโรงเรียน อนุบาลของเอกชน โดยกระทรวงศึกษาธิการจะออกกฎที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาค่า เล่าเรียนซึ่งจะคานึงถึงหลักสูตรจานวนปีที่จะต้องเรียน ชั่วโมงที่สอน มาตรฐานของตึก เรียน เครื่องมือภายในโรงเรียนจานวนครู และครูใหญ่ เป็นต้น 4.2 กระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์ จะดูแลและรับผิดชอบสถานรับเลี้ยง เด็กโดยมีการกาหนดมาตรฐานอย่างต่าของสถานรับเลี้ยงเด็กไว้ ซึ่งมาตรฐานนั้นรวมถึง สถานที่เครื่องมือสาหรับเลี้ยงดูเด็กทารก ห้องเลี้ยงเด็ก อัตราส่วนระหว่างครูกับนักเรียน ส่วนหลักสูตรและเครื่องเล่นต่าง ๆ สาหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี นั้น จะให้เหมือนกับของ โรงเรียนอนุบาลทุกประการสาเหตุที่จัดเหมือนกันก็เนื่องมาจากข้อตกลงระหว่างกระทรวง สาธารณสุขและการสงเคราะห์กับกระทรวงศึกษาธิการในปี ค.ศ. 1963 เงินสนับสนุนในการดาเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็กนั้น ได้รับความร่วมมือกัน ระหว่างส่วนบริการงานส่วนท้องถิ่นกับรัฐบาล โดยที่รัฐบาลให้ความช่วยเหลือผ่านทาง องค์การสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ ส่วนค่าเล่าเรียนนั้นขึ้นอยู่กับฐานะครอบครัวของเด็กเป็น หลักถ้าเด็กที่มาจาก ครอบครัวที่มีฐานะต่าก็แทบจะไม่ต้องจ่ายเงินเลย 5. บุคลากร บุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยของประเทศญี่ปุ่นมีดังนี้ 5.1 บุคลากรในโรงเรียนอนุบาลจะประกอบไปด้วยผู้อานวยการ คณะครูและอาจจะมี บุคลากรอื่นๆ อีกแต่ในสถานการณ์พิเศษก็อาจมีการยกเว้นได้ ผู้อานวยการ เป็นผู้บังคับบัญชาและดูแลรับผิดชอบรวมทั้งให้คาปรึกษาแก่ผู้ร่วมงานอื่นๆ มักจะเป็นผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตรครูระดับชั้นเยี่ยมและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ทางด้านการศึกษาไม่น้อยกว่า 5 ปี ครูประจาการที่ปฏิบัติงานเต็มเวลา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบเด็กมักจะมี วุฒิปริญญาตรีหรืออนุปริญญาจากวิทยาลัย ในบางกรณีอาจมีผู้ช่วยครูที่ทางานเต็มเวลา หรือครูประจาการที่ทางาน ไม่เต็มเวลามาสอนแทนบ้าง แต่ผู้ช่วยหรือครูแบบทางาน ประเภทไม่เต็มเวลาเหล่านี้ก็จะต้องมีวุฒิอย่างน้อยมัธยมปลาย โรงเรียนอนุบาลทุกแห่งจะมีหัวหน้าครูซึ่งจะทาหน้าที่ช่วยเหลือผู้อานวยการมีครู พยาบาล หรือผู้ช่วย และเสมียน บุคลากรดังกล่าวมีความจาเป็นสาหรับโรงเรียน นอกจากนี้ถ้าสามารถจัดหาได้ก็ควรจะได้จัดหาแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรรวมไว้ด้วย ห้องเรียนแต่ละห้องควรมีครูเต็มเวลาประจาอย่างน้อย 1 คน ต่อนักเรียนที่อายุ เท่ากันไม่เกิน 40 คน
  • 11. 89 5.2 บุคลากรของสถานรับเลี้ยงเด็กประกอบด้วย พยาบาลกลางวันและแพทย์ ที่มาประจาเฉพาะบางเวลา สาหรับพยาบาลกลางวันนั้นควรจะมีอัตราส่วน 1 คนต่อเด็ก อายุต่ากว่า 3 ขวบ 6 คน และอย่างน้อย 1 คนต่อเด็กอายุระหว่าง 3 – 4 ขวบ 20 คน สถานรับเลี้ยงเด็กทุกแห่งควรมีพยาบาลประจาอย่างน้อยที่สุดแห่งละ 2 คน พยาบาล เหล่านี้ควรจะมีวุฒิทางพยาบาลจากสถาบันที่กระทรวงสาธารณสุขและการสงเคราะห์หรือ องค์การอื่นที่เกี่ยวข้องรับรองแล้ว การศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอล ประเทศอิสราเอลเคยสูญเสียอิสรภาพนานถึง 2,000 ปี ประชาชนในประเทศจึง ต้องอพยพไปอยู่ประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก จนกระทั่งภายหลังได้อพยพกลับมารวมตัวกันอยู่ใน ดินแดนเดิมที่เคยอาศัยอยู่ ประเทศอิสราเอลจึงเป็นประเทศที่เพิ่งตั้งตัวใหม่ แต่มีอดีตที่ รุ่งเรืองและยาวนานประกอบไปด้วยสังคมที่กาลังเติบโตและพัฒนาและมีโปรแกรม การศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้า ๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป อิสราเอลมีส่วนผสมของสังคม ตะวันออกและตะวันตกอยู่ด้วยกัน เป็นที่รวมของผู้คนที่มาตั้งหลักแหล่งจากทุกมุมโลก จะ เห็นได้จากระบบการศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายของเยาวชนของชาติซึ่งมี ภูมิหลังที่แตกต่างกัน มีทั้งกลุ่มที่ยึดมั่นศรัทธาในศาสนาและกลุ่มที่ไม่มีศาสนามีทั้งอาณา เขตของพวกอาหรับและอาณาเขตของพวกฮิบรูและยังมีภาษามากมายที่ใช้ในการติดต่อกัน อย่างไรก็ดี แม้อิสราเอลจะเป็นดินแดนแห่งความขัดแย้งดังกล่าว แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้งประเทศ ร่วมใจกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวและยึดเป็นสิ่งสาคัญ คือ การจัดการศึกษาปฐมวัย 1. ประวัติการศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลจัดขึ้นตามความเชื่อที่ว่าการให้การศึกษาแก่ เด็กในวัยนี้จะมีผลต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากการหล่อหลอมกล่อมเกลาเด็กทาได้ง่าย กว่าและประสบผลสาเร็จมากกว่า ด้วยความเชื่อดังกล่าวรัฐบาลได้จัดการศึกษาภาคบังคับ ให้ฟรีแก่เด็กอายุ 5 ขวบ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 โดยรัฐสภาออกกฎหมายการศึกษาภาค บังคับว่าเด็กวัย 5 ขวบ ทุกคนต้องเข้าโรงเรียนอนุบาลเพื่อจะได้เรียนภาษาฮิบรู และเรียนรู้ วัฒนธรรมประจาชาติ ทั้งนี้โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้การศึกษาในระดับนี้เป็นเครื่องอุดช่อง ระหว่างประชาชนผู้อพยพมาจากดินแดน ต่าง ๆ กว่า 100 ประเทศ การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุคแรก ๆ มิได้ประสบผลสาเร็จดังที่คาดไว้ ทั้งนี้ เนื่องจากผู้อพยพใหม่ ในช่วง ค.ศ. 1950 – 1960 ส่วนใหญ่มาจากประเทศที่นับถือศาสนา อิสลามซึ่งยากจนและอพยพมาจากหลายประเทศจึงประสบปัญหาด้านวัฒนธรรม
  • 12. 90 เศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันมากจนไม่สามารถใช้การศึกษาในระดับนี้เป็นเครื่อง หล่อหลอมเด็กเพื่อให้ประเทศชาติเป็นปึกแผ่นได้ จึงจาเป็นต้องปรับวิธีการเรียนการสอน เสียใหม่เพื่อให้ผู้อพยพมาใหม่ยอมรับได้จนกระทั่งใน ปี ค.ศ. 1960 – 1970 มีสถิติว่าเด็ก อายุ 3 – 4 ขวบ ทุกคนได้รับการศึกษาปฐมวัย ในปี ค.ศ. 1976 และ 1977 รัฐได้ใช้จ่ายเงินถึง ร้อยละ 8.33 ของงบประมาณ การศึกษาทั้งหมดไปทางด้านการศึกษาปฐมวัย โดยเด็กที่อายุถึง 5 ขวบ จะได้รับการศึกษา ในระดับการศึกษาปฐมวัยซึ่งเป็นการศึกษาภาคบังคับและให้เปล่า และเด็กเกือบร้อยละ 100 จะเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล (คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 26 อ้างจาก สานักงานสถิติกลางแห่งอิสราเอล,1890) สาหรับเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ รัฐบาลจะให้เงิน อุดหนุนค่าเล่าเรียนโดยพิจารณาตามความจาเป็นของครอบครัวเป็นราย ๆ ไป ในปี ค.ศ. 1978 อิสราเอลมีโรงเรียนอนุบาล 5,400 แห่ง และมีเด็กเข้าเรียนใน โรงเรียนอนุบาลเป็นจานวนมาก กล่าวคือ เด็กในกลุ่มอายุ 5 ปี เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล ร้อยละ 100 เด็กในกลุ่มอายุ4 ปีและ 3 ปี เข้าเรียนร้อยละ 97 และ 87 ตามลาดับ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2526 : 218) ในปี ค.ศ. 1979 – 1980 รัฐบาลได้จัดทุนอุดหนุนสาหรับการจัดการศึกษาของเด็ก ปฐมวัยจานวนกว่า 5,000 ห้องเรียน ซึ่งรับเลี้ยงดูเด็กระหว่าง 3 – 6 ขวบ เป็นจานวนถึง 264,000 คน (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 27 อ้างจากสานักงานสถิติ กลางแห่งอิสราเอล, 1980) ในปี ค.ศ.1989 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม พยายามให้มีการสอนอ่านเขียนใน โรงเรียนอนุบาลซึ่งขัดกับปรัชญาดั้งเดิมของการให้การศึกษา จึงได้มีการนาวิธีการสอน ภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) มาใช้ โดยเน้นการจัดสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วย ภาษาเขียนและเปิดโอกาสให้เด็กได้พูดและเขียน นอกจากนี้ยังพาเด็กไปทัศนศึกษานอก สถานที่ ได้เรียนรู้ศิลปะดนตรี ละคร และคอมพิวเตอร์ และในปี ค.ศ. 1990 กระทรวงศึกษา และวัฒนธรรมได้เพิ่มการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกระดับการศึกษา ในระดับ การศึกษาปฐมวัยจัดเป็นโปรแกรมให้เด็กได้หัดสังเกตสิ่งรอบตัว โดยผนวกเข้ากับกิจกรรม การเล่นบทบาทสมมุติ กิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ การเล่านิทาน หรือการทาโครงงาน แม้ว่าสถิติจะแสดงให้เห็นว่าอิสราเอลเป็นประเทศที่ประสบผลสาเร็จในการขยาย การศึกษาปฐมวัย แต่อิสราเอลก็มิได้นิ่งนอนใจได้หาทางปรับปรุงคุณภาพในการจัด ตลอดจนวิธีการให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของตนเองตลอดเวลาปัญหาที่ อิสราเอลยอมรับว่าตนเองยังประสบอยู่และกาลังทดลองหาแนวทางแก้ไข ได้แก่
  • 13. 91 1. ช่องว่างทางด้านการเรียนรู้ของเด็ก โดยมีเด็กเป็นจานวนมากที่จัดว่าเป็นผู้ด้อย โอกาสทางการศึกษาทาให้เกิดการเสียเปรียบแก่เด็กอื่น ๆ รัฐบาลจึงได้พยายามแก้ปัญหา บนรากฐานของความเชื่อที่ว่าการแก้ไขเด็กได้เร็วเท่าไรก็จะอุดช่องว่างในการเรียนรู้ของ เด็กได้มากเท่านั้น รัฐบาลจึงได้เน้นพัฒนาการทางด้านสติปัญญาแก่เด็กด้อยโอกาส โดย ใช้การจัดกลุ่มเด็กเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เด็กได้รับการสอนความคิดเบื้องต้นทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษ อย่างไรก็ดีวิธีการนี้ต้องอาศัยการแนะแนวสาหรับครูเป็นเครื่องช่วย ทาให้ไม่ประสบผลสาเร็จดังคาดหวัง เนื่องจากอิสราเอลไม่มีบุคลากรผู้ที่จะให้การแนะแนว อย่างเพียงพอ 2. ช่องว่างทางด้านวัฒนธรรมและค่านิยมระหว่างครูกับพ่อแม่เด็กในช่วงแรก ๆ ครู จะพยายามสอนแม่เด็กให้เรียนรู้ภาษาฮิบรูสอนสุขศึกษาจิตวิทยาการศึกษาและการ ปกครองแบบประชาธิปไตย แต่ประสบความล้มเหลว เนื่องจากความแตกต่างทางด้าน วัฒนธรรมและค่านิยมในการดาเนินชีวิต ครูจึงเกิดความรู้สึกดูหมิ่นพ่อแม่เด็กว่าเป็นพวกไร้ วัฒนธรรม ต่อมารัฐบาลได้หาทางแก้ไขจนเป็นผลสาเร็จ โดยให้ความสนใจและยอมรับ วัฒนธรรมพื้นฐานของพ่อแม่เด็กชักชวนให้มาร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้ พ่อแม่เด็กได้แสดงออกซึ่งวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนก่อนที่จะอพยพมาอิสราเอล พร้อมทั้ง เปิดโอกาสให้เล่าถึงชีวิตในวัยเด็กในประเทศของตน 3. ช่องว่างระหว่างบุคคลและสังคม ปัญหาข้อนี้เกิดจากการที่พ่อแม่ไม่รู้จัก หรือไม่ เข้าใจความสาคัญของตนเอง เนื่องจากวัฒนธรรมของตนไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมทั่วไป อิสราเอลในช่วงเวลานั้น ทาให้ผลกระทบตกมาอยู่ที่ตัวเด็ก เด็กเป็นจานวนมากไม่รู้จักชื่อ ตนเอง ไม่รู้จักชื่อพ่อแม่ พี่น้องด้วยวิธีการในข้อ 1.2 กล่าวคือ การที่ครูยอมรับวัฒนธรรม ดั้งเดิมของพ่อแม่เด็กทาให้พ่อแม่เด็กเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมเดิมของตนทาให้รู้จัก ความสาคัญของตนเองมากขึ้น 2. รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยในอิสราเอลจัดขึ้นโดยมุ่งที่จะส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตาม ความสามารถของแต่ละบุคคล โดยรัฐบาลได้อาศัยอาสาสมัคร พ่อแม่ เด็กวัยรุ่น หญิงที่มี อายุ ตลอดจนครูให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก โดยคานึงถึงความสามารถส่วนบุคคล การศึกษาปฐมวัยในอิสราเอล แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 2.1 โรงเรียนอนุบาล (Kindergaten) การจัดการศึกษาขั้นอนุบาลศึกษาเป็น การศึกษาภาคบังคับและจัดโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายรับเลี้ยงดูเด็กอายุระหว่าง 5 – 6 ขวบ มีทั้ง โรงเรียนของรัฐบาลกลาง (Govemment Preschool) และโรงเรียนขององค์การต่าง ๆ ซึ่ง อาจเป็นของ เอกชนหรือของเทศบาลก็ได้ โรงเรียนของรัฐบาลได้จัดทุนอุดหนุนสาหรับ
  • 14. 92 การจัดการศึกษาในระดับอนุบาล การรับเด็กใช้วิธีพิจารณาว่าบ้านอยู่ใกล้โรงเรียนเป็น เกณฑ์ การจัดนักเรียนเข้าห้องเรียนจะสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมท้องถิ่นที่เกี่ยวพันกันใน หมู่ครอบครัว และในขณะเดียวกันโรงเรียนก็ยังคงพยายามที่จะจัดกลุ่มของนักเรียนตาม อายุ และมีบ่อยครั้งที่กลุ่มนักเรียนห้องเดียวกันจะมีช่วงอายุต่างกันถึง 2 ปี 2.2 โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) โรงเรียนเด็กเล็กรับดูแลเด็กอายุ 3–5 ขวบ หลักสูตร 2 ปี อยู่ภายใต้การดูแลของสภาเทศบาล ซึ่งให้การอุดหนุนเรื่อง สถานที่ อุปกรณ์ เงินเดือนครูผู้ช่วยครู และค่าใช้จ่ายอีกเล็กน้อยส่วนกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจะเป็น ผู้จ่ายเงินเดือนครูและให้การนิเทศ ตลอดจนให้เงินอุดหนุนแก่ครอบครัวเด็กทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ รายได้ของแต่ละครอบครัว 2.3 สถานรับเลี้ยงเด็ก (Day Care) หรือศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวันรับดูแลเด็กตั้งแต่ อายุ 3 เดือน ถึง 4 ขวบ โปรแกรมการจัดศูนย์เลี้ยงเด็กนี้เป็นสวัสดิการสาหรับมารดาที่ ต้องทางานนอกบ้าน โดยรับดูแลเด็กตั้งแต่ทารกอายุ 3 เดือน ไปจนถึงเด็กที่จะเข้าโรงเรียน ได้วิธีการดูแลในแต่ละศูนย์จะแตกต่างกันไป โดยปกติแล้วจะเป็นการเลี้ยงดูแทนจนถึงอายุ 4 ขวบ 2.4 การศึกษาปฐมวัยในคิบบุทซ์ คิบบุทซ์ คือ “ประชาคมที่รวมอยู่ด้วยกันอย่าง สมัครใจส่วนมากจะเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ไม่มีผลประโยชน์ส่วนบุคคล แต่รับผิดชอบต่อ ความต้องการของสมาชิกและครอบครัว” (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2534 : 37 อ้างจาก Encyclopedia Judaica. 1971) ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของคิบบุทซ์ก็คือ ความเอาใจใส่ดูแลต่อเด็ก ๆ ของสมาชิกในประชาคมในคิบบุทซ์ เด็ก ๆ จะอยู่ร่วมกันใน บ้านเด็กและจะอยู่กับพ่อแม่เฉพาะเวลาที่ว่างเท่านั้น การศึกษาสาหรับเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูในโรงเรียนของคิบบุทซ์จะพิเศษแตกต่างไป จากปกติ เมื่ออายุได้ 6 สัปดาห์ ทารกจะได้รับการดูแลอยู่ในบ้านเด็กอ่อนในคิบบุทซ์ จนกระทั่งอายุได้เดือนครึ่งถึงก่อนอายุได้ 2 เดือนเล็กน้อย ทารกจะได้อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เล็ก ๆ ในบ้านเด็กอ่อนขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของทารกแต่ละคน จานวนทารกที่อยู่ในกลุ่มอายุ เดียวกันจะแปรไปตามจานวนผู้ดูแล เมื่อทารกโตขั้นจนถึงขนาดเดินเตาะแตะจะย้ายไปอยู่ บ้านเด็กเล็ก จนถึงอายุที่จะเข้าเรียนในชั้นบริบาลทารกได้เมื่อเด็กมีความพร้อมแล้วก็จะได้ เลื่อนไปอยู่ในกลุ่มเด็กระดับอนุบาลได้อยู่ในบ้านเดียวกันและเรียนไปด้วยกันกับเด็กที่มีอายุ ในช่วง 3 ขวบครึ่งถึง 7 ขวบการเรียนนี้จะผ่านไปโดยไม่มีลาดับชั้นจนจบชั้นปีที่ 1 ระบบ การเรียนจะแตกต่างกันไปในแต่ละ คิบบุทซ์ แต่สิ่งที่เหมือนกันอย่างหนึ่งในทุกแห่งก็คือ เด็ก จะได้พัฒนาไปในกลุ่มเด็กอายุใกล้เคียงกันได้เรียนรู้ปีแรก ๆ ของการศึกษาบนพื้นฐานของ “ความพร้อม” ของตนเองมากกว่าจะเรียนตามลาดับชั้นที่ได้วางแผนเอาไว้แล้ว
  • 15. 93 สมาชิกในคิบบุทซ์จะมีการติดต่อใกล้ชิดกับศูนย์แนะแนวจิตวิทยาส่วนกลางและ พร้อมเสมอที่จะทาการค้นคว้าทดลองเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้ผลที่คาดหวังไว้ว่าจะ เป็นระบบการศึกษาที่ดีกว่าเดิม พัฒนาการของสังคมในคิบบุทซ์ในระยะหลังนี้ แสดงให้เห็นแนวโน้มของการเปลี่ยน แนวในการเลี้ยงดูเด็กที่กาลังเกิดขึ้นสมาชิกในคิบบุทซ์รุ่นใหม่ ๆ พวกซาบราส (Sabras) ซึ่ง เกิดและได้รับการเลี้ยงดูใน อิสราเอลกาลังเคลื่อนไหวที่จะรวมตัวเป็นครอบครัวมากขึ้น บิดามารดาจานวนไม่น้อยให้ลูกนอนกับตนในบ้านเดียวกันหากเหตุการณ์ยังคงเป็นเช่นนี้ ต่อไปบทบาทและวัตถุประสงค์ของบ้านเด็กก็คงจะต้องเปลี่ยนแปลงไป (สานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 37 – 38) 3. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศอิสราเอลนั้นแต่เดิมมาเป็นหลักสูตรที่ยึด เนื้อหาที่เป็นหลักตามประเพณีดั้งเดิม การจัดการศึกษาปฐมวัยคือการจัดกรอบสาหรับเด็ก ที่บิดามารดาเป็นผู้ลี้ภัย ได้มีโอกาสรับรู้ถึงวัฒนธรรมฮิบรูพื้น ๆ ที่มีโอกาสฟื้นฟูขึ้นใหม่ อย่างช้าๆ ในขณะที่พวกรุ่นพ่อแม่มีภาษาพูดมากมายเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 เกือบทุกคนจะ พูดภาษาฮิบรูได้อย่างคล่องแคล่ว ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนรู้ในชั้นอนุบาลเป็นเวลาหลาย ปี ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะไม่มีความจาเป็นที่บังคับให้ต้องมีโปรแกรมการศึกษาที่ยึดเนื้อหา ซึ่งเน้นวันหยุดในวันสาคัญต่าง ๆ บทเพลงสวดตามประเพณีต่าง ๆ เหล่านี้ก็ตาม แต่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแข็งแกร่งขึ้นจนไม่สามารถจะเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ๆ แม้แต่ กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมก็ยังต้องระมัดระวังในการให้คาจากัดความและพยายาม ส่งเสริมหลักสูตรที่จะช่วยเน้นทั้งทางด้านเนื้อหาความรู้และทักษะทางร่างกายที่จะช่วยใน การเรียนรู้ซึ่งโปรแกรมที่จัดอย่างยอดเยี่ยมนี้พร้อมทั้งเอกสารประกอบต่าง ๆ ได้มี การเตรียมไว้แล้วแต่ครูก็ยังลังเลที่จะใช้ให้เป็นประโยชน์ แบบแผนการศึกษาของอิสราเอลค่อนข้างจะคานึงถึงเด็กเป็นกลุ่มมากกว่าจะ คานึงถึงแต่ละบุคคล แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละเลยความเป็นส่วนตัวของเด็กแต่อย่างใด ในการเรียนการสอนจะมีการเน้นความสาคัญของเด็กในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคมเท่า ๆ กับที่เขาเป็น คน ๆ หนึ่งเด็ก ๆ จะทางานหรือเล่นกันเป็นกลุ่มซึ่งครูจะเป็นผู้เลือกหรือ จัดสรรให้เองครูเป็นผู้มีสิทธิ์ขาดในการควบคุมชั้นและกิจกรรมการเรียนการสอน แต่ก็เปิด โอกาสให้นักเรียนมีอิสระในการทา กิจกรรมและตัดสินใจของตนเองได้ ตัวอย่างเช่น ครูเป็น ผู้จัดตารางเวลาของแต่ละวัน แต่ในระหว่างที่ทากิจกรรมตามตารางนั้น นักเรียนอาจจะเลือก ทางานชิ้นใดก็ได้จะไปเข้ากลุ่มกับใครก็ได้โดยเสรีดังนี้ เป็นต้น
  • 16. 94 หากมีปัญหาการทะเลาะวิวาทกันระหว่างเด็ก ๆ หรือปัญหาระเบียบวินัยต่าง ๆ ครู จะมีวิธีจัดการอย่างนุ่มนวล ตามปกติครูจะใช้วิธีพูดทั้งพูดให้กาลังใจและชี้แจงเหตุผล จะ มีการลงโทษน้อยมากไม่ว่าจะด้วยวิธีใดก็ตาม โดยเฉพาะการลงโทษทางกายนั้นแทบจะไม่ มีเลย ครูอนุบาลจะมีความพอใจในการที่จะวางแผนปฏิบัติการในการเรียนการสอนของ ตนได้อย่างอิสระ แม้ว่าจะต้องยึดถือมาตรฐานเดียวกันก็ตาม เพราะมีกฎเกณฑ์ไม่กี่ข้อ สาหรับครูที่จะต้องปฏิบัติตามโปรแกรมการสอนเนื้อหาความรู้ ศิลปะ หรือพัฒนาการ ทางด้านสังคมในทางตรงกันข้ามกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจะสนับสนุนให้ครูได้ใช้ นวัตกรรมต่าง ๆ ให้ค่อย ๆ เปลี่ยนไปจากหลักสูตรที่ผูกติดอยู่กับปรัชญาหรือประเพณี เดิม ๆ สิ่งที่พึงประสงค์ก็คือ การที่ครูจะให้ความสาคัญกับการสอนเนื้อหาความรู้ พัฒนาการทางร่างกาย และทักษะทางสังคม โดยส่วนใหญ่ของการสอนจะเป็นการสอนใน กลุ่มย่อยก่อน จากความเคลื่อนไหวที่ให้ความสาคัญและเป็นทักษะทางสติปัญญานี้เองทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรระดับการศึกษาปฐมวัยขึ้น ในระยะแรกนั้นการศึกษาปฐมวัย ในอิสราเอลเป็นการศึกษาที่จัดตามแนวความคิดของฟรอเบล และเปสตาลอชซี่ แต่ต่อมา เมื่อมีการอพยพ โยกย้ายกันมากขึ้นนโยบายการศึกษาระดับอนุบาลก็ค่อย ๆ เปลี่ยนไปโดย รับทฤษฎีใหม่ ๆ เช่น ทฤษฎีของมอนเตสซอรี่ และดิวอี้เข้ามาผสมกลมกลืนกันเป็นแนว การสอนต่อมา ทางด้านคิบบุทซ์นั้นแต่เดิมการจัดการศึกษาปฐมวัยจะเน้นทางด้าน จิตวิทยา คือ เน้นพัฒนาการทางอารมณ์และสังคมของเด็ก โดยใช้การเล่นเป็นเครื่องมือ และก็ยังยึดแนวความคิดนี้มาจนปัจจุบัน การอพยพครั้งใหญ่ที่ติดตามมาพร้อมกับการสถาปนาประเทศในปี 1948 นั้นนามา ซึ่งปัญหาอันใหญ่หลวงสาหรับนักการศึกษาทั้งหลายเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลต้องเผชิญหน้า กับเด็ก ๆ จานวนมาก ที่ไม่เพียงแต่มีปัญหาทางด้านภาษาที่ใช้กันโรงเรียนเท่านั้น แต่ยังมี ปัญหาเรื่อง ความพร้อมทางสติปัญญาตามที่โรงเรียนคาดหวังด้วยอิสราเอลตกอยู่ใน สถานการณ์ที่แวดล้อมไปด้วยปัญหาโดยไม่ได้มีการเตรียมตัวรับมาก่อนเลยว่าเด็กที่จัดให้ เข้าเรียนในโรงเรียนนั้นกว่าร้อยละ 50 เป็นเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนซึ่งแต่เดิมมานั้น โรงเรียนอนุบาลนับว่าเป็นขั้นแรกที่จัดขึ้นเพื่อรับมือกับปัญหานี้ แต่ในตอนนี้หลักสูตรใหม่ และกลวิธีการสอนที่เหมาะสม ก็ยังไม่อยู่ในสภาพพร้อมที่จะนามาใช้ได้ ในปีต่อมาบรรดา ครู นักวิจัย และผู้บริหารจึงต้องช่วยกันทางานอย่างหนักและต่อเนื่อง ในการที่จะค้นหา และระบุถึงคุณสมบัติที่เด็ก ๆ เหล่านั้นต้องการก่อนที่จะถูกส่งไป โรงเรียนเพื่อพัฒนา โปรแกรมที่จะช่วยเหลือได้ถูกต้อง
  • 17. 95 คาตอบต่อการเรียกร้องประการแรก คือต้องการเพื่อให้เด็กที่ด้อยโอกาส ประการ ที่สองก็คือการจัดทาโปรแกรมการเรียนการสอนแบบเข้มข้นในโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็น โปรแกรมที่จัดทาขึ้นใหม่สาหรับเด็กเหล่านี้ หลักการสาคัญของโปรแกรมนี้คือเปลี่ยนไป จากการเรียนการสอนปกติ คือ ครูจะสอนให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยให้ความสาคัญระหว่าง กระบวนการเรียนรู้เท่า ๆ กับผลการเรียนรู้ของเด็กเน้นฝึกการใช้ภาษาและทักษะการรับรู้ ความคิดรวบยอดพื้นฐานในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์การใช้อุปกรณ์ที่ช่วยให้เด็ก ได้เรียนรู้ โดยการให้แก้ปัญหาต่าง ๆ ฝึกการสังเกตในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว บรรดาครูจะ ได้รับการขอร้องให้สังเกตความบกพร่องด้าน ต่าง ๆ ของเด็กตั้งแต่แรกมาโรงเรียนและ พยายามหาวิธีช่วยเหลือสิ่งที่ช่วยสร้างบรรยากาศในการทากิจกรรมต่าง ๆ ในห้องเรียนก็ คือความร่วมมือของผู้ปกครองและความไว้วางใจกันระหว่างครูกับนักเรียน วิธีการที่ครู ได้รับคาแนะนาให้ปฏิบัติต่อเด็ก ๆ ที่ด้อยโอกาสเหล่านี้ในการแก้ไขภาพพจน์ของตนเอง ในทางลบและความไม่พร้อมของตนในการเรียนก็คือ การเพ่งเล็งความสนใจไปที่ การแสดงออกและการพูดของเด็ก หลักการของโปรแกรมการเรียนการสอนแบบเข้มว่า โปรแกรมการศึกษาปฐมวัยนี้สร้างขึ้นมารอบ ๆ แกน 2 แกน แกนหนึ่งคือ การเล่นอิสระ ของเด็กและความคิดสร้างสรรค์อีกแกนหนึ่งคือครูผู้คอยสนับสนุนและชี้นา ซึ่งจะพยายาม หาโอกาสที่จะค่อย ๆ ดันเด็กไปตามแนวทางพัฒนาที่ได้วางไว้ความสมดุลระหว่างแกนทั้ง 2 ก็คือ ผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูแต่ละคนกับนักเรียนของตน นั่นเอง 4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในประเทศอิสราเอลมีหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย หลายหน่วยงาน คือ 4.1 กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมรับผิดชอบด้านหลักสูตรการนิเทศการศึกษา การฝึกอบรมบุคลากรให้แก่โรงเรียนอนุบาลสาหรับเด็กในวัย 3 – 5 ปี โดยผู้ดูแลรับผิดชอบ ถือเป็นศึกษานิเทศก์ระดับชาติ ซึ่งทาหน้าที่เป็นทั้งผู้อานวยการกรมและผู้ประสานงาน ระหว่างกรมกับส่วนราชการอื่น ๆ ในกระทรวง นอกจากนี้กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรม ยังรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรและให้ความสะดวกแก่การอบรมครูสาหรับ การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยด้วย 4.2 เทศบาล หรือท้องถิ่น รับผิดชอบด้านบริหารโรงเรียนอนุบาลสาหรับเด็กวัย 3–5 ปี ดูแลซ่อมแซมบารุง (รวมถึงการก่อสร้างต่าง ๆ) ในโรงเรียนอนุบาลในท้องถิ่นที่ตน รับผิดชอบ 4.3 ศูนย์ชุมชน จัดโปรแกรมสาหรับแม่และเด็กในวัยทารกและวัยสอนเดิน
  • 18. 96 4.4กระทรวงอนามัยและสวัสดิการสังคมกระทรวงแรงงาน และองค์การ อาสาสมัคร ต่าง ๆ ดูแลรับผิดชอบสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวันอายุต่ากว่า 4 ปี ของแต่ละ หน่วยงานที่ตนดูแลรับผิดชอบ โดยให้การสนับสนุนด้านการจัดบริการ การนิเทศและ พัฒนาครู 5. บุคลากร สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2534 : 28 – 29) กล่าวถึงบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในอิสราเอล สรุปได้ดังนี้ 5.1 ครูอนุบาล ครูที่มีวุฒิทางอนุบาลจะสอนเด็กจานวน 30 – 35 คน ในแต่ละ ห้องครู เหล่านี้จะต้องผ่านสถาบันฝึกหัดครูประมาณ 2 – 3 ปี หลังจากเรียนอย่างน้อย 3 ปี ในชั้นมัธยมปลาย ปัจจุบันมีแนวโน้มที่ไม่พึงประสงค์นักคือ นักศึกษาครูที่มี ความสามารถสูงมักจะเลือกไปสอนในระดับมัธยมเหลือเพียงนักศึกษาที่มีความสามารถ น้อยกว่ามาฝึกฝนทางการสอน เด็กเล็กแทนกระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจึงต้องพยายาม ช่วยเหลือครูเหล่านี้ โดยการจัดโปรแกรมการฝึกอบรมและสนับสนุนให้ครูเหล่านี้ได้มี โอกาสศึกษาต่อในโรงเรียนอนุบาลของชาวยิวครูทุกคนเป็นหญิง แต่ในโรงเรียนของชาว อาหรับยังถือว่าผู้ชายคือผู้ที่เป็นนักการศึกษาและร้อยละ 54 ของครูอนุบาลในอาหรับจะ เป็นผู้ชาย และคงถือปฏิบัติเช่นนี้มาจนกระทั่งถึงเมื่อไม่นานมานี้เอง 5.2 บุคลากรสนับสนุน ครูอนุบาลจะมีผู้ช่วยที่เป็นคนนอก ผู้ช่วยเหล่านี้ได้รับ การคัดเลือกมาจากแม่บ้านที่สมัครใจจะช่วยเหลือและมีจิตใจรักเด็ก ผู้หญิงเหล่านี้มักจะมี ความรู้น้อยแต่จะช่วยรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานประเภทงานบ้าน คือ จัดเตรียมอาหาร ว่างเก็บกวาดโต๊ะอาหารและช่วยครูในเรื่องทั่ว ๆ ไป เช่น ช่วยแต่งตัวให้เด็กเมื่อจะออกไป ทากิจกรรมกลางแจ้ง ช่วยเช็ดตัว เป็นต้น ช่วงเวลาที่ผู้ช่วยเหล่านี้ได้ช่วยเด็กโดยตรงจะไม่ เกินครึ่งชั่วโมง ครูมีโอกาสที่จะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ด้วย เพราะจะมีครูสอนจะมี ภารกิจหรือกิจกรรมที่จะต้องเดินทางเข้าจังหวัด พยาบาล หมอ ทันตแพทย์ นักจิตวิทยา แวะมาเยี่ยมเยียนเป็นประจา นอกจากนี้ยังมีบริการทางด้านกายภาพบาบัดไว้สาหรับใน กรณีที่จาเป็นด้วย การศึกษาปฐมวัยในประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซียประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ ชาวพื้นเมืองเดิมของมาเลเซียเป็น มุสลิมเกือบทั้งหมด ยกเว้นในรัฐซาบา (Sabah) และสาราวัก (Sarawak) ชาวจีนส่วนใหญ่ เป็นพุทธและคริสเตียน ชาวอินเดียส่วนใหญ่เป็นทมิฬในทางภูมิศาสตร์มาเลเซียเป็น