SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                     BIOLOGY-04

         องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
             DNA เป็นสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และบางส่วนของ DNA
    ทาหน้าที่เป็นจีน คือสามารถควบคุมลักษณะทาพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
    ได้
             ปัญหาต่อไปก็คือโมเลกุลของ DNA เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของ
    สิ่งมีชีวิตไว้ได้อย่างไร จึงจะสามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไป
    ยังรุ่นลูกหลานได้
             ถ้าทราบว่าโมเลกุลของ DNAมีคุณสมบัติและโครงสร้างอย่างไรก็
    จะตอบคาถามนี้ได้

           DNA เป็นกรดนิวคลีอิคชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ (polymer)
    สายยาวประกอบด้ ว ยหน่ ว ยย่ อ ย หรื อ มอนอเมอร์ (monomer) ที่
    เรียกว่านิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ซึ่งแต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย
           1. น้ าตาลเพนโทส ซึ่ ง มี ค าร์ บ อน 5 อะตอม คื อ น้ าตาล
    ดีออกซีไรโบส
           2. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นโครงสร้างปะกอบ
    ด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของ คาร์บอนและไนโตรเจน แบ่งออกเป็น 2
    ประเภท คือ
              2.1 เบสพิวรีน (purine) มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (adenine
    หรือ A) และกวานีน (guanine หรือ G)
              2.2 เบสไพริมิ ดีน (pyrimidine)       มี 2 ชนิ ด คือ ไซโทซี น
    (cytocine หรือ C) และ ไทมีน (thymine หรือ T )
           3. หมู่ฟอสเฟต
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                              BIOLOGY-04

         โครงสร้างของเบสและน้าตาลที่เป็นองค์ประกอบของ
    กรดนิวคลีอิค ดังภาพ




    ภาพที่ 1 สูตรโครงสร้างของเบส และน้าตาลที่เป็นองค์ประกอบของ
    DNA
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                 BIOLOGY-04

          การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน
    โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลักมี ไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 1
    และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5
          ดังนั้นจึงสามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะ
    แตกต่างกันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ A T C และ G ดังภาพ




    ภาพที่ 2 นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสชนิดต่างๆ ซึงเป็นองค์ประกอบของ
                                             ่
    DNA
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                             BIOLOGY-04

             จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA พบว่ามีเบส
    น้าตาลดีออกซีไรโบสและหมู่ฟอสเฟตเป็นจานวนมาก จึงเป็นไปได้ว่า
    DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จานวนมากมาเชื่อต่อกัน ปัญหาก็คือ
    นิ ว คลี โ อไทด์ จ านวนมากนี้ ม าเชื่ อ มต่ อ กั น เป็ น โมเลกุ ล ของ DNA ได้
    อย่างไร
             การเชื่ อ มดั ง กล่ า วเกิ ด การสร้ า งพั น ธะโคเวเลนส์ ร ะหว่ า งหมู่
    ฟอสเฟตของนิ ว คลี โ อไทด์ ห นึ่ ง กั บ หมู่ ไ ฮดรอกซิ ล ที่ อ ยู่ ที่ ค าร์ บ อน
    ตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลในอีกนิวคลีโอไทด์หนึ่ง
             เมื่อหลายๆนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสายพอลินิวคลี -
    โอไทด์ จะเห็ น ว่ า ที่ ป ลายสายด้ า นหนึ่ ง จะมี ห มู่ ฟ อสเฟตเชื่ อ มอยู่ กั บ
    น้าตาลดีออกซีไรโบสที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็น
    ปลาย 5/ (อ่านว่า 5 ไพร์ม) และอีกปลายด้านหนึ่งจะมีหมู่ไฮดรอกซิล
    ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ที่เป็นอิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA
    ว่าปลาย 3/ ( อ่านว่า 3 ไพร์ม)
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                              BIOLOGY-04




    ภาพที่ 3 ก. การเชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์
          ข. สายพอลีนิวคลีโอไทด์
          ที่เกิดจากการเชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                         BIOLOGY-04

           ต่ อ มานั ก เคมี ใ นประเทศอั ง กฤษ พบว่ า พอลิ นิ ว คลี โ อไทด์ แ ต่
    ละสายจะแตกต่ า งกั น ที่ จ านวนของนิ ว คลี โ อไทด์ และล าดั บ ของ
    นิวคลีไทด์
           ในปี พ.ศ. 2492 เออร์วิน ชาร์กาฟฟ์ (Erwin Chargaff) นัก
    ชีวเคมีชาวอเมริกัน ได้วิเคราะห์ปริมาณเบสที่เป็นองค์ประกอบทางเคมี
    ของโมเลกุล DNA ในสิ่ง มีชีวิตชนิ ดต่า งๆ พบว่าอั ตราส่วนของเบส 4
    ชนิด ใน DNA ที่สกัดจากสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ จะแตกต่างกัน ดังตาราง
    ข้างล่าง ขณะที่อัตราส่วนของน้าตาลและหมู่ฟอสเฟตมีค่าค่อนข้างคงที่

    ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลองของชาร์กาฟฟ์




                      - ปริมาณเบส 4 ชนิดใน DNA ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
    สัมพันธ์กันอย่างไร
                      - อัตราส่วนของ A+T และ C+G ในโมเลกุลของ DNA
    ของสิ่งมีชีวตต่างๆ มีค่าเท่ากันหรือไม่
                ิ
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                             BIOLOGY-04

    สรุปได้ว่า
            1) ไนโตรจีนัสเบสประกอบด้วยวงแหวนที่มี C และ N เป็น
    องค์ประกอบ
            2) ไนโตรจีนั ส เบสแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท คือ เบสพิวรีน มี
    โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน 1 วง มี 2 ชนิ ด คือ อะดีนีน (A) และ
    กวานีน (G) และเบสไพริมิดีน โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน 1 วง มี
    2 ชนิด คือ ไซโทซีน (C) และไทมีน (T)
            3)         นิ ว คลี โ อไทด์ ป ระกอบด้ ว ยน้ าตาล หมู่ ฟ อสเฟตและ
    ไนโตรจีนัสเบส
            4) นิ ว คลี โ อไทด์ แ บ่ ง ออกเป็ น 4 ชนิ ด คื อ นิ ว คลี โ อไทด์ ที่ มี
    เบสไทมี น นิ วคลีโอไทด์ที่มี เบสอะดีนี น นิ วคลี โอไทด์ที่มี เ บสไซโทซี น
    และนิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน นิวคลีโอไทด์แต่ละชนิดต่างกันที่ชนิด
    ของไนโตรจีนัสเบส
            5) การประกอบกัน เป็ น นิ วคลี โ อไทด์ มี น้ าตาลดี อ อกซี ไ รโบส
    เป็ น แกนหลักมี ไนโตรจีนั สเบสอยู่ที่คาร์บ อน ตาแหน่ ง ที่ 1 และมี ห มู่
    ฟอสเฟตที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5
            6) แต่ละนิวคลีโอไทด์เชื่อมต่อกันด้วยหมู่ฟอสเฟต หมู่ฟอสเฟต
    ของนิวคลีโอไทด์หนึ่งจะเชื่อมต่อกับหมู่ไฮดรอกซิลของน้าตาลเพนโทส
    ของอี ก นิ ว คลี โ อไทด์ ห นึ่ ง แต่ ล ะสายของโมเลกุ ล พอลิ นิ ว คลี โ อไทด์
    แตกต่างกันที่จานวนและลาดับของนิ วคลีโอไทด์ที่มาเชื่อมต่อกัน
            7) สายของพอลินิวคลีโอไทด์กลุ่มที่มีจานวนนิวคลีโอไทด์เท่ากัน
    แต่ ส ายของพอลิ นิ วคลี โ อไทด์ จ ะต่ า งกั น เนื่ อ งจากมี ล าดั บ ของ
    นิ วคลีโ อไทด์ไ ม่ เหมื อ นกัน ซึ่ ง น าไปสู่ความเข้า ใจถึง การเกิด ลัก ษณะ
    ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA                                   BIOLOGY-04

           8) ปลายด้านหนึ่งของพอลินิวคลีโอไทด์จะมีคาร์บอนตาแหน่งที่
    5 ขิงน้าตาลดีออกซีไรโบสยึดกับหมู่ฟอสเฟต เรียกปลายนี้ว่าปลาย 5'
    และอีกปลายหนึ่งมีคาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลดีออกซีไรโบสของ
    นิวคลีโอไทด์ที่อยู่ปลายสุดที่ยึดกับหมู่ไฮดรอกซิล เรียกปลายนี้ว่าปลาย
    3'

More Related Content

What's hot

มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมtarcharee1980
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 

What's hot (20)

14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 

Viewers also liked

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมMoukung'z Cazino
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (11)

73
7373
73
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
Gene
GeneGene
Gene
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 

Similar to Dna bio04 1

ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลkruaoijaipcccr
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5Bios Logos
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 

Similar to Dna bio04 1 (20)

ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
Dna
DnaDna
Dna
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
Nucleic acid2
Nucleic acid2Nucleic acid2
Nucleic acid2
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
Bond
BondBond
Bond
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
4
44
4
 

Dna bio04 1

  • 1. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 องค์ประกอบทางเคมีของ DNA DNA เป็นสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และบางส่วนของ DNA ทาหน้าที่เป็นจีน คือสามารถควบคุมลักษณะทาพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ได้ ปัญหาต่อไปก็คือโมเลกุลของ DNA เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของ สิ่งมีชีวิตไว้ได้อย่างไร จึงจะสามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไป ยังรุ่นลูกหลานได้ ถ้าทราบว่าโมเลกุลของ DNAมีคุณสมบัติและโครงสร้างอย่างไรก็ จะตอบคาถามนี้ได้ DNA เป็นกรดนิวคลีอิคชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ (polymer) สายยาวประกอบด้ ว ยหน่ ว ยย่ อ ย หรื อ มอนอเมอร์ (monomer) ที่ เรียกว่านิวคลีโอไทด์ (nucleotide) ซึ่งแต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย 1. น้ าตาลเพนโทส ซึ่ ง มี ค าร์ บ อน 5 อะตอม คื อ น้ าตาล ดีออกซีไรโบส 2. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นโครงสร้างปะกอบ ด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของ คาร์บอนและไนโตรเจน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 เบสพิวรีน (purine) มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (adenine หรือ A) และกวานีน (guanine หรือ G) 2.2 เบสไพริมิ ดีน (pyrimidine) มี 2 ชนิ ด คือ ไซโทซี น (cytocine หรือ C) และ ไทมีน (thymine หรือ T ) 3. หมู่ฟอสเฟต
  • 2. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 โครงสร้างของเบสและน้าตาลที่เป็นองค์ประกอบของ กรดนิวคลีอิค ดังภาพ ภาพที่ 1 สูตรโครงสร้างของเบส และน้าตาลที่เป็นองค์ประกอบของ DNA
  • 3. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลักมี ไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ดังนั้นจึงสามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะ แตกต่างกันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ A T C และ G ดังภาพ ภาพที่ 2 นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสชนิดต่างๆ ซึงเป็นองค์ประกอบของ ่ DNA
  • 4. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA พบว่ามีเบส น้าตาลดีออกซีไรโบสและหมู่ฟอสเฟตเป็นจานวนมาก จึงเป็นไปได้ว่า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จานวนมากมาเชื่อต่อกัน ปัญหาก็คือ นิ ว คลี โ อไทด์ จ านวนมากนี้ ม าเชื่ อ มต่ อ กั น เป็ น โมเลกุ ล ของ DNA ได้ อย่างไร การเชื่ อ มดั ง กล่ า วเกิ ด การสร้ า งพั น ธะโคเวเลนส์ ร ะหว่ า งหมู่ ฟอสเฟตของนิ ว คลี โ อไทด์ ห นึ่ ง กั บ หมู่ ไ ฮดรอกซิ ล ที่ อ ยู่ ที่ ค าร์ บ อน ตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลในอีกนิวคลีโอไทด์หนึ่ง เมื่อหลายๆนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสายพอลินิวคลี - โอไทด์ จะเห็ น ว่ า ที่ ป ลายสายด้ า นหนึ่ ง จะมี ห มู่ ฟ อสเฟตเชื่ อ มอยู่ กั บ น้าตาลดีออกซีไรโบสที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็น ปลาย 5/ (อ่านว่า 5 ไพร์ม) และอีกปลายด้านหนึ่งจะมีหมู่ไฮดรอกซิล ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ที่เป็นอิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA ว่าปลาย 3/ ( อ่านว่า 3 ไพร์ม)
  • 5. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 ภาพที่ 3 ก. การเชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์ ข. สายพอลีนิวคลีโอไทด์ ที่เกิดจากการเชื่อมต่อระหว่างนิวคลีโอไทด์
  • 6. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 ต่ อ มานั ก เคมี ใ นประเทศอั ง กฤษ พบว่ า พอลิ นิ ว คลี โ อไทด์ แ ต่ ละสายจะแตกต่ า งกั น ที่ จ านวนของนิ ว คลี โ อไทด์ และล าดั บ ของ นิวคลีไทด์ ในปี พ.ศ. 2492 เออร์วิน ชาร์กาฟฟ์ (Erwin Chargaff) นัก ชีวเคมีชาวอเมริกัน ได้วิเคราะห์ปริมาณเบสที่เป็นองค์ประกอบทางเคมี ของโมเลกุล DNA ในสิ่ง มีชีวิตชนิ ดต่า งๆ พบว่าอั ตราส่วนของเบส 4 ชนิด ใน DNA ที่สกัดจากสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ จะแตกต่างกัน ดังตาราง ข้างล่าง ขณะที่อัตราส่วนของน้าตาลและหมู่ฟอสเฟตมีค่าค่อนข้างคงที่ ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลองของชาร์กาฟฟ์ - ปริมาณเบส 4 ชนิดใน DNA ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ สัมพันธ์กันอย่างไร - อัตราส่วนของ A+T และ C+G ในโมเลกุลของ DNA ของสิ่งมีชีวตต่างๆ มีค่าเท่ากันหรือไม่ ิ
  • 7. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 สรุปได้ว่า 1) ไนโตรจีนัสเบสประกอบด้วยวงแหวนที่มี C และ N เป็น องค์ประกอบ 2) ไนโตรจีนั ส เบสแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท คือ เบสพิวรีน มี โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน 1 วง มี 2 ชนิ ด คือ อะดีนีน (A) และ กวานีน (G) และเบสไพริมิดีน โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน 1 วง มี 2 ชนิด คือ ไซโทซีน (C) และไทมีน (T) 3) นิ ว คลี โ อไทด์ ป ระกอบด้ ว ยน้ าตาล หมู่ ฟ อสเฟตและ ไนโตรจีนัสเบส 4) นิ ว คลี โ อไทด์ แ บ่ ง ออกเป็ น 4 ชนิ ด คื อ นิ ว คลี โ อไทด์ ที่ มี เบสไทมี น นิ วคลีโอไทด์ที่มี เบสอะดีนี น นิ วคลี โอไทด์ที่มี เ บสไซโทซี น และนิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน นิวคลีโอไทด์แต่ละชนิดต่างกันที่ชนิด ของไนโตรจีนัสเบส 5) การประกอบกัน เป็ น นิ วคลี โ อไทด์ มี น้ าตาลดี อ อกซี ไ รโบส เป็ น แกนหลักมี ไนโตรจีนั สเบสอยู่ที่คาร์บ อน ตาแหน่ ง ที่ 1 และมี ห มู่ ฟอสเฟตที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 6) แต่ละนิวคลีโอไทด์เชื่อมต่อกันด้วยหมู่ฟอสเฟต หมู่ฟอสเฟต ของนิวคลีโอไทด์หนึ่งจะเชื่อมต่อกับหมู่ไฮดรอกซิลของน้าตาลเพนโทส ของอี ก นิ ว คลี โ อไทด์ ห นึ่ ง แต่ ล ะสายของโมเลกุ ล พอลิ นิ ว คลี โ อไทด์ แตกต่างกันที่จานวนและลาดับของนิ วคลีโอไทด์ที่มาเชื่อมต่อกัน 7) สายของพอลินิวคลีโอไทด์กลุ่มที่มีจานวนนิวคลีโอไทด์เท่ากัน แต่ ส ายของพอลิ นิ วคลี โ อไทด์ จ ะต่ า งกั น เนื่ อ งจากมี ล าดั บ ของ นิ วคลีโ อไทด์ไ ม่ เหมื อ นกัน ซึ่ ง น าไปสู่ความเข้า ใจถึง การเกิด ลัก ษณะ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
  • 8. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA BIOLOGY-04 8) ปลายด้านหนึ่งของพอลินิวคลีโอไทด์จะมีคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ขิงน้าตาลดีออกซีไรโบสยึดกับหมู่ฟอสเฟต เรียกปลายนี้ว่าปลาย 5' และอีกปลายหนึ่งมีคาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลดีออกซีไรโบสของ นิวคลีโอไทด์ที่อยู่ปลายสุดที่ยึดกับหมู่ไฮดรอกซิล เรียกปลายนี้ว่าปลาย 3'