SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน เทคนิคการจัดการวางแผนการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาววริษา ร่มเย็น เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1นางสาววริษา ร่มเย็น เลขที่ 11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เทคนิคการจัดการวางแผนการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How to manage effective learning
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา ร่มเย็น
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน กันยายน 2560 – พฤศจิกายน 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การวางแผนการเรียนสาคัญมากสาหรับผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ทุกระดับ การวางแผนการเรียนประจาวันนั้นเรา
ต้องมีวินัยในตนเอง ทาตามแผนที่วางไว้ในแต่ละวันให้ได้ สร้างความรับผิดชอบต่อตนเองในการทาตามแผนที่วางไว้ มี
เป้าหมายที่ชัดเจน แน่แน่ว เพื่อสร้างกรอบการเรียนรู้ตามสาระหรือความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่
เหมาะสมกับกิจกรรมประจาวันของแต่ละคน เพื่อให้การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เพื่อให้การเรียนมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น หากเราไม่มีการวางแผนการเรียน ไม่มีการตั้งเป้าหมาย จะทาให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ไม่
ต่อเนื่อง ทาให้จัดเรียงลาดับข้อมูลที่ได้รับมาไม่ถูกต้อง อ่านหนังสือไม่ทัน ทาโจทย์น้อยไป บริหารเวลาไม่ดี ทาให้ทา
ข้อสอบไม่ได้เท่าที่ควร ผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้ จึงรวบรวมเทคนิคในการอ่านหนังสือ การเลือกซื้อหนังสือ รวม
ไปถึงการจดเลกเชอร์ให้น่าอ่าน เข้าใจง่าย
วัตถุประสงค์ เพื่อให้การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
1. เพื่อให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. เพื่อสร้างกรอบการเรียนรู้ตามสาระหรือความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่เหมาะสมกับ
กิจกรรมประจาวันของแต่ละคน
ขอบเขตโครงงาน
เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ทุกระดับชั้น หรือผู้ที่สนใจจะศึกษา
หลักการและทฤษฎี
 วิธีการเขียน Planner
1. จัดลาดับความสาคัญของสิ่งที่จดบันทึก
2.ใช้ตารางรายเดือนในการกาหนดเป้าหมายใหญ่ๆ
3. ไม่ต้องจดทุกเรื่องลงในสมุด จดที่สาคัญจริงๆ
3
4.สร้างแรงบันดาลใจในการทาเป้าหมาย
5.โฟกัสไปที่โปรเจค 2-3 งานต่อสัปดาห์
 6 เทคนิคการจดเลกเชอร์
1. ใช้สัญลักษณ์
การใช้สัญลักษณ์แทนคาพูดนั้นจะช่วยให้สามารถจดเลกเชอร์ได้ง่าย และรวดเร็วขึ้นมากเลยละครับ อีกทั้งหลายๆ
ครั้งทาให้ง่ายต่อการทบทวนอีกด้วย สัญลักษณ์ต่างๆที่ว่านั้นอาจคิดขึ้นมาเองเพื่อสื่อความหมายของตนเองโดยเฉพาะ
ก็เป็นได้ เช่น ใช้ดอกจัน (***) เพื่อเน้นตรงที่สาคัญ และควรรู้เพราะอาจารย์ย้า ใช้เครื่องหมายบวก (+) เพื่อแทนคาว่า
“และ” ใช้ลูกศรชี้ขึ้นหรือลงเพื่อแทนคาว่า “เพิ่มขึ้นหรือลดลง” เป็นต้น
2. แบ่งครึ่งกระดาษ
ในกรณีที่ต้องจดลงกระดาษบางชนิดเช่น A4 การแบ่งครึ่งกระดาษตามแนวยาวของกระดาษจะช่วยให้สามารถจด
ได้ง่ายขึ้น ไม่เปลืองกระดาษและอ่านง่ายขึ้นเป็นอย่างมาก เช่น ในวิชาคณิตศาสตร์เมื่อจดวิธีทานั้นจะพบว่า 1 บรรทัด
อาจเขียน 1 สูตรแล้วก็ขึ้นบรรทัดต่อไปในขั้นตอนต่อไป ทาให้เปลืองกระดาษและเมื่ออ่านก็อาจต้องมองในมุมที่กว้าง
เพราะในบางครั้งประโยคอยู่ชิดด้านซ้ายกระดาษ สูตรอยู่กลางกระดาษการอ่านลักษณะนี้ก็อาจจะลาบากไปสักนิด แต่
หากเปลี่ยนรูปแบบการจดมาจดทีละครึ่งหน้าก็จะพบว่าเปลืองกระดาษน้อยกว่าทาให้จานวนกระดาษที่ต้องพกพา
กรณีที่เปลี่ยนสถานที่อ่านก็น้อยกว่า อีกทั้งการอ่านสิ่งที่จดมาก็จะอ่านได้ง่ายกว่าเพราะมุมที่มองก็แคบกว่าและพอดี
กับสายตานั่นเอง
3. ฟังก่อนจด
การจดเลกเชอร์ที่ดีนั้น ต้องฟังก่อนจดเสมอเพราะเมื่อฟังแล้วก็จะต้องคิดตามและจัดระเบียบเนื้อหาต่างๆที่ผ่าน
เข้ามาในสมองก่อนที่จะทาการจดลงไป ซึ่งจะทาให้การจดนั้นป็นขั้นเป็นตอน มีระบบ และเมื่อกลับมาอ่านก็จะ
สามารถทาความเข้าใจได้อย่างรวดเร็วเพราะเคยคิด และจัดระเบียบเนื้อหานั้นในสมองมาก่อนแล้ว ไม่ใช่สักแต่ว่าจด
ลงไป
4. แบ่งหัวข้อให้ชัดเจน
การจดที่ดีนั้นควรมีการแบ่งหัวข้อให้ชัดเจนเพื่อที่เมื่ออ่านจะได้รู้ว่าจบ 1 หัวข้อแล้วกาลังขึ้นหัวข้อใหม่ซึ่งจะทาให้
ง่ายต่อการอ่านมากเลยละ
5. เป็นระเบียบและเว้นที่ว่างบ้าง
คงไม่มีใครอยากอ่านเลกเชอร์ที่ไม่เป็นระเบียบใช่ไหมละ เพราะอ่านยากและทาให้สับสนได้มาก ดังนั้นการจด
เลกเชอร์ก็ควรที่จะจดให้เป็นระเบียบและเขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย เพื่อให้การกลับมาอ่านทบทวนเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ อีกทั้งควรมีการเว้นที่ว่างบ้างในหน้าที่จดเพื่อให้ได้มีการพักสายตาจากเนื้อหาที่อ่านบ้างนั่นแหละครับ
6. ใช้ตัวย่อ
เทคนิคการจดเลกเชอร์ให้เร็วอีกอย่างคือการใช้ตัวย่อแทนคาต่างๆที่จาเป็นต้องเขียนยาวๆ เช่น “ปสก” แทนคา
ว่า “ประสบการณ์” คาว่า “ตย” แทนคาว่า “ตัวอย่าง” ตัวอักษร “ค.” แทนคาว่า “ความ” เป็นต้น โดยอักษรย่อ
เหล่านี้นั้นอาจคิดขึ้นมาเองเพื่อให้ตนเองเข้าใจได้ก็พอแล้วละ
 5 เทคนิคสาหรับเลือกซื้อหนังสือ
1. รู้จักความต้องการตัวเอง
ถามตัวเองมั้ยว่าอยากได้หนังสือแนวไหน ต้องหาคาตอบให้ได้ก่อนว่าอยากได้หนังสืออะไร เพราะคนที่รู้จัก
ตัวตน จะแก้ไขและเติมเต็มสิ่่งที่ขาดได้สมบูรณ์กว่าคนที่ไม่รู้จักอะไรเกี่ยวกับตัวเองเลย ลองสารวจดูนะคะว่าชอบ
หนังสือแบบไหน
รวมเนื้อหา
4
เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเยอะๆ มีการอธิบายอย่างละเอียด หนังสือแบบนี้ดีกับน้องๆ ที่ยังไม่แม่นเนื้อหา หรือ
ต้องการเรียนรู้ก่อนเริ่มเรียนในเทอมถัดไป ส่วนน้องๆ ที่ตั้งใจหาหนังสืออ่านทบทวน อาจจะต้องหาอะไรที่สรุปชัดเจน
กว่านี้ เพื่อย่นระยะเวลาในการอ่าน
รวมข้อสอบ
เป็นหนังสือที่รวบรวมข้อสอบเอาไว้ในเล่ม อัดแน่นไปด้วยข้อสอบเรื่องนั้นๆ หรือแนวนั้นๆ ของแต่ละเล่ม
เหมาะกับคนที่ต้องการฝึกความแม่นยาให้กับฝีมือในการทาข้อสอบ
รวมแบบฝึกหัด
หนังสือรวมแบบฝึกหัด จะต่างกับรวมข้อสอบตรงที่ รวมแบบฝึกหัดจะทาให้น้องได้ทบทวนเนื้อหาล้วนๆ แบบ
ตรงๆ แต่หนังสือรวมข้อสอบจะทาให้เห็นแนวข้อสอบที่เป็นประยุกต์เนื้อหาอาจจะหลายบทเข้าด้วยกัน ดังนั้นถ้าอยาก
ฝึกฝนตัวเองในเนื้อหาแต่ละส่วน ก็เหมาะสมกับหนังสือแบบนี้เลย
แต่ข้อเสียคือ อาจจะต้องหาหนังสืออ่านประกอบ เพราะบางครั้งหนังสือรวมแบบฝึกหัดอาจมีเฉลยไม่ชัดเจน
หรือไม่สามารถหาเนื้อหาอ่านได้ ต้องหาหนังสืออ่านประกอบเพื่อให้น้องๆ เข้าใจได้ดีขึ้น
เนื้อหาและแบบฝึกหัด
ถ้าต้องการอ่านหนังสือ และทบทวนไปด้วยในตัว หนังสือแนวนี้เหมาะกับน้องๆ มากค่ะ เพราะสามารถอ่าน
เนื้อหาได้ และทบทวนได้ไปพร้อมๆ กัน แบบไม่มากไม่น้อยใป แต่ข้อเสียคือ อาจจะได้เนื้อหาที่ไม่ครบครัน ครอบคลุม
หรือส่วนแบบฝึกหัดก็อาจจะได้ไม่เยอะเท่าที่ต้องการ ไม่ครอบคลุมเช่นกัน เพราะต้องเฉลี่ยพื้นที่เนื้อหาและแบบฝึกหัด
ให้อยู่ในเล่มเดียวกันให้ได้
สรุปเนื้อหา เทคนิคการจา
เหมาะสาหรับน้องที่ต้องการอ่านช่วงก่อนสอบ หรืออ่านเพื่อสรุปแนวความรู้ สูตร และอายากได้เทคนิคการจา
ต่างๆ ไม่เหมาะแน่ๆ กับน้องที่ไม่ได้อ่านเนื้อหามาก่อน เพราะอาจจะทาให้ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง และตกหล่นเนื้อหาบาง
ช่วง เพราะหนังสือสรุปเนื้อหา เทคนิคความจาเหล่านี้ ไม่สามารถยัดเนื้อหาทั้งหมดได้แน่ค่ะ
2. อ่านสารบัญ
ส่วนหนึ่งที่ทาให้รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นมีอะไรบ้าง คือ "สารบัญ" ดังนั้น ก่อนจะเลือกเล่มไหนติดตัวกลับมา ห้าม
ลืมเปิดสารบัญอ่านดูว่าตรงกับที่เราต้องการอยู่รึเปล่า ที่สาคัญทาให้รู้ว่าเหมือนกันกับที่เราเรียน หรือเราตั้งใจจะ
นาไปใช้มากน้อยแค่ไหน และมีประโยชน์มากพอที่จะใช้จ่ายเงินไปกับหนังสือเล่มนี้หรือเปล่า
3. ดูปกหน้า ปกหลัง
ปกเป็นส่วนแรกที่ดึงดูดตา ทั้งปกหน้าและปกหลัง คนทาหนังสือมักจะดึงส่วนสาคัญมาไว้ที่ปกโดยเฉพาะปก
หน้า โดยอาจจะเป็นคาสั้นๆ อธิบายเนื้อหาบางส่วนในเล่มที่เด่นๆ ผู้เขียนต้องการเน้นย้ามาโชว์เพื่อดึงความสนใจของ
ผู้อ่านอย่างเรา
ส่วนปกหลังหลายคนอาจจะมองข้ามไปบ้าง แต่บอกเลยว่า สาคัญไม่แพ้กัน เพราะหลายๆ เล่ม ปกหลังจะ
เป็นคานิยม ที่ผู้อ่านท่านอื่น อ่านแล้วเขียนถึงหนังสือเล่มนี้ไว้ ซึ่งก็ช่วยบอกได้ส่วนหนึงว่าหนังสือเล่มนี้ดีอย่างไร มี
อะไรน่าสนใจบ้างในมุมมองของคนอ่านท่านอื่น
4. ดูครั้งที่พิมพ์ จานวนที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์
การเปิดเพื่อดูว่าหนังสือเล่มนี้พิมพ์ครั้งที่เท่าไหร่ จานวนเล่มพิมพ์แต่ละครั้งเยอะแค่ไหน ก็ช่วยบอกได้ส่วน
หนึ่งค่ะว่าเป็นหนังสือที่มีคนสนใจเยอะ แปลว่าหนังสือก็ต้องดีระดับหนึ่งจึงทาให้คนอ่านอยากซื้อ ผู้เขียนจึงต้องผลิต
เพิ่มขึ้นมา อย่างน้อยก็ยืนยันได้ว่าหนังสือเล่มนั้นต้องมีอะไรสักอย่างที่น่าสนใจมาก จนต้องผลิตซ้าๆ
ปีที่พิมพ์ก็สาคัญนะคะ เพราะว่าหนังสือที่พิมพ์มานานๆ อาจจะทาให้ข้อมูลขาดการอัพเดต อย่างเช่น
หนังสือสังคมศึกษาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะมีข้อมูลเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง น้องๆ ก็ต้องดูควบคู่กันไปทั้งครั้งที่พิมพ์
จานวนที่พิมพ์ และปีที่พิมพ์ เพื่อให้เราได้รับหนังสือที่มีข้อมูลอัพเดต และน่าสนใจจริงๆ
5. อ่านเนื้อหาคร่าวๆ
5
นอกจากดูส่วนประกอบทั่วๆ ไปแล้ว การเปิดหนังสือ พลิกเข้าไปอ่านเนื้อหาคร่าวๆ ดูหัวข้อย่อยในเล่ม ทา
ให้สามารถประเมินได้ว่าเนื้อหาภายในตรงกับที่ต้องการจริงรึเปล่า เพราะสารบัญอาจจะไม่ได้ใส่ทุกรายละเอียดในเล่ม
 เคล็ดลับวิธีทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนได้อย่างแม่นยา
1. เวลาอ่านบทเรียนหรือตารา ให้อ่านอย่างตั้งใจ แต่ทว่าเราจะไม่อ่านไปเรื่อย ๆ คือเราจะ หยุดอ่านเมื่อจบย่อหน้า
หรือหยุดเมื่ออ่านไปได้พอสมควรแล้ว
2. จากนั้นให้ปิดหนังสือ ! แล้วลองอธิบายสิ่งที่ตนเองได้อ่านมาให้ตัวเองฟัง คือ เราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังด้วย
ภาษาสานวนของเราเอง ฟังแล้วเข้าใจหรือเปล่า หากเราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังรู้เรื่อง แสดงว่าเราเข้าใจแล้ว ให้
อ่านต่อไปได้
3. หากตอนใดเราอ่านแล้วแต่ไม่สามารถอธิบายให้ตัวเองรู้เรื่อง แสดงว่ายังไม่เข้าใจ ให้กลับไปอ่านทบทวนใหม่อีกครั้ง
4. หากเราพยายามอ่านหลายรอบแล้วยังไม่เข้าใจจริงๆให้จดโน้ตไว้เพื่อนาไปถามอาจารย์ จากนั้นให้อ่านต่อไป
5. ข้อมูลบางอย่างในตาราจาเป็นที่จะต้องท่องจา เช่น ตัวเลข สถิติ ชื่อสถานที่ บุคคล หรือ สูตร ต่าง ๆ ฯลฯ ก็ควร
ท่องจาไว้ด้วย เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
6. การเรียนด้วยวิธีท่องจาโดยปราศจากความเข้าใจ เรียนไปก็ลืมไป สูญเสียเวลา เปล่าประโยชน์ เสียเงินทอง
7. การเรียนที่เน้นแต่ความเข้าใจ โดยไม่ยอมท่องจา ก็จะทาให้เราเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ไม่ชัดเจน คลุมเครือ
8. ดังนั้นจึงขอสรุปเทคนิคง่าย ๆ สั้น ๆ ดังต่อไปนี้
ก.ให้อ่านหนังสือ สลับกับ การอธิบายให้ตัวเองฟัง
ข.ให้ท่องจาเฉพาะข้อมูลที่จาเป็นต้องจาจริง ๆ เช่น ตัวเลข ชื่อเฉพาะต่างๆ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
รวบรวมเทคนิคในการวางแผนการเรียน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ไม่ใช่อุปกรณ์
งบประมาณ
ไม่มีงบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
2. การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. ความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่เหมาะสมกับกิจกรรมประจาวันของแต่ละคน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง
https://sistacafe.com/summaries/10121-วิธีจดPannerอย่างไรให้ไม่แป้กแถมทาได้ตามเป้าหมายได้ด้วย
https://www.top-atutor.com/15234571/6-เทคนิคการจดเลกเชอร์
https://www.dek-d.com/education/35460/
https://www.dek-d.com/board/view/1610287/

More Related Content

What's hot

ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 62793233922
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนpเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนธัญญ์ชยา นาคมาตร
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
ประเพณีและวัฒธรรมไทย
ประเพณีและวัฒธรรมไทยประเพณีและวัฒธรรมไทย
ประเพณีและวัฒธรรมไทยSaowaluk Chaiya
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 
2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)Tawanny Rawipon
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นMathawat
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project thunniti
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานPatcha Linsay
 
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑Knp Wan
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓daranee14
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4Jiraporn Kru
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14Stamprsn
 
R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้Where Try
 

What's hot (18)

ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนpเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
ภาษาไทย ป.4  แผน 1ภาษาไทย ป.4  แผน 1
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
 
ประเพณีและวัฒธรรมไทย
ประเพณีและวัฒธรรมไทยประเพณีและวัฒธรรมไทย
ประเพณีและวัฒธรรมไทย
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้น
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐาน
 
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑
คู่มือบัญชีคำพื้นฐานป.๑
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
10
1010
10
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 

Similar to 2560 project warisa-9 (11)

เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษsakaratyo
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)Nu Beer Yrc
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นDecho Narong
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นDecho Narong
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
Project com
Project comProject com
Project compixppd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์weniktareera
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 winmrpainaty
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมice1818
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Tae Phitt Yo
 
คอมเมย์
คอมเมย์คอมเมย์
คอมเมย์mayjibi1131
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc docAom Nachanok
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์benjawan punyawarin
 

Similar to 2560 project warisa-9 (11) (20)

เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
 
อาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่นอาหารญี่ปุ่น
อาหารญี่ปุ่น
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
The Deep work
The Deep workThe Deep work
The Deep work
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมเมย์
คอมเมย์คอมเมย์
คอมเมย์
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 

2560 project warisa-9 (11)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน เทคนิคการจัดการวางแผนการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา ร่มเย็น เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1นางสาววริษา ร่มเย็น เลขที่ 11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เทคนิคการจัดการวางแผนการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How to manage effective learning ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา ร่มเย็น ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน กันยายน 2560 – พฤศจิกายน 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การวางแผนการเรียนสาคัญมากสาหรับผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ทุกระดับ การวางแผนการเรียนประจาวันนั้นเรา ต้องมีวินัยในตนเอง ทาตามแผนที่วางไว้ในแต่ละวันให้ได้ สร้างความรับผิดชอบต่อตนเองในการทาตามแผนที่วางไว้ มี เป้าหมายที่ชัดเจน แน่แน่ว เพื่อสร้างกรอบการเรียนรู้ตามสาระหรือความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่ เหมาะสมกับกิจกรรมประจาวันของแต่ละคน เพื่อให้การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เพื่อให้การเรียนมี ประสิทธิภาพมากขึ้น หากเราไม่มีการวางแผนการเรียน ไม่มีการตั้งเป้าหมาย จะทาให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ไม่ ต่อเนื่อง ทาให้จัดเรียงลาดับข้อมูลที่ได้รับมาไม่ถูกต้อง อ่านหนังสือไม่ทัน ทาโจทย์น้อยไป บริหารเวลาไม่ดี ทาให้ทา ข้อสอบไม่ได้เท่าที่ควร ผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้ จึงรวบรวมเทคนิคในการอ่านหนังสือ การเลือกซื้อหนังสือ รวม ไปถึงการจดเลกเชอร์ให้น่าอ่าน เข้าใจง่าย วัตถุประสงค์ เพื่อให้การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 1. เพื่อให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. เพื่อสร้างกรอบการเรียนรู้ตามสาระหรือความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่เหมาะสมกับ กิจกรรมประจาวันของแต่ละคน ขอบเขตโครงงาน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ทุกระดับชั้น หรือผู้ที่สนใจจะศึกษา หลักการและทฤษฎี  วิธีการเขียน Planner 1. จัดลาดับความสาคัญของสิ่งที่จดบันทึก 2.ใช้ตารางรายเดือนในการกาหนดเป้าหมายใหญ่ๆ 3. ไม่ต้องจดทุกเรื่องลงในสมุด จดที่สาคัญจริงๆ
  • 3. 3 4.สร้างแรงบันดาลใจในการทาเป้าหมาย 5.โฟกัสไปที่โปรเจค 2-3 งานต่อสัปดาห์  6 เทคนิคการจดเลกเชอร์ 1. ใช้สัญลักษณ์ การใช้สัญลักษณ์แทนคาพูดนั้นจะช่วยให้สามารถจดเลกเชอร์ได้ง่าย และรวดเร็วขึ้นมากเลยละครับ อีกทั้งหลายๆ ครั้งทาให้ง่ายต่อการทบทวนอีกด้วย สัญลักษณ์ต่างๆที่ว่านั้นอาจคิดขึ้นมาเองเพื่อสื่อความหมายของตนเองโดยเฉพาะ ก็เป็นได้ เช่น ใช้ดอกจัน (***) เพื่อเน้นตรงที่สาคัญ และควรรู้เพราะอาจารย์ย้า ใช้เครื่องหมายบวก (+) เพื่อแทนคาว่า “และ” ใช้ลูกศรชี้ขึ้นหรือลงเพื่อแทนคาว่า “เพิ่มขึ้นหรือลดลง” เป็นต้น 2. แบ่งครึ่งกระดาษ ในกรณีที่ต้องจดลงกระดาษบางชนิดเช่น A4 การแบ่งครึ่งกระดาษตามแนวยาวของกระดาษจะช่วยให้สามารถจด ได้ง่ายขึ้น ไม่เปลืองกระดาษและอ่านง่ายขึ้นเป็นอย่างมาก เช่น ในวิชาคณิตศาสตร์เมื่อจดวิธีทานั้นจะพบว่า 1 บรรทัด อาจเขียน 1 สูตรแล้วก็ขึ้นบรรทัดต่อไปในขั้นตอนต่อไป ทาให้เปลืองกระดาษและเมื่ออ่านก็อาจต้องมองในมุมที่กว้าง เพราะในบางครั้งประโยคอยู่ชิดด้านซ้ายกระดาษ สูตรอยู่กลางกระดาษการอ่านลักษณะนี้ก็อาจจะลาบากไปสักนิด แต่ หากเปลี่ยนรูปแบบการจดมาจดทีละครึ่งหน้าก็จะพบว่าเปลืองกระดาษน้อยกว่าทาให้จานวนกระดาษที่ต้องพกพา กรณีที่เปลี่ยนสถานที่อ่านก็น้อยกว่า อีกทั้งการอ่านสิ่งที่จดมาก็จะอ่านได้ง่ายกว่าเพราะมุมที่มองก็แคบกว่าและพอดี กับสายตานั่นเอง 3. ฟังก่อนจด การจดเลกเชอร์ที่ดีนั้น ต้องฟังก่อนจดเสมอเพราะเมื่อฟังแล้วก็จะต้องคิดตามและจัดระเบียบเนื้อหาต่างๆที่ผ่าน เข้ามาในสมองก่อนที่จะทาการจดลงไป ซึ่งจะทาให้การจดนั้นป็นขั้นเป็นตอน มีระบบ และเมื่อกลับมาอ่านก็จะ สามารถทาความเข้าใจได้อย่างรวดเร็วเพราะเคยคิด และจัดระเบียบเนื้อหานั้นในสมองมาก่อนแล้ว ไม่ใช่สักแต่ว่าจด ลงไป 4. แบ่งหัวข้อให้ชัดเจน การจดที่ดีนั้นควรมีการแบ่งหัวข้อให้ชัดเจนเพื่อที่เมื่ออ่านจะได้รู้ว่าจบ 1 หัวข้อแล้วกาลังขึ้นหัวข้อใหม่ซึ่งจะทาให้ ง่ายต่อการอ่านมากเลยละ 5. เป็นระเบียบและเว้นที่ว่างบ้าง คงไม่มีใครอยากอ่านเลกเชอร์ที่ไม่เป็นระเบียบใช่ไหมละ เพราะอ่านยากและทาให้สับสนได้มาก ดังนั้นการจด เลกเชอร์ก็ควรที่จะจดให้เป็นระเบียบและเขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย เพื่อให้การกลับมาอ่านทบทวนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ อีกทั้งควรมีการเว้นที่ว่างบ้างในหน้าที่จดเพื่อให้ได้มีการพักสายตาจากเนื้อหาที่อ่านบ้างนั่นแหละครับ 6. ใช้ตัวย่อ เทคนิคการจดเลกเชอร์ให้เร็วอีกอย่างคือการใช้ตัวย่อแทนคาต่างๆที่จาเป็นต้องเขียนยาวๆ เช่น “ปสก” แทนคา ว่า “ประสบการณ์” คาว่า “ตย” แทนคาว่า “ตัวอย่าง” ตัวอักษร “ค.” แทนคาว่า “ความ” เป็นต้น โดยอักษรย่อ เหล่านี้นั้นอาจคิดขึ้นมาเองเพื่อให้ตนเองเข้าใจได้ก็พอแล้วละ  5 เทคนิคสาหรับเลือกซื้อหนังสือ 1. รู้จักความต้องการตัวเอง ถามตัวเองมั้ยว่าอยากได้หนังสือแนวไหน ต้องหาคาตอบให้ได้ก่อนว่าอยากได้หนังสืออะไร เพราะคนที่รู้จัก ตัวตน จะแก้ไขและเติมเต็มสิ่่งที่ขาดได้สมบูรณ์กว่าคนที่ไม่รู้จักอะไรเกี่ยวกับตัวเองเลย ลองสารวจดูนะคะว่าชอบ หนังสือแบบไหน รวมเนื้อหา
  • 4. 4 เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเยอะๆ มีการอธิบายอย่างละเอียด หนังสือแบบนี้ดีกับน้องๆ ที่ยังไม่แม่นเนื้อหา หรือ ต้องการเรียนรู้ก่อนเริ่มเรียนในเทอมถัดไป ส่วนน้องๆ ที่ตั้งใจหาหนังสืออ่านทบทวน อาจจะต้องหาอะไรที่สรุปชัดเจน กว่านี้ เพื่อย่นระยะเวลาในการอ่าน รวมข้อสอบ เป็นหนังสือที่รวบรวมข้อสอบเอาไว้ในเล่ม อัดแน่นไปด้วยข้อสอบเรื่องนั้นๆ หรือแนวนั้นๆ ของแต่ละเล่ม เหมาะกับคนที่ต้องการฝึกความแม่นยาให้กับฝีมือในการทาข้อสอบ รวมแบบฝึกหัด หนังสือรวมแบบฝึกหัด จะต่างกับรวมข้อสอบตรงที่ รวมแบบฝึกหัดจะทาให้น้องได้ทบทวนเนื้อหาล้วนๆ แบบ ตรงๆ แต่หนังสือรวมข้อสอบจะทาให้เห็นแนวข้อสอบที่เป็นประยุกต์เนื้อหาอาจจะหลายบทเข้าด้วยกัน ดังนั้นถ้าอยาก ฝึกฝนตัวเองในเนื้อหาแต่ละส่วน ก็เหมาะสมกับหนังสือแบบนี้เลย แต่ข้อเสียคือ อาจจะต้องหาหนังสืออ่านประกอบ เพราะบางครั้งหนังสือรวมแบบฝึกหัดอาจมีเฉลยไม่ชัดเจน หรือไม่สามารถหาเนื้อหาอ่านได้ ต้องหาหนังสืออ่านประกอบเพื่อให้น้องๆ เข้าใจได้ดีขึ้น เนื้อหาและแบบฝึกหัด ถ้าต้องการอ่านหนังสือ และทบทวนไปด้วยในตัว หนังสือแนวนี้เหมาะกับน้องๆ มากค่ะ เพราะสามารถอ่าน เนื้อหาได้ และทบทวนได้ไปพร้อมๆ กัน แบบไม่มากไม่น้อยใป แต่ข้อเสียคือ อาจจะได้เนื้อหาที่ไม่ครบครัน ครอบคลุม หรือส่วนแบบฝึกหัดก็อาจจะได้ไม่เยอะเท่าที่ต้องการ ไม่ครอบคลุมเช่นกัน เพราะต้องเฉลี่ยพื้นที่เนื้อหาและแบบฝึกหัด ให้อยู่ในเล่มเดียวกันให้ได้ สรุปเนื้อหา เทคนิคการจา เหมาะสาหรับน้องที่ต้องการอ่านช่วงก่อนสอบ หรืออ่านเพื่อสรุปแนวความรู้ สูตร และอายากได้เทคนิคการจา ต่างๆ ไม่เหมาะแน่ๆ กับน้องที่ไม่ได้อ่านเนื้อหามาก่อน เพราะอาจจะทาให้ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง และตกหล่นเนื้อหาบาง ช่วง เพราะหนังสือสรุปเนื้อหา เทคนิคความจาเหล่านี้ ไม่สามารถยัดเนื้อหาทั้งหมดได้แน่ค่ะ 2. อ่านสารบัญ ส่วนหนึ่งที่ทาให้รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นมีอะไรบ้าง คือ "สารบัญ" ดังนั้น ก่อนจะเลือกเล่มไหนติดตัวกลับมา ห้าม ลืมเปิดสารบัญอ่านดูว่าตรงกับที่เราต้องการอยู่รึเปล่า ที่สาคัญทาให้รู้ว่าเหมือนกันกับที่เราเรียน หรือเราตั้งใจจะ นาไปใช้มากน้อยแค่ไหน และมีประโยชน์มากพอที่จะใช้จ่ายเงินไปกับหนังสือเล่มนี้หรือเปล่า 3. ดูปกหน้า ปกหลัง ปกเป็นส่วนแรกที่ดึงดูดตา ทั้งปกหน้าและปกหลัง คนทาหนังสือมักจะดึงส่วนสาคัญมาไว้ที่ปกโดยเฉพาะปก หน้า โดยอาจจะเป็นคาสั้นๆ อธิบายเนื้อหาบางส่วนในเล่มที่เด่นๆ ผู้เขียนต้องการเน้นย้ามาโชว์เพื่อดึงความสนใจของ ผู้อ่านอย่างเรา ส่วนปกหลังหลายคนอาจจะมองข้ามไปบ้าง แต่บอกเลยว่า สาคัญไม่แพ้กัน เพราะหลายๆ เล่ม ปกหลังจะ เป็นคานิยม ที่ผู้อ่านท่านอื่น อ่านแล้วเขียนถึงหนังสือเล่มนี้ไว้ ซึ่งก็ช่วยบอกได้ส่วนหนึงว่าหนังสือเล่มนี้ดีอย่างไร มี อะไรน่าสนใจบ้างในมุมมองของคนอ่านท่านอื่น 4. ดูครั้งที่พิมพ์ จานวนที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ การเปิดเพื่อดูว่าหนังสือเล่มนี้พิมพ์ครั้งที่เท่าไหร่ จานวนเล่มพิมพ์แต่ละครั้งเยอะแค่ไหน ก็ช่วยบอกได้ส่วน หนึ่งค่ะว่าเป็นหนังสือที่มีคนสนใจเยอะ แปลว่าหนังสือก็ต้องดีระดับหนึ่งจึงทาให้คนอ่านอยากซื้อ ผู้เขียนจึงต้องผลิต เพิ่มขึ้นมา อย่างน้อยก็ยืนยันได้ว่าหนังสือเล่มนั้นต้องมีอะไรสักอย่างที่น่าสนใจมาก จนต้องผลิตซ้าๆ ปีที่พิมพ์ก็สาคัญนะคะ เพราะว่าหนังสือที่พิมพ์มานานๆ อาจจะทาให้ข้อมูลขาดการอัพเดต อย่างเช่น หนังสือสังคมศึกษาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะมีข้อมูลเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง น้องๆ ก็ต้องดูควบคู่กันไปทั้งครั้งที่พิมพ์ จานวนที่พิมพ์ และปีที่พิมพ์ เพื่อให้เราได้รับหนังสือที่มีข้อมูลอัพเดต และน่าสนใจจริงๆ 5. อ่านเนื้อหาคร่าวๆ
  • 5. 5 นอกจากดูส่วนประกอบทั่วๆ ไปแล้ว การเปิดหนังสือ พลิกเข้าไปอ่านเนื้อหาคร่าวๆ ดูหัวข้อย่อยในเล่ม ทา ให้สามารถประเมินได้ว่าเนื้อหาภายในตรงกับที่ต้องการจริงรึเปล่า เพราะสารบัญอาจจะไม่ได้ใส่ทุกรายละเอียดในเล่ม  เคล็ดลับวิธีทาความเข้าใจและจดจาบทเรียนได้อย่างแม่นยา 1. เวลาอ่านบทเรียนหรือตารา ให้อ่านอย่างตั้งใจ แต่ทว่าเราจะไม่อ่านไปเรื่อย ๆ คือเราจะ หยุดอ่านเมื่อจบย่อหน้า หรือหยุดเมื่ออ่านไปได้พอสมควรแล้ว 2. จากนั้นให้ปิดหนังสือ ! แล้วลองอธิบายสิ่งที่ตนเองได้อ่านมาให้ตัวเองฟัง คือ เราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังด้วย ภาษาสานวนของเราเอง ฟังแล้วเข้าใจหรือเปล่า หากเราสามารถอธิบายให้ตัวเองฟังรู้เรื่อง แสดงว่าเราเข้าใจแล้ว ให้ อ่านต่อไปได้ 3. หากตอนใดเราอ่านแล้วแต่ไม่สามารถอธิบายให้ตัวเองรู้เรื่อง แสดงว่ายังไม่เข้าใจ ให้กลับไปอ่านทบทวนใหม่อีกครั้ง 4. หากเราพยายามอ่านหลายรอบแล้วยังไม่เข้าใจจริงๆให้จดโน้ตไว้เพื่อนาไปถามอาจารย์ จากนั้นให้อ่านต่อไป 5. ข้อมูลบางอย่างในตาราจาเป็นที่จะต้องท่องจา เช่น ตัวเลข สถิติ ชื่อสถานที่ บุคคล หรือ สูตร ต่าง ๆ ฯลฯ ก็ควร ท่องจาไว้ด้วย เพื่อทาให้เกิดความเข้าใจ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 6. การเรียนด้วยวิธีท่องจาโดยปราศจากความเข้าใจ เรียนไปก็ลืมไป สูญเสียเวลา เปล่าประโยชน์ เสียเงินทอง 7. การเรียนที่เน้นแต่ความเข้าใจ โดยไม่ยอมท่องจา ก็จะทาให้เราเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ไม่ชัดเจน คลุมเครือ 8. ดังนั้นจึงขอสรุปเทคนิคง่าย ๆ สั้น ๆ ดังต่อไปนี้ ก.ให้อ่านหนังสือ สลับกับ การอธิบายให้ตัวเองฟัง ข.ให้ท่องจาเฉพาะข้อมูลที่จาเป็นต้องจาจริง ๆ เช่น ตัวเลข ชื่อเฉพาะต่างๆ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน รวบรวมเทคนิคในการวางแผนการเรียน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ไม่ใช่อุปกรณ์ งบประมาณ ไม่มีงบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 2. การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. ความรู้ที่เราต้องการศึกษาให้สอดคล้องกับเวลาที่เหมาะสมกับกิจกรรมประจาวันของแต่ละคน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง https://sistacafe.com/summaries/10121-วิธีจดPannerอย่างไรให้ไม่แป้กแถมทาได้ตามเป้าหมายได้ด้วย https://www.top-atutor.com/15234571/6-เทคนิคการจดเลกเชอร์ https://www.dek-d.com/education/35460/ https://www.dek-d.com/board/view/1610287/