SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก)
คณะผู้จัดทา
นางสาวน้าเพชร ขาวงษ์ เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชา ง 33202
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
หัวข้อโครงงาน เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย
โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม
ปีการศึกษา 2557
บทคัดย่อ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก)
เป็นโครงงานที่ร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับผู้ที่ศึกษาจาเป็นต้องมีความสนใจเป็นพิเศษโดยแท้จ
ริงต้องการค้นคว้าศึกษาหาความรู้ในด้านการประดิษฐ์ที่คั่นให้มากที่สุดซึ่งจะทาให้น่าสนใจ
เพราะคนจะไม่ค่อยสนใจ แต่หาสามารถนาไปทาเป็นวิชาชีพแล้ว
หากทาแล้วมีฝีมือออกแบบได้น่าสนใจ
พวกเราจาจัดทาโครงงานเล่นนี้ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าขั้นตอนและเทคนิคในการที่คั่นหนังสือสื่อรั
กให้น่าสนใจ โดยยกตัวอย่างการทาเป็นรูปสัตว์และเขียนข้อความเช่นกลอน
รวบรวมไว้ในเล่นนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจได้ศึกษาและเป็นแนวทางต่อไป
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก
เราได้พัฒนาออกมาเป็นวิธีการสอนในการทาที่คั่นหนังสือในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กแล้ว
เราได้นาไปเผยแร่ทาง Slide share แล้วอัปลงเฟสบุ๊ค
และนาผลงานกับแบบประเมินคุณภาพไปให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
.....โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม
เพื่อต้องการทราบว่าผลงานที่ได้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ดีหรือไม่ดี
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานจัดทาขึ้นเพื่อแนะนาการทาที่ขั้นหนังสือให้น่าสนใจโดยทาเป็นรูปทรงต่างๆ
เช่น รูปสัตว์ต่างๆและเขียนข้อความเช่นกลอน
ที่คั่นหนังสือสื่อรักสามารถนาไปใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น
ถ้าเป็นหนังสือนิทานก็นาที่คั่นรูปสัตว์ไปใช้
ถ้าเป็นหนังสือนวนิยายก็ควรเป็นรูปทรงที่ทันสมัยและมีมีกลอนรักเป็นต้น
และที่คั่นหนังสือสื่อรักยังสามารถทาเป็นอาชีพเสริมได้แลใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
การจัดทาโครงงานครั้งนี้สาเร็จรุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้คาปรึกษาจากท่าน
อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงขอขอบคุณมาณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย
ที่กรุณาให้คาแนะนาในการจัดทาโครงงานและเป็นที่ปรึกษาโครงงานและประเมินผลงาน
ขอขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .....
ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการดูผลงานและทาแบบประเมินความพึงพอใจ
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณอาจารย์ที่คอยสนับสนุน จึงทาให้ผลงานออกมาสาเร็จได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
วิธีการศึกษา
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา
ปัญหาที่พบจากการนาผลงานไปเผยแพร่
ข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ภาคเรียนที่ 1 สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
การเรียนและในการอ่านหนังสือเรียนและ นวนิยายหรือหนังสือต่างๆ เมื่อเราอ่านหรือมีภารกิจ
หรือไปทาอะไรต่างๆ เราก็จะพับมุมหนังสือหรือคั่นหน้าไว้และตรงที่เราพับมุมนั้น
จะทาให้หนังสือดูไม่น่าอ่าน เราจึงจัดทาที่คั่นหนังสือสื่อรักนี้มาในรูปทรงต่างๆและมีข้อความ
เช่น กลอนให้ที่คั่นหนังสือหน้ามองยิ่งขึ้น
ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงจัดทาโครงงานที่คั่นหนังสือสื่อรัก
ขึ้นมาโดยศึกษาเนื้อหาเรื่องเกี่ยวกับวิธีการทา
เพื่ออธิบายวิธีการทาและประโยชน์ในการใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อต้องการหาจุดบกพร่องหรือข้อบกพร่องของผลงาน
2. เพื่อเผยแพร่ผลงานในด้านต่างๆ
3. เพื่อทราบถึงความคุณภาพความพึงพอใจของผลงานและผู้อ่าน
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ประเมินความพึงพอใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การประเมินหมายถึง กระบวนการใช้ดุลยพินิจและหรือค่านิยมและข้อจากัดต่างๆ
ในการพิจารณาตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
โดยการเปรียบเทียบผลที่วัดได้กับเกณฑ์ที่กาหนดไว้และการประเมินหมายถึง
กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ(เชิงคุณค่า)เพื่อช่วยให้ผู้มีอานาจตัดสินใจได้ตัดสินใจเลือก
ทางเลือกอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดไทเลอร์(Tyler. 1950) กล่าวว่าการประเมิน
เป็นการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งที่เป็นจริง(Whatis)กับสิ่งที่ควรจะเป็น(Whatshould
be) และการใช้ข้อมูลความไม่สอดคล้องเป็นหลักในการตัดสินใจสรุปผลการดาเนินงานครอนบ
าค(Cronbach.1963, 1982) กล่าวว่าการประเมินคือการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างได้มาตรฐาน
เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวก็โครงการโพรวัส(Provus.1971) กล่าวว่า
การประเมินเป็นการเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างการปฏิบัติตามที่วางแผนกับการปฏิบัติ
ตามที่เป็นจริงและผลลัพธ์ที่คาดหวังตามแผนกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงความสอดคล้อง
ไม่สอดคล้องที่เกิดขึ้นแสดงถึงข้อดีข้อเสียของโครงการอัลคิน(Alkin.
1969) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่าคือ
กระบวนการที่ได้มาซึ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจการเลือกเฟ้นข่าวสารที่เหมาะสม
การรวบรวมและวิเคราะห์ข่าวสารเพื่อรายงานข้อสรุป
เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ทาการตัดสินใจในการเลือกหนทางต่างๆที่เป็นไปได้สคริฟเว่น (Scriven.
1973) กล่าวว่าการประเมินเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าที่แท้จริงทั้งหมดของสิ่งที่มุ่งประเมิน
ทั้งคุณค่าของผลที่คาดหวังและมิได้คาดหวังสเต้ก (Stake.
1975) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่า
เป็นการบรรยายและตัดสินคุณค่าโปรแกรมการศึกษา
ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมินโดยอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิ
หรือผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินคุณค่าสตัฟเฟลบีม (Stufflebeam.
1971) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่าเป็นกระบวนการกาหนดปัญหาเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
ไพศาล หวังพานิช(อ้างอิงจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.2543? :2) กล่าวว่าการประเมิน
หมายถึง
กระบวนการในการตรวจสอบหรือการพิจารณาตัดสินคุณลักษณะของสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือของกิจ
กรรมใด ๆ เพื่อกาหนดคุณค่าคุณภาพความถูกต้องเหมาะสมโดยอาศัยเกณฑ์เป็นหลัก
สรุปได้ว่า การประเมินคือการพิจารณาหรือกาหนดคุณค่าสิ่งต่างๆตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง
ศิริชัย กาญจนวาสี(2537 :
19) กล่าวว่าความหมายของการประเมินได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง
เริ่มต้นจากความเข้าใจที่ว่าการประเมินเป็นสิ่งเดียวกับการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
(Measurement-oriented) การประเมินเป็นกระบวนการศึกษาสิ่งต่างๆ
โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย(Research-
oriented) การประเมินเป็นการตรวจสอบการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้(Objectives-
oriented) การประเมินเป็นการช่วยเสนอสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decisionoriented)การปร
ะเมินเป็นการสนองสารสนเทศแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลายด้วยการบรรยายอย่างลุ่มลึก(Description-
oriented) และการประเมินเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน(Judgmentoriented) สมคิด
พรมจุ้ย (2542 :27-28) กล่าวว่าการประเมินเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ
เพื่อช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการหรือแผนงาน
ตลอดจนการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ว่ามีมากน้อยเพียงใด
เป็นกระบวนการบ่งชี้ถึงคุณค่าของโครงการกล่าวคือ
โครงการที่ได้ดาเนินการไปแล้วได้ผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใดสมหวัง
พิธิยานุวัฒน์(2544ข:113-114) กล่าวว่าในการประเมินค่าสิ่งใดก็ตามจะต้องประกอบด้วย
ส่วนประกอบการ(Performance) ที่ได้จากการวัดกับการตัดสินคุณค่าของส่วนประกอบการนั้น
โดยการเปรียบเทียบส่วนประกอบการที่ได้จากการวัดกับเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบของกา
รประเมินเขียนแสดงในรูปสมการ ดังนี้ การประเมิน= การวัด+การตัดสินใจ(Evaluation)
(Measurement) (Judgment)การประเมินเป็นกระบวนการที่มุ่งตอบคาถาม How
good? เพราะก่อให้เกิดสารสนเทศ(Information)
เพื่อช่วยในการเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแสดงดังนี้
ภาพประกอบ2กระบวนการประเมินการประเมินค่าสารสนเทศคุณค่านิยมผู้บริหาร ข้อจากัด
ทางเลือกสุวิมลว่องวาณิช (2533) กล่าวว่าการพัฒนาโครงการควรกระทาควบคู่กับการ
ประเมินโครงการโดยมีจุดสาคัญที่เหมือนกันคือ
การออกแบบโครงการให้มีความสอดคล้องกับเป้ าหมายของโครงการ
โครงการจะประสบความผลสาเร็จหรือไม่ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับการทางานของคณะทางาน
ซึ่งต้องทางานประสานสัมพันธ์กันตลอดโครงการ
ซึ่งที่ต้องให้ความสนใจในการพัฒนาโครงการอยู่ที่การกาหนดกิจกรรมให้เหมาะกับเป้ าหมายขอ
งโครงการส่วนการประเมินโครงการนั้น
ความสาคัญอยู่ที่การกาหนดตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดเพื่อตรวจสอบว่าโครงการบรรลุตามเป้ าหมายที่วางไ
ว้หรือไม่ ปุระชัยเปี่ยมสมบูรณ์ (2529 :7, 51) ให้ความหมายของการประเมินว่าหมายถึง
กระบวนการที่มุ่งแสวงหาคาตอบสาหรับคาถามที่ว่านโยบาย/แผนงาน/โครงการบรรลุผลตาม
วัตถุประสงค์และเป้ าประสงค์ที่กาหนดไว้แต่ต้นหรือไม่และระดับใด
คุณภาพ(Quality) หมายถึง ความเหมาะสมกับการใช้งาน(Juran,
1964) การเป็นไปตามความต้องการหรือสอดคล้องกับข้อกาหนด(Crosby,
1979) คุณภาพของการออกแบบและความสอดคล้องในการดาเนินงาน
ที่จะนามาซึ่งความภาคภูมิใจแก่เจ้าของผลงาน(Deming,1940) การประหยัดที่สุด
มีประโยชน์ในการใช้งานสูงสุด และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าอย่างสม่าเสมอ(Ishikawa,
1985) สิ่งที่ดีที่สุดสาหรับเงื่อนไขด้านการใช้งานและราคาของลูกค้า(Feigenbaum,
1961) หรือมาตรฐาน ผลงาน ประสิทธิภาพ และความพอใจ(ทิพวรรณ,2547)
จากการศึกษาความหมายของคุณภาพที่ผู้เชี่ยวชาญกล่าวมาจะเห็นว่า
คุณภาพเป็นคาที่มีความหมายเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่เสมออย่างไรก็ดี
สามารถสรุปความสอดคล้องของความหมายได้3ด้าน
คือ การเป็นไปตามมาตรฐานหรือข้อกาหนด การสร้างความพอใจให้ลูกค้า
และด้านต้นทุนการดาเนินงานที่เหมาะสม
ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าคุณภาพหมายถึง
การดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพเป็นไปตามข้อกาหนดที่ต้องการ
โดยสินค้าหรือบริการนั้นสร้างความพอใจให้กับลูกค้า
และมีต้นทุนการดาเนินงานที่เหมาะสมได้เปรียบคู่แข่งขันลูกค้ามีความพึงพอใจ
และยอมจ่ายตามราคาเพื่อซื้อความพอใจนั้นซึ่งมิใช่เรื่องที่ประเมินจากสิ่งของที่จับต้องได้
หรือเป็นรูปธรรมเพียงด้านเดียว แต่จะต้องนาปัจจัยอื่นๆที่เป็นนามธรรมมาประกอบการ
การออกแบบ หมายถึงการถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงาน
ที่ผู้อื่นสามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน
แบบที่คิดออกมาอาจเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริงหรือแบบที่เป็นลักษณะเพ้อฝัน
เป็นเพียงนามธรรมก็ได้
หลักทั่วไปก่อนการออกแบบจะต้องพิจารณาหรือคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
ขนาดและสัดส่วน
ขนาด(Dimensions) หมายถึง ลักษณะของวัตถุ ที่จะเขียนคือมีลักษณะใหญ่เล็ก
กว้างยาวตามที่เรารับรู้ได้ตามหลักการมองเห็นภาพด้วยสายตาของเราคือวัตถุชนิดเดียวกัน
ขนาดเท่ากันอยู่ใกล้กว่าจะมีขนาด ใหญ่กว่าวัตถุที่อยู่ไกลออกไปและยิ่งอยู่ไกลมากเท่าไร
ก็ยิ่งเล็กลงไปจนมองไม่เห็น
สัดส่วน (Proportion) หมายถึงการจัดภาพหรือ
การเขียนภาพให้ได้ขนาดและที่สว่างจนเกิดความสมส่วน ซึ่งกันและกัน
ซึ่งเกิดความสัมพันธ์กันด้วยดี ในการปฏิบัติงานศิลปะ
สัดส่วนมีความสาคัญมากจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดเป็นอย่างดีด้วย
ขนาดและสัดส่วนมีความสัมพันธ์กับรูปร่าง รูปทรงเมื่อเรานารูปร่างรูปทรง
มาจัดองค์ประกอบเข้าด้วยกันจะทาให้เกิดความรู้สึกดังนี้
- ขนาดใกล้เคียงกันให้ความรู้สึกกลมกลืน
- ขนาดต่างกันให้ความรู้สึกขัดแย้ง
สีสันและความสวยงาม
(colour) การออกแบบต้องมีเรื่องการใช้สีเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยเพราะสีนั้นมีประโยชน์ด้านความรู้
สึก
สีแสด ให้ความรู้สึก ตื่นเต้น
สีน้าเงิน ให้ความรู้สึก เคร่งขรึม
สีชมพู ให้ความรู้สึก อ่อนหวาน
ประโยชน์ใช้สอย
(Use) การออกแบบนั้นจะต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย
ผลิตผลงานเมื่อออกมาแล้วสามารถใช้ประโยชน์ได้จริงและมีความสอดคล้องกับการใช้งานเช่น
ออกแบบแจกันสาหรับใส่ดอกไม้ ออกแบบโอ่งสาหรับใส่น้า เป็นต้น
ความประหยัด(Economize) ความประหยัดเป็นสิ่งจาเป็นอย่างมาก
การออกแบบต้งอคานึงถึงทุนที่ใช้ต้องน้อยที่สุด
ต้องประหยัดไม่ใช้งบประมาณให้สิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์
มีคุณค่า(Worthy) การออกแบบต้องเน้นที่การเพิ่มคุณค่า
โดยการออกแบบที่มีรายละเอียดเพิ่มผลงานมีความประณีตเรียบร้อย
ความมีคุณค่ามิใช่ที่การตีราคาแต่จะเป็นการประเมินโดยรวมว่ามีคุณค่าการเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ (Material) ต้องให้มีความเหมาะสมกับงาน
ควรเป็นวัสดุพื้นบ้านและหาได้ง่ายตามท้องตลาดมีมากพอหาได้ง่ายราคาถูก
และเป็นวัสดุที่แข็งแรงทนทาน
กลอนแปด เป็น คาประพันธ์อีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันทั่วไป
เพราะเป็นร้อยกรองชนิดที่มีความเรียบเรียงง่ายต่อการสื่อความหมาย
และสามารถสื่อได้อย่างไพเราะ ซึ่งกลอนแปดมีการกาหนดพยางค์และสัมผัส
มีหลายชนิดแต่ที่นิยมคือกลอนสุภาพ
ลักษณะคาประพันธ์
๑. บทบทหนึ่งมี ๔ วรรค
วรรคที่หนึ่งเรียกวรรคสดับ วรรคที่สองเรียกวรรครับ
วรรคที่สามเรียกวรรครอง วรรคที่สี่เรียกวรรคส่ง
แต่ละวรรคมีแปดคาจึงเรียกว่ากลอนแปด
๒. เสียงคากลอนทุกประเภทจะกาหนดเสียงคาท้ายวรรคเป็นสาคัญกาหนดได้ดังนี้
คาท้ายวรรคสดับ กาหนดให้ใช้ได้ทุกเสียง
คาท้ายวรรครับ กาหนดห้ามใช้เสียงสามัญกับตรี
คาท้ายวรรครองกาหนดให้ใช้เฉพาะเสียงสามัญกับตรี
คาท้ายวรรคส่ง กาหนดให้ใช้เฉพาะเสียงสามัญกับตรี
๓. สัมผัส
ก.สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหว่างวรรค อันเป็นสัมผัสบังคับ มีดังนี้
คาสุดท้ายของวรรคที่หนึ่ง(วรรคสดับ)สัมผัสกับคาที่สามหรือที่ห้า ของวรรคที่สอง (วรรครับ)
คาสุดท้ายของวรรคที่สอง(วรรครับ) สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่สาม (วรรครอง)
และคาที่สามหรือที่ห้าของวรรคที่สี่(วรรคส่ง)
สัมผัสระหว่างบท ของกลอนแปดคือ
คาสุดท้ายของวรรคที่สี่(วรรคส่ง)
เป็นคาที่ส่งสัมผัสบังคับให้บทต่อไปต้องรับสัมผัสที่คาสุดท้ายของวรรคที่สอง (วรรครับ)
ข. สัมผัสใน ในแต่ละวรรคของกลอนแปดแบ่งช่วงจังหวะออกเป็นสามช่วงดังนี้
หนึ่งสองสาม – หนึ่งสอง – หนึ่งสองสาม
ฉะนั้นสัมผัสในจึงกาหนดได้ตามช่วงจังหวะในแต่ละวรรคนั่นเองดังตัวอย่าง
อันกลอนแปด – แปด คา– ประจาวรรค
วางเป็นหลัก –อัก ษร –สุนทรศรี
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา
1. ริบบิ้น
2. ผ้าสักหลาด
3. กรรไกร
4. กระดุม
5. ของตกแต่ง
6. เข็มกับด้าย
7. กระดาษสี
วิธีการศึกษา
1. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ
2. วางแผนการทาโครงงาน
3. แจกจ่ายงาน
4. สืบค้นข้อมูล
5. ลงมือปฏิบัติ
6. ตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย
7. เผยแพร่
8. นาเสนอและสรุปผล
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ผลการสรุปแบบประเมินโครงงานประเภทหนังสือเล่มเล็ก
จากภาพแผนภูมิแท่ง เป็นการประเมินแบบความพึงพอใจของนักเรียน
โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3
ความรู้ที่ได้รับจากโครงงาน
0
1
2
3
4
5
6
7
8
ดีมาก
มาก
ปานกลาง
พอใช้
ปรับปรุง
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 50.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
รูปแบบของรูปเล่ม
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
อักขระที่ใช้ในหนังสือเล่มเล็ก
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 30.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
เนื้อหามีความเหมาะสมกับผู้อ่าน
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
มีความสอดคล้องกับเรื่องการใช้งาน
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 50.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
ทาให้เข้าใจเนื้อหาชัดเจนขึ้น
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00
มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0
จากการคิดเป็นร้อยละของแต่ละวิธีนาเสนอจะอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก เป็นส่วนใหญ่มาก พอใช้
ปานกลาง และ ปรับปรุง ตามลาดับ
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ปัญหาที่พบจากการนาผลงานไปเผยแพร่
1. มีเวลาในการเผยแพร่ผลงานน้อย
2. เด็กบางกลุ่มไม่ให้ความร่วมมือในกาทาแบบประเมินความพึงพอใจ
3. การใช้อินเทอร์เน็ตมีปัญหาในการเข้าโปรแกรม
4. งบประมาณในการซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทาชิ้นงาน
ข้อเสนอแนะ
ควรมีเวลาในการทาผลงานมากกว่านี้ เด็กบางคนยังขาดความมีระเบียบวินัย
และหลักในการเป็นผู้ฟังที่ดี เราควรหาจุดจูงใจเพื่อให้เด็กทุกคนสนใจและตั้งใจฟัง
ส่วนอินเทอร์เน็ตเราไม่สามารถไปแก้ไขมันได้มันขึ้นอยู่ว่าจะมีสัญญาณปล่อยมามากน้อยเพียงใ
ด จะหลุดเมื่อไหร่เราก็ไม่รู้หรืออินเทอร์เน็ตอาจจะใช้ได้แต่โปรแกรมที่ใช้ไม่สมบูรณ์
เราควรตรวจสอบทั้งอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมที่ใช้ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน
และควรใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพแต่ราคาถูกพอเหมาะกับชิ้นงานที่จะทา
ภาคผนวก
แบบประเมินโครงงานประเภทหนังสือเล่มเล็ก
เพศ(ใส่เครื่องหมาย )  ชาย  หญิง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ..........
คาชี้แจงให้ทาเครื่องหมาย ถูกลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของคุณ
วิธีการนาเสนอ ระดับความพึงพอใจ หมายเห
ตุดีมา
ก
มา
ก
ปานกลาง พอ
ใช้
ปรับปรุ
ง
1.ความรู้ที่ได้รับจากโครง
2.รูปเเบบของรูปเล่ม
3.อักขระวิธีในการใช้ภาษาในหนังสือเล่
มเล็ก
4.เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้อ่า
น
5.มีความสอดคล้องกับเรื่องการใช้งาน
6.ทาให้เข้าใจเนื้อหาชัดเจนขึ้น
7.มีข้อคิดสอดแทรกข้อคิดไว้อย่างเหมาะ
สม
ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
บรรณานุกรม
http://p-dit.com/2015/01/19/6343/
http://p-dit.com/2014/09/30/5510/
http://p-dit.com/2015/02/24/6566/
http://p-dit.com/2015/02/15/6506/
http://p-dit.com/2015/01/15/6327/
http://p-dit.com/2015/01/17/6337/
http://p-dit.com/2014/12/27/6186/

More Related Content

What's hot

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)cm carent
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b c
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b cแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b c
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b cpantiluck
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์sarawut saoklieo
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b c
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b cแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b c
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 phonics my a b c
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 

Similar to แบบประเมิน ความพึงพอใจ

แบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพแบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพPawit Chamruang
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมnaaikawaii
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมPimnutchaya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์weniktareera
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Suvapon Kim
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมmemmosrp
 
ไข่มุก
ไข่มุกไข่มุก
ไข่มุกthunniti
 
มะปราง
มะปรางมะปราง
มะปรางthunniti
 
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่น
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่นโครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่น
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่นNun Protozoa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chureekon MT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarunporn Kapbai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Charunya Chaiaupakham
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์AtichaSW
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556noeiinoii
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมPam'm Hyha
 
2558 project บันทึกอัตโนมัติ
2558 project  บันทึกอัตโนมัติ2558 project  บันทึกอัตโนมัติ
2558 project บันทึกอัตโนมัติAuksarapak Hitasiri
 

Similar to แบบประเมิน ความพึงพอใจ (20)

แบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพแบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพ
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ไข่มุก
ไข่มุกไข่มุก
ไข่มุก
 
มะปราง
มะปรางมะปราง
มะปราง
 
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่น
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่นโครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่น
โครงงานลูกอมเพื่อลมหายใจสดชื่น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ดเดเดเ
ดเดเดเดเดเดเ
ดเดเดเ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2558 project บันทึกอัตโนมัติ
2558 project  บันทึกอัตโนมัติ2558 project  บันทึกอัตโนมัติ
2558 project บันทึกอัตโนมัติ
 

แบบประเมิน ความพึงพอใจ

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก) คณะผู้จัดทา นางสาวน้าเพชร ขาวงษ์ เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ครูที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชา ง 33202 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. หัวข้อโครงงาน เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก (หนังสือเล่มเล็ก) เป็นโครงงานที่ร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับผู้ที่ศึกษาจาเป็นต้องมีความสนใจเป็นพิเศษโดยแท้จ ริงต้องการค้นคว้าศึกษาหาความรู้ในด้านการประดิษฐ์ที่คั่นให้มากที่สุดซึ่งจะทาให้น่าสนใจ เพราะคนจะไม่ค่อยสนใจ แต่หาสามารถนาไปทาเป็นวิชาชีพแล้ว หากทาแล้วมีฝีมือออกแบบได้น่าสนใจ พวกเราจาจัดทาโครงงานเล่นนี้ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้าขั้นตอนและเทคนิคในการที่คั่นหนังสือสื่อรั กให้น่าสนใจ โดยยกตัวอย่างการทาเป็นรูปสัตว์และเขียนข้อความเช่นกลอน รวบรวมไว้ในเล่นนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจได้ศึกษาและเป็นแนวทางต่อไป โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง ที่คั่นหนังสือสื่อรัก เราได้พัฒนาออกมาเป็นวิธีการสอนในการทาที่คั่นหนังสือในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กแล้ว เราได้นาไปเผยแร่ทาง Slide share แล้วอัปลงเฟสบุ๊ค และนาผลงานกับแบบประเมินคุณภาพไปให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
  • 3. .....โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม เพื่อต้องการทราบว่าผลงานที่ได้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ดีหรือไม่ดี กิตติกรรมประกาศ โครงงานจัดทาขึ้นเพื่อแนะนาการทาที่ขั้นหนังสือให้น่าสนใจโดยทาเป็นรูปทรงต่างๆ เช่น รูปสัตว์ต่างๆและเขียนข้อความเช่นกลอน ที่คั่นหนังสือสื่อรักสามารถนาไปใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น ถ้าเป็นหนังสือนิทานก็นาที่คั่นรูปสัตว์ไปใช้ ถ้าเป็นหนังสือนวนิยายก็ควรเป็นรูปทรงที่ทันสมัยและมีมีกลอนรักเป็นต้น และที่คั่นหนังสือสื่อรักยังสามารถทาเป็นอาชีพเสริมได้แลใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การจัดทาโครงงานครั้งนี้สาเร็จรุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้คาปรึกษาจากท่าน อาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงขอขอบคุณมาณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอาจารย์ศิริรัตน์ นาไทย ที่กรุณาให้คาแนะนาในการจัดทาโครงงานและเป็นที่ปรึกษาโครงงานและประเมินผลงาน ขอขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ..... ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการดูผลงานและทาแบบประเมินความพึงพอใจ สุดท้ายนี้ขอขอบคุณอาจารย์ที่คอยสนับสนุน จึงทาให้ผลงานออกมาสาเร็จได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา วิธีการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา
  • 5. ปัญหาที่พบจากการนาผลงานไปเผยแพร่ ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก บรรณานุกรม บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ภาคเรียนที่ 1 สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การเรียนและในการอ่านหนังสือเรียนและ นวนิยายหรือหนังสือต่างๆ เมื่อเราอ่านหรือมีภารกิจ หรือไปทาอะไรต่างๆ เราก็จะพับมุมหนังสือหรือคั่นหน้าไว้และตรงที่เราพับมุมนั้น จะทาให้หนังสือดูไม่น่าอ่าน เราจึงจัดทาที่คั่นหนังสือสื่อรักนี้มาในรูปทรงต่างๆและมีข้อความ เช่น กลอนให้ที่คั่นหนังสือหน้ามองยิ่งขึ้น ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงจัดทาโครงงานที่คั่นหนังสือสื่อรัก ขึ้นมาโดยศึกษาเนื้อหาเรื่องเกี่ยวกับวิธีการทา เพื่ออธิบายวิธีการทาและประโยชน์ในการใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อต้องการหาจุดบกพร่องหรือข้อบกพร่องของผลงาน 2. เพื่อเผยแพร่ผลงานในด้านต่างๆ
  • 6. 3. เพื่อทราบถึงความคุณภาพความพึงพอใจของผลงานและผู้อ่าน ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประเมินความพึงพอใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การประเมินหมายถึง กระบวนการใช้ดุลยพินิจและหรือค่านิยมและข้อจากัดต่างๆ ในการพิจารณาตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยการเปรียบเทียบผลที่วัดได้กับเกณฑ์ที่กาหนดไว้และการประเมินหมายถึง กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ(เชิงคุณค่า)เพื่อช่วยให้ผู้มีอานาจตัดสินใจได้ตัดสินใจเลือก ทางเลือกอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดไทเลอร์(Tyler. 1950) กล่าวว่าการประเมิน เป็นการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งที่เป็นจริง(Whatis)กับสิ่งที่ควรจะเป็น(Whatshould be) และการใช้ข้อมูลความไม่สอดคล้องเป็นหลักในการตัดสินใจสรุปผลการดาเนินงานครอนบ าค(Cronbach.1963, 1982) กล่าวว่าการประเมินคือการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างได้มาตรฐาน เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวก็โครงการโพรวัส(Provus.1971) กล่าวว่า การประเมินเป็นการเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างการปฏิบัติตามที่วางแผนกับการปฏิบัติ ตามที่เป็นจริงและผลลัพธ์ที่คาดหวังตามแผนกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงความสอดคล้อง ไม่สอดคล้องที่เกิดขึ้นแสดงถึงข้อดีข้อเสียของโครงการอัลคิน(Alkin. 1969) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่าคือ กระบวนการที่ได้มาซึ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจการเลือกเฟ้นข่าวสารที่เหมาะสม
  • 7. การรวบรวมและวิเคราะห์ข่าวสารเพื่อรายงานข้อสรุป เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ทาการตัดสินใจในการเลือกหนทางต่างๆที่เป็นไปได้สคริฟเว่น (Scriven. 1973) กล่าวว่าการประเมินเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าที่แท้จริงทั้งหมดของสิ่งที่มุ่งประเมิน ทั้งคุณค่าของผลที่คาดหวังและมิได้คาดหวังสเต้ก (Stake. 1975) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่า เป็นการบรรยายและตัดสินคุณค่าโปรแกรมการศึกษา ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมินโดยอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินคุณค่าสตัฟเฟลบีม (Stufflebeam. 1971) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่าเป็นกระบวนการกาหนดปัญหาเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ไพศาล หวังพานิช(อ้างอิงจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.2543? :2) กล่าวว่าการประเมิน หมายถึง กระบวนการในการตรวจสอบหรือการพิจารณาตัดสินคุณลักษณะของสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือของกิจ กรรมใด ๆ เพื่อกาหนดคุณค่าคุณภาพความถูกต้องเหมาะสมโดยอาศัยเกณฑ์เป็นหลัก สรุปได้ว่า การประเมินคือการพิจารณาหรือกาหนดคุณค่าสิ่งต่างๆตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง ศิริชัย กาญจนวาสี(2537 : 19) กล่าวว่าความหมายของการประเมินได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เริ่มต้นจากความเข้าใจที่ว่าการประเมินเป็นสิ่งเดียวกับการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (Measurement-oriented) การประเมินเป็นกระบวนการศึกษาสิ่งต่างๆ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย(Research- oriented) การประเมินเป็นการตรวจสอบการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้(Objectives- oriented) การประเมินเป็นการช่วยเสนอสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decisionoriented)การปร ะเมินเป็นการสนองสารสนเทศแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลายด้วยการบรรยายอย่างลุ่มลึก(Description- oriented) และการประเมินเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน(Judgmentoriented) สมคิด พรมจุ้ย (2542 :27-28) กล่าวว่าการประเมินเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ
  • 8. เพื่อช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการหรือแผนงาน ตลอดจนการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ว่ามีมากน้อยเพียงใด เป็นกระบวนการบ่งชี้ถึงคุณค่าของโครงการกล่าวคือ โครงการที่ได้ดาเนินการไปแล้วได้ผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใดสมหวัง พิธิยานุวัฒน์(2544ข:113-114) กล่าวว่าในการประเมินค่าสิ่งใดก็ตามจะต้องประกอบด้วย ส่วนประกอบการ(Performance) ที่ได้จากการวัดกับการตัดสินคุณค่าของส่วนประกอบการนั้น โดยการเปรียบเทียบส่วนประกอบการที่ได้จากการวัดกับเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบของกา รประเมินเขียนแสดงในรูปสมการ ดังนี้ การประเมิน= การวัด+การตัดสินใจ(Evaluation) (Measurement) (Judgment)การประเมินเป็นกระบวนการที่มุ่งตอบคาถาม How good? เพราะก่อให้เกิดสารสนเทศ(Information) เพื่อช่วยในการเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแสดงดังนี้ ภาพประกอบ2กระบวนการประเมินการประเมินค่าสารสนเทศคุณค่านิยมผู้บริหาร ข้อจากัด ทางเลือกสุวิมลว่องวาณิช (2533) กล่าวว่าการพัฒนาโครงการควรกระทาควบคู่กับการ ประเมินโครงการโดยมีจุดสาคัญที่เหมือนกันคือ การออกแบบโครงการให้มีความสอดคล้องกับเป้ าหมายของโครงการ โครงการจะประสบความผลสาเร็จหรือไม่ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับการทางานของคณะทางาน ซึ่งต้องทางานประสานสัมพันธ์กันตลอดโครงการ ซึ่งที่ต้องให้ความสนใจในการพัฒนาโครงการอยู่ที่การกาหนดกิจกรรมให้เหมาะกับเป้ าหมายขอ งโครงการส่วนการประเมินโครงการนั้น ความสาคัญอยู่ที่การกาหนดตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดเพื่อตรวจสอบว่าโครงการบรรลุตามเป้ าหมายที่วางไ ว้หรือไม่ ปุระชัยเปี่ยมสมบูรณ์ (2529 :7, 51) ให้ความหมายของการประเมินว่าหมายถึง กระบวนการที่มุ่งแสวงหาคาตอบสาหรับคาถามที่ว่านโยบาย/แผนงาน/โครงการบรรลุผลตาม วัตถุประสงค์และเป้ าประสงค์ที่กาหนดไว้แต่ต้นหรือไม่และระดับใด
  • 9. คุณภาพ(Quality) หมายถึง ความเหมาะสมกับการใช้งาน(Juran, 1964) การเป็นไปตามความต้องการหรือสอดคล้องกับข้อกาหนด(Crosby, 1979) คุณภาพของการออกแบบและความสอดคล้องในการดาเนินงาน ที่จะนามาซึ่งความภาคภูมิใจแก่เจ้าของผลงาน(Deming,1940) การประหยัดที่สุด มีประโยชน์ในการใช้งานสูงสุด และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าอย่างสม่าเสมอ(Ishikawa, 1985) สิ่งที่ดีที่สุดสาหรับเงื่อนไขด้านการใช้งานและราคาของลูกค้า(Feigenbaum, 1961) หรือมาตรฐาน ผลงาน ประสิทธิภาพ และความพอใจ(ทิพวรรณ,2547) จากการศึกษาความหมายของคุณภาพที่ผู้เชี่ยวชาญกล่าวมาจะเห็นว่า คุณภาพเป็นคาที่มีความหมายเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่เสมออย่างไรก็ดี สามารถสรุปความสอดคล้องของความหมายได้3ด้าน คือ การเป็นไปตามมาตรฐานหรือข้อกาหนด การสร้างความพอใจให้ลูกค้า และด้านต้นทุนการดาเนินงานที่เหมาะสม ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าคุณภาพหมายถึง การดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพเป็นไปตามข้อกาหนดที่ต้องการ โดยสินค้าหรือบริการนั้นสร้างความพอใจให้กับลูกค้า และมีต้นทุนการดาเนินงานที่เหมาะสมได้เปรียบคู่แข่งขันลูกค้ามีความพึงพอใจ และยอมจ่ายตามราคาเพื่อซื้อความพอใจนั้นซึ่งมิใช่เรื่องที่ประเมินจากสิ่งของที่จับต้องได้ หรือเป็นรูปธรรมเพียงด้านเดียว แต่จะต้องนาปัจจัยอื่นๆที่เป็นนามธรรมมาประกอบการ การออกแบบ หมายถึงการถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่นสามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน แบบที่คิดออกมาอาจเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริงหรือแบบที่เป็นลักษณะเพ้อฝัน เป็นเพียงนามธรรมก็ได้ หลักทั่วไปก่อนการออกแบบจะต้องพิจารณาหรือคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
  • 10. ขนาดและสัดส่วน ขนาด(Dimensions) หมายถึง ลักษณะของวัตถุ ที่จะเขียนคือมีลักษณะใหญ่เล็ก กว้างยาวตามที่เรารับรู้ได้ตามหลักการมองเห็นภาพด้วยสายตาของเราคือวัตถุชนิดเดียวกัน ขนาดเท่ากันอยู่ใกล้กว่าจะมีขนาด ใหญ่กว่าวัตถุที่อยู่ไกลออกไปและยิ่งอยู่ไกลมากเท่าไร ก็ยิ่งเล็กลงไปจนมองไม่เห็น สัดส่วน (Proportion) หมายถึงการจัดภาพหรือ การเขียนภาพให้ได้ขนาดและที่สว่างจนเกิดความสมส่วน ซึ่งกันและกัน ซึ่งเกิดความสัมพันธ์กันด้วยดี ในการปฏิบัติงานศิลปะ สัดส่วนมีความสาคัญมากจะต้องมีความสัมพันธ์กับขนาดเป็นอย่างดีด้วย ขนาดและสัดส่วนมีความสัมพันธ์กับรูปร่าง รูปทรงเมื่อเรานารูปร่างรูปทรง มาจัดองค์ประกอบเข้าด้วยกันจะทาให้เกิดความรู้สึกดังนี้ - ขนาดใกล้เคียงกันให้ความรู้สึกกลมกลืน - ขนาดต่างกันให้ความรู้สึกขัดแย้ง สีสันและความสวยงาม (colour) การออกแบบต้องมีเรื่องการใช้สีเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยเพราะสีนั้นมีประโยชน์ด้านความรู้ สึก สีแสด ให้ความรู้สึก ตื่นเต้น สีน้าเงิน ให้ความรู้สึก เคร่งขรึม สีชมพู ให้ความรู้สึก อ่อนหวาน ประโยชน์ใช้สอย (Use) การออกแบบนั้นจะต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย
  • 11. ผลิตผลงานเมื่อออกมาแล้วสามารถใช้ประโยชน์ได้จริงและมีความสอดคล้องกับการใช้งานเช่น ออกแบบแจกันสาหรับใส่ดอกไม้ ออกแบบโอ่งสาหรับใส่น้า เป็นต้น ความประหยัด(Economize) ความประหยัดเป็นสิ่งจาเป็นอย่างมาก การออกแบบต้งอคานึงถึงทุนที่ใช้ต้องน้อยที่สุด ต้องประหยัดไม่ใช้งบประมาณให้สิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ มีคุณค่า(Worthy) การออกแบบต้องเน้นที่การเพิ่มคุณค่า โดยการออกแบบที่มีรายละเอียดเพิ่มผลงานมีความประณีตเรียบร้อย ความมีคุณค่ามิใช่ที่การตีราคาแต่จะเป็นการประเมินโดยรวมว่ามีคุณค่าการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ (Material) ต้องให้มีความเหมาะสมกับงาน ควรเป็นวัสดุพื้นบ้านและหาได้ง่ายตามท้องตลาดมีมากพอหาได้ง่ายราคาถูก และเป็นวัสดุที่แข็งแรงทนทาน กลอนแปด เป็น คาประพันธ์อีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันทั่วไป เพราะเป็นร้อยกรองชนิดที่มีความเรียบเรียงง่ายต่อการสื่อความหมาย และสามารถสื่อได้อย่างไพเราะ ซึ่งกลอนแปดมีการกาหนดพยางค์และสัมผัส มีหลายชนิดแต่ที่นิยมคือกลอนสุภาพ
  • 12. ลักษณะคาประพันธ์ ๑. บทบทหนึ่งมี ๔ วรรค วรรคที่หนึ่งเรียกวรรคสดับ วรรคที่สองเรียกวรรครับ วรรคที่สามเรียกวรรครอง วรรคที่สี่เรียกวรรคส่ง แต่ละวรรคมีแปดคาจึงเรียกว่ากลอนแปด ๒. เสียงคากลอนทุกประเภทจะกาหนดเสียงคาท้ายวรรคเป็นสาคัญกาหนดได้ดังนี้ คาท้ายวรรคสดับ กาหนดให้ใช้ได้ทุกเสียง คาท้ายวรรครับ กาหนดห้ามใช้เสียงสามัญกับตรี คาท้ายวรรครองกาหนดให้ใช้เฉพาะเสียงสามัญกับตรี คาท้ายวรรคส่ง กาหนดให้ใช้เฉพาะเสียงสามัญกับตรี ๓. สัมผัส ก.สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหว่างวรรค อันเป็นสัมผัสบังคับ มีดังนี้ คาสุดท้ายของวรรคที่หนึ่ง(วรรคสดับ)สัมผัสกับคาที่สามหรือที่ห้า ของวรรคที่สอง (วรรครับ) คาสุดท้ายของวรรคที่สอง(วรรครับ) สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่สาม (วรรครอง) และคาที่สามหรือที่ห้าของวรรคที่สี่(วรรคส่ง) สัมผัสระหว่างบท ของกลอนแปดคือ คาสุดท้ายของวรรคที่สี่(วรรคส่ง) เป็นคาที่ส่งสัมผัสบังคับให้บทต่อไปต้องรับสัมผัสที่คาสุดท้ายของวรรคที่สอง (วรรครับ) ข. สัมผัสใน ในแต่ละวรรคของกลอนแปดแบ่งช่วงจังหวะออกเป็นสามช่วงดังนี้
  • 13. หนึ่งสองสาม – หนึ่งสอง – หนึ่งสองสาม ฉะนั้นสัมผัสในจึงกาหนดได้ตามช่วงจังหวะในแต่ละวรรคนั่นเองดังตัวอย่าง อันกลอนแปด – แปด คา– ประจาวรรค วางเป็นหลัก –อัก ษร –สุนทรศรี บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา 1. ริบบิ้น 2. ผ้าสักหลาด 3. กรรไกร 4. กระดุม 5. ของตกแต่ง 6. เข็มกับด้าย 7. กระดาษสี วิธีการศึกษา 1. เลือกหัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ 2. วางแผนการทาโครงงาน 3. แจกจ่ายงาน
  • 14. 4. สืบค้นข้อมูล 5. ลงมือปฏิบัติ 6. ตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย 7. เผยแพร่ 8. นาเสนอและสรุปผล บทที่ 4 ผลการศึกษา ผลการสรุปแบบประเมินโครงงานประเภทหนังสือเล่มเล็ก จากภาพแผนภูมิแท่ง เป็นการประเมินแบบความพึงพอใจของนักเรียน โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 ความรู้ที่ได้รับจากโครงงาน 0 1 2 3 4 5 6 7 8 ดีมาก มาก ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง
  • 15. ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 รูปแบบของรูปเล่ม ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00 ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 อักขระที่ใช้ในหนังสือเล่มเล็ก ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 30.00 ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 เนื้อหามีความเหมาะสมกับผู้อ่าน ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00
  • 16. ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 มีความสอดคล้องกับเรื่องการใช้งาน ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 ทาให้เข้าใจเนื้อหาชัดเจนขึ้น ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.00 มาก คิดเป็นร้อยละ 40.00 ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0 พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0 ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0 จากการคิดเป็นร้อยละของแต่ละวิธีนาเสนอจะอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก เป็นส่วนใหญ่มาก พอใช้ ปานกลาง และ ปรับปรุง ตามลาดับ
  • 17. บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ปัญหาที่พบจากการนาผลงานไปเผยแพร่ 1. มีเวลาในการเผยแพร่ผลงานน้อย 2. เด็กบางกลุ่มไม่ให้ความร่วมมือในกาทาแบบประเมินความพึงพอใจ 3. การใช้อินเทอร์เน็ตมีปัญหาในการเข้าโปรแกรม 4. งบประมาณในการซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทาชิ้นงาน ข้อเสนอแนะ ควรมีเวลาในการทาผลงานมากกว่านี้ เด็กบางคนยังขาดความมีระเบียบวินัย และหลักในการเป็นผู้ฟังที่ดี เราควรหาจุดจูงใจเพื่อให้เด็กทุกคนสนใจและตั้งใจฟัง ส่วนอินเทอร์เน็ตเราไม่สามารถไปแก้ไขมันได้มันขึ้นอยู่ว่าจะมีสัญญาณปล่อยมามากน้อยเพียงใ ด จะหลุดเมื่อไหร่เราก็ไม่รู้หรืออินเทอร์เน็ตอาจจะใช้ได้แต่โปรแกรมที่ใช้ไม่สมบูรณ์ เราควรตรวจสอบทั้งอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมที่ใช้ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน และควรใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพแต่ราคาถูกพอเหมาะกับชิ้นงานที่จะทา
  • 19.
  • 20. แบบประเมินโครงงานประเภทหนังสือเล่มเล็ก เพศ(ใส่เครื่องหมาย )  ชาย  หญิง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .......... คาชี้แจงให้ทาเครื่องหมาย ถูกลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของคุณ วิธีการนาเสนอ ระดับความพึงพอใจ หมายเห ตุดีมา ก มา ก ปานกลาง พอ ใช้ ปรับปรุ ง 1.ความรู้ที่ได้รับจากโครง 2.รูปเเบบของรูปเล่ม 3.อักขระวิธีในการใช้ภาษาในหนังสือเล่ มเล็ก 4.เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้อ่า น 5.มีความสอดคล้องกับเรื่องการใช้งาน 6.ทาให้เข้าใจเนื้อหาชัดเจนขึ้น 7.มีข้อคิดสอดแทรกข้อคิดไว้อย่างเหมาะ สม ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………