SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
รายงาน
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
จัดทำโดย
จุฬำลักษณ์ สมรักษ์ เลขที่9 ชั้นม.6/11
เสนอ
คุณครู ประกำศิต ศรีสะอำด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา คอมพิวเตอร์
ง30206
โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต29
ภาคเรียนที่ 2/2560
คำนำ
รำยงำนเรื่อง อินเตอร์เน็ตและควำมสำคัญ เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำรำยวิชำ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจในชีวิตประจำวัน
ได้มีกำรสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเกี่ยวกับ ประวัติควำมเป็นมำของอินเตอร์เน็ตควำมหมำย
ควำมสำคัญของอินเตอร์เน็ต ประโยชน์และโทษของอินเตอร์เน็ต
โดยมุ่งที่จะให้ผู้อ่ำนรำยงำนเรื่อง อินเตอร์เน็ตและควำมสำคัญ
มีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตมำกขึ้น
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ท่ำนในกำรนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิ
ตประจำวันหำกมีข้อบกพร่องประกำรใดก็ขออภัยมำ ณ โอกำสนี้
นำยพงศ์รพี ดีดวงพันธ์
ผู้จัดทำ
สารบัญ
เรื่อง หน้ำ
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
1
ความหมายอินเทอร์เน็ต
2
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
3
การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต
4
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
5
ประโยชน์และโทษของอินเทอร์เน็ต
6
บรรณานุกรม 7
ความเป็ นมาของอินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกำ เมื่อ พ.ศ. 2512
โดยองค์กรทำงทหำรของสหรัฐอเมริกำ ชื่อว่ำ ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพำร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department )
เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมำ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ำยที่ไม่มีวันตำยแม้จะมีสงครำม
ระบบกำรสื่อสำรถูกทำลำย หรือตัดขำด
แต่ระบบเครือข่ำยแบบนี้ยังทำงำนได้ซึ่งระบบดังกล่ำวจะใช้วิธีกำรส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ
ฝ่ำยวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์กขึ้นมำ เรียกว่ำ ARPAnet ย่อมำจำกคำว่ำ Advance Research Project
Agency net ซึ่งประสบควำมสำเร็จและได้รับควำมนิยมในหมู่ของหน่วยงำนทหำร องค์กร รัฐบำล
และสถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ เป็นอย่ำงมำก
ระบบเครือข่ายแบบเดิม
ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
กำรเชื่อมต่อในภำพแรกแบบเดิม ถ้ำระบบเครือข่ำยถูกตัดขำด
ระบบก็จะเสียหำยและทำให้กำรเชื่อมต่อขำดออกจำกกัน แต่ในเครือข่ำยแบบใหม่
แม้ว่ำระบบเครือข่ำยหนึ่งถูกตัดขำด เครือข่ำยก็ยังดำเนินไปได้ไม่เสียหำย
เพรำะโดยตัวระบบก็หำช่องทำงอื่นเชื่อมโยงกันจนได้
ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบควำมสำเร็จ ก็มีองค์กรมหำวิทยำลัยต่ำงๆ
ให้ควำมสนใจเข้ำมำร่วมในโครงข่ำยมำกขึ้น โดยเน้นกำรรับส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail )
ระหว่ำงกันเป็นหลัก ต่อมำก็ได้ขยำยกำรบริกำรไปถึงกำรส่งแฟ้มข้อมูลข่ำวสำรและส่งข่ำวสำรควำมรู้ทั่วไป
แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพำณิชย์ เน้นกำรให้บริกำรด้ำนวิชำกำรเป็นหลัก
ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมำกขึ้น มีกำรนำอินเทอร์เน็ตมำใช้ในเชิงพำณิชย์
มีกำรทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้ำงร้ำนต่ำงๆ ก็เข้ำร่วมเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตมำกขึ้น
อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530ในลักษณะกำรใช้บริกำร
จดหมำยเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์
วิทยำเขตหำดใหญ่
( Prince of Songkla University ) และสถำบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถำบันเอไอที ( AIT )
ภำยใต้โครงกำรควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงกำร IDP )
ซึ่งเป็นกำรติดต่อเชื่อมโยงโดยสำยโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์
วิทยำเขตหำดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต Sritrang.psu.th
ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมำปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand )
จำกัดได้ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภำยในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำ
“th” เป็นส่วนที่เรียกว่ำ โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ำยอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
โดยย่อมำจำกคำว่ำ Thailand กล่ำวได้ว่ำกำรใช้งำนอินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24ชั่วโมง
ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎำคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถำบันวิทยบริกำร
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยได้เช่ำวงจรสื่อสำรควำมเร็ว 9600 บิตต่อวินำที
จำกกำรสื่อสำรแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้ำสู่อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies )
ประเทศสหรัฐอเมริกำ
ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงำนที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ำยอินเตอร์เน็ตผ่ำนจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
หลำยแห่งด้วยกัน ได้แก่สถำบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหำวิทยำลัยมหิดล สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำ
วิทยำเขตเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ และมหำวิทยำลัยอัสสัมชัญบริหำรธุรกิจ
โดยเรียกเครือข่ำยนี้ว่ำเครือข่ำย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือข่ำยที่มี “เกตเวย์ “ ( Gateway )
หรือประตูสู่เครือข่ำยอินเตอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย
ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมำกขึ้น มีอัตรำกำรเติบโตมำกกว่ำ 100%
สมำชิกของอินเตอร์เน็ตขยำยจำกอำจำรย์และนิสิตนักศึกษำในระดับอุดมศึกษำไปสู่ประชำชนทั่วไป
ความหมายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ
เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คาเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง ( Internetworking )
ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่าอินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต
อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ำยกับเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ระบบ WAN
แต่มีโครงสร้ำงกำรทำงำนที่แตกต่ำงกันมำกพอสมควร เนื่องจำกระบบ WAN เป็นเครือข่ำยที่ถูกสร้ำงโดยองค์กรๆ
เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้ำนใดด้ำนหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน
แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นกำรเชื่อมโยงกันระหว่ำงคอมพิวเตอร์นับล้ำนๆ เครื่องแบบไม่ถำวรขึ้นอยู่กับเวลำนั้นๆ
ว่ำใครต้องกำรเล่นอินเทอร์เน็ตบ้ำง ใครจะติดต่อสื่อสำรกับใครก็ได้
จึงทำให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สำมำรถเคลื่อนย้ำยข่ำวสำรข้อมูลจำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำกัดระยะทำง
และสำมำรถส่งข้อมูลได้หลำยรูปแบบ ทั้งข้อควำม ตัวหนังสือ ภำพ และเสียง
โดยอำศัยเครือข่ำยโทรคมนำคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่ำย ภำยใต้มำตรฐำนกำรเชื่อมโยงเดียวกันคือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol /Internet Protocol)
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสำมำรถสื่อสำรระหว่ำงกันได้
ระบบการสื่อสารกับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบำทและมีควำมสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเรำเป็นอย่ำงมำก เพรำะทำให้วิถี
ชีวิตเรำทันสมัยและทันเหตุกำรณ์อยู่เสมอ เนื่องจำกอินเทอร์เน็ตจะมีกำรเสนอข้อมูลข่ำวปัจจุบัน และสิ่งต่ำง ๆ
ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทรำบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สำรสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมำกมำยหลำยรูปแบบเพื่อสนอ
งควำมสนใจและควำมต้องกำรของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสำรสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพรำะสำ
มำรถค้นหำสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลำเดินทำงไปค้นคว้ำในห้องสมุด หรือแม้แต่กำรรับรู้ข่ำวสำร
ทั่วโลกก็สำมำรถอ่ำนได้ในอินเทอร์เน็ตจำกเว็บไซต์ต่ำง ๆของหนังสือพิมพ์
ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีควำมสำคัญกับวิถีชีวิตของคนเรำในปัจจุบันเป็นอย่ำงมำกในทุก ๆ ด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นบุคคล
ที่อยู่ในวงกำรธุรกิจ กำรศึกษำ ต่ำงก็ได้รับประโยชน์จำกอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น
1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญ ดังนี้
1. สำมำรถใช้เป็นแหล่งค้นคว้ำหำข้อมูล ไม่ว่ำจะเป็นข้อมูลทำงวิชำกำร ข้อมูลด้ำนกำรบันเทิง ด้ำนก
ำรแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่ำสนใจ
2. ระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต จะทำหน้ำที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนำดใหญ่
3. นักเรียนนักศึกษำสำมำรถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหำวิทยำลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ
เพื่อค้นหำข้อมูลที่กำลังศึกษำอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อควำมเสียง ภำพเคลื่อนไหวต่ำง ๆ
2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญดังนี้
1. ค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ เพื่อช่วยในกำรตัดสินใจทำงธุรกิจ
2. สำมำรถซื้อขำยสินค้ำ ทำธุรกรรมผ่ำนระบบเครือข่ำย
3. เป็นช่องทำงในกำรประชำสัมพันธ์ โฆษณำสินค้ำ ติดต่อสื่อสำรทำงธุรกิจ
4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่ำง ๆ
ก็สำมำรถเปิดให้บริกำร และสนับสนุนลูกค้ำของตนผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตได้ เช่น กำรให้คำแนะนำ สอ
บถำมปัญหำต่ำง ๆให้แก่ลูกค้ำ แจกจ่ำยตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)
3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญดังนี้
1. กำรพักผ่อนหย่อนใจ สันทนำกำร เช่น กำรค้นหำวำรสำรต่ำง ๆ
ผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่ำ Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่ำวสำรอื่น ๆ
โดยมีภำพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวำรสำรตำมร้ำนหนังสือทั่ว ๆ ไป
2. สำมำรถฟังวิทยุหรือดูรำยกำรโทรทัศน์ผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตได้
3. สำมำรถดึงข้อมูล (Download) ภำพยนตร์มำดูได้
การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต
กำรส่งข้อมูลจำกคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ไม่ได้ส่งข้อมูลเป็นชุดยำวๆ
หำกแต่ส่งไปเป็นชิ้นๆ เป็นชุดๆ หรือเรียกกันทั่วไปว่ำ แพ็กเกต (Packet) แพ็กเกตจะถูกส่งไปตำมสำยเคเบิล
เมื่อไปถึงผู้รับแล้ว แพ็กเกตจะมำรวมกันเป็นข้อควำมยำวๆ เหมือนเดิม แต่ถ้ำแพ็กเกตใดขำดหำยหรือตกหล่น
คอมพิวเตอร์ก็จะตรวจสอบ และส่งแพ็กเกตมำใหม่จนข้อมูลครบเหมือนเดิม
กำรที่ข้อมูลจะถูกส่งถ่ำยเข้ำไปในเครื่องคอมพิวเตอร์หลำกหลำยชนิดที่เชื่อมต่อกันในระบบเครือข่ำยนั้น
จะมีปัญหำและอุปสรรคในกำรสื่อสำร ทำให้ไม่อำจส่งถ่ำยข้อมูลได้สะดวก
จึงได้มีกำรพัฒนำภำษำกลำงสำหรับสื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ขึ้นมำ
เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกชนิดสำมำรถสื่อสำรกันได้ ภำษำดังกล่ำวเรียกว่ำ TCP/IP ย่อมำจำกคำว่ำ Transmission
Control Protocol/Internet Protocol
กำรวิ่งไป-มำของข้อมูลจะผ่ำนเส้นทำงหลักที่เรียกว่ำ แบ็กโบน (Backbone) ผ่ำนทำงเร้ำเตอร์ (Router)
ซึ่งเปรียบเสมือนบริษัทตัวกำรเส้นทำงให้ข้อมูลเดินทำงไป-มำได้สะดวกและรวดเร็ว
ถึงจุดหมำยปลำยทำงได้อย่ำงสะดวกปลอดภัย
บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต
บริกำรบนอินเทอร์เน็ตมีหลำยประเภท
เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมำะสมกับลักษณะงำน
ซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่ำงบริกำรบนอินเทอร์เน็ตที่สำคัญดังนี้
1.บริกำรด้ำนกำรสื่อสำร
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(electronic mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่ำอีเมล์ (E-mail)
ถือได้ว่ำเป็นกิจกรรมประจำวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งกำรส่งและรับจดหมำย
หรือข้อควำมถึงกันได้ทั่วโลกนี้จำเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ (e-mail address หรือ e-mail account)
เพื่อใช้เป็นกล่องรับจดหมำย ที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสำคัญ 2ส่วน คือ ชื่อผู้ใช้(User name)
และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรำยชื่อของผู้ใช้อีเมล์
โดยชื่อผู้ใช้และชื่อโดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมำย @(อ่ำนว่ำ แอ็ท) เช่นSriprai@sukhothai.siamu.ac.th
จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothai ของมหำวิทยำลัยสยำม(siamu)
ซึ่งเป็นสถำบันกำรศึกษำ (ac) ในประเทศไทย (th)
ในกำรรับ-ส่งจดหมำย โดยผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตนั้น
ได้มีกำรพัฒนำโปรแกรมที่ใช้สำหรับอีเมล์อยู่หลำยโปรแกรม เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express
โปรแกรม Netscape Mail เป็นต้น
นอกจำกนี้ผู้ใช้ยังสำมำรถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจำกเว็บไซต์ที่ให้บริกำรที่อยู่อีเมล์ฟรี
เว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม ได้แก่www.hotmail.com, www.chaiyo.com, www.thaimail.com
โดยทั่วไปแล้ว ส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว (header) และส่วนข้อควำม (message)
1.2 รำยชื่อกลุ่มสนทนำ (mailing lists)
mailing lists
เป็นกลุ่มสนทนำประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มีกำรติดต่อสื่อสำรและกำรส่งข่ำวสำรให้กับสมำชิกตำมรำยชื่อและ
ที่อยู่ของสมำชิกที่มีอยู่ ในรำยกำรซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่ำงกันตำมควำมสนใจจำนวนมำก
กำรเข้ำไปมีส่วนร่วมในกลุ่มสนทนำประเภทนี้ ผู้ใช้จะต้อง
สมัครสมำชิกก่อนด้วยกำรแจ้งควำมประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อกำรลงทะเบียบไปยัง subscription address ของ
mailing lists ตัวอย่ำง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com)กลุ่มสนทนำเรื่องตลก
(dailyjoke@lists.ivllage.com)
1.3 กระดำนข่ำว (usenet)
ยูสเน็ต (usenet หรือ user network) เป็นกำรรวบรวมของกลุ่มข่ำวหรือ newsgroup
ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนใจที่ต้องกำรจะติดต่อและแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆกลุ่มของ
newsgroup ในปัจจุบันมีมำกกว่ำ 10,000 กลุ่มที่มีควำมสนใจในหัวข้อที่แตกต่ำงกัน เช่นกลุ่มผู้สนใจศิลปะ
กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภำพยนต์ เป็นต้น
กำรส่งและรับแหล่งข่ำวจำก usenet
จะใช้โปรแกรมสำหรับอ่ำนข่ำวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่มข่ำวหรือหัวข้อจำกเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่ผู้ใช้เข้ำไปขอใช้บริกำรเช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่ำวจะมีกำรตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมำตรฐำน
ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆคือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่ำวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่ำวย่อย
(subtopic) และประเภทของกลุ่มข่ำวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่ำงเช่น
1.4 กำรสนทนำออนไลน์(On-line chat)
กำรสนทนำออนไลน์ เป็นบริกำรหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้สำมำรถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่น ๆ
ได้ในเวลำเดียวกัน (real-time) กำรสนทนำหรือ chat (InternetRelay Chat หรือ IRC)ได้มีกำรพัฒนำไปอย่ำงต่อเนื่อง
ปัจจุบันกำรสนทนำระหว่ำงบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสำมำรถใช้
ภำพกรำฟิก ภำพกำร์ตูนหรือภำพเคลื่อนไหวต่ำง ๆแทนตัวผู้สนทนำได้ นอกจำกกำรสนทนำแล้ว
ผู้ใช้ยังสำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
กำรใช้งำน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออำร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (IRC server)
ที่มีกำรแบ่งห้องสนทนำเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่ำ แชนแนล(channel)
โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้สำหรับกำรสนทนำ (ซึ่งสำมำรถดำวน์โหลดฟรีจำกอินเทอร์เน็ต)
เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนำหรือหัวข้อสนทนำที่สนใจ
และเริ่มสนทนำได้ตำมควำมต้องกำร ตัวอย่ำง โปรแกรมสนทนำออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek
You) และ mIRC
กำรสนทนำผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ตได้มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ในปัจจุบันผู้ใช้สำมำรถใช้สื่อประสม
(multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูด และภำพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลำโพง กล้องวีดีโอ
และอื่น ๆเพื่ออำนวยควำมสะดวกและเพื่อประสิทธิภำพของกำรสนทนำ ให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรม
ได้มีกำรพัฒนำโปรแกรมเพื่อกำรสนทนำออนไลน์ที่มีคุณภำพ เช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting
ที่สำมำรถสนทนำกันไปพร้อม ๆกับมองเห็นภำพของคู่สนทนำได้ด้วย
1.5 เทลเน็ต (telnet)
เทลเน็ตเป็นบริกำรที่ให้ผู้ใช้สำมำรถใช้บริกำรเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ระยะไกล
โดยจะใช้กำรจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งำนอยู่ ให้เป็นจอภำพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้น
กำรทำงำนในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลำและค่ำใช้จ่ำยในกรณีที่ต้องเดินทำงไปใช้งำน
เครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล กำรใช้งำนเทลเน็ตจะเป็นกำรแสดงข้อควำมตัวอักษร (text mode)
โดยปกติกำรเข้ำไปใช้บริกำรเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จำเป็นต้องมีรำยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่ำน
แต่ก็มีบำงหน่วยงำนที่อนุญำติให้เข้ำใช้บริกำรโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่ำนเพื่อ เป็นกำรให้บริกำรข้อมูลแก่ลูกค้ำทั่ว ๆ
ไป
2.บริกำรด้ำนข้อมูลต่ำง ๆ
2.1 กำรขนถ่ำยไฟล์(file transfer protocol)
กำรขนถ่ำยไฟล์ หรือที่เรียกสั้น ๆว่ำ เอฟทีพี (FTP)
เป็นบริกำรที่ใช้สำหรับกำรแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงอินเตอร์เน็ต
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรไฟล์จะเรียกว่ำ เอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site)
ข้อมูลที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จะมีลักษณะหลำยรูปแบบ ได้แก่ข้อมูลสถิติ งำนวิจัย บทควำม เพลง
ข่ำวสำรทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สำมำรถดำวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี
ในบำงครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จะให้บริกำรเฉพำะบุคคลที่มีบัญชีรำยชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเ
ตอร์เท่ำนั้น แต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จำนวนมำกอนุญำตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้ำไปใช้บริกำร
ถึงแม้ว่ำในบำงครั้งจะไม่อนุญำต ให้ขนถ่ำยไฟล์ทั้งหมดก็ตำม
2.2 โกเฟอร์ (gopher)
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริกำรข้อมูลในลักษณะของกำรค้นหำจำกเมนู(menu-based search)
จำกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พัฒนำโดยมหำวิทยำลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรฐำนข้อมูลจะเป็นลักษณะของเมนูลำดับชั้น (hierarchy)
เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจำยกันอยู่หลำยแหล่งได้
2.3 อำร์ซี (archie)
อำร์ซี เป็นกำรเข้ำใช้บริกำรค้นหำข้อมูลจำกเครื่องแม่ข่ำยที่เป็นอำร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archie sever )
ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหำสถำนที่ของข้อมูล จำกนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจำกสถำนที่นั้นต่อไป
2.4 WAIS (Wide AreaInformation Severs)
WAIS
เป็นบริกำรค้นหำข้อมูลจำกศูนย์ข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสำหรับสืบค้นข้อมูลจำก
ฐำนข้อมูลต่ำงๆ
เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสำมำรถเข้ำไปยังข้อมูลที่ต้องกำรและสำมำรถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล
WAIS อื่นๆได้ด้วย
2.5 veronica
veronica ย่อมำจำก veryeasy rodent-oriented net-wide index tocomputerized archives
เป็นบริกำรที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอำนวย ควำมสะดวกในกำรค้นหำสิ่งที่ต้องกำรได้อย่ำงรวดเร็ว
2.6 กำรค้นหำข้อมูลโดยใช้เว็บเบรำเซอร์
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ำยใยแมงมุมที่มีกำรเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจำยอยู่ทั่วโลก
กำรค้นหำข้อมูลจำกแหล่งต่ำงๆ ถ้ำผู้ใช้ไม่ทรำบที่อยู่ของเว็บไซต์
ก็สำมำรถค้นหำแหล่งข้อมูลโดยใช้บริกำรค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ
ที่ได้กล่ำวมำแล้วปัจจุบันกำรค้นหำข้อมูลที่ต้องกำรเป็นเรื่อง ที่กระทำได้สะดวกและรวดเร็ว
กำรพัฒนำเว็บไซต์ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่ำ เครื่องค้นหำ (search engine) ช่วยให้กำรค้นหำทั้งในรูปของ
ข้อควำมและกรำฟิกกระทำได้โดยง่ำย เว็บไซต์ที่ช่วยสำหรับกำรสืบค้นข้อมูลที่เป็นที่รู้จักกันอย่ำงแพร่หลำย ได้แก่
yahoo.com, altavista.com, lycos.com, excite.com, ask.com, infoseek.ccom
อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย
1. ความเป็นมา
ยุคปัจจุบันนอกจำกจะเป็นยุคโลกำภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่งสำรสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโล
ยีอินเตอร์เน็ตเริ่มก้ำวเข้ำมำมีบทบำทสำคัญทั้งในภำคธุรกิจและในภำคกำรศึกษำ ดังจะเห็นได้จำก
กำรที่ประเทศสหรัฐอเมริกำได้ประกำศนโยบำยที่จะให้ทุกห้องเรียนสำมำรถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภำยในปี ค.
ศ. 2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับกำรศึกษำด้ำนเทคโนโลยีนี้ ในประเทศไทยเอง
ถึงแม้จะไม่มีกำรประกำศแผนนโยบำยด้ำนนี้ชัดเจน อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้ำวเข้ำมำสู่สถำบันกำรศึกษำโดยเฉพำะอย่ำง
ยิ่งในระดับอุดมศึกษำ ดังจะเห็นได้จำกกำรที่มหำวิทยำลัยต่ำงๆ ได้ลงทุนติดตั้งระบบเครือข่ำย network
ภำยในและต่อเข้ำกับอินเตอร์เน็ตเพื่อให้อำจำรย์และนิสิตนักศึกษำได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน
กำรนำอินเตอร์เน็ตเข้ำมำใช้ในระบบกำรศึกษำ
เป็นกำรนำสื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศเข้ำมำใช้โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อประโยชน์ต่อกำรศึกษำ ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีควำ
มคิดเห็นแตกต่ำงกันเป็น 2กลุ่ม คือ กลุ่มที่มอง
เห็นข้อดีของกำรใช้ประโยชน์จำกสื่อนี้เพื่อกำรศึกษำ เพรำะมองว่ำอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสำรเข้ำถึงข้อ
มูลได้อย่ำงมำกมำยและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีกำรเรียนรู้แบบ self center
มำกขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองกำรนำเทคโนโลยีนี้มำใช้ในเชิงลบ คือมองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบกำรศึกษำ
ว่ำ จะส่งผลให้เกิดกำรปรับ เปลี่ยนโครงสร้ำงกำรศึกษำไปจนถึงล้มล้ำงระบบและสถำบันกำรศึกษำที่มีมำกว่ำ 2500
ปี
2. ทาไมต้องนาสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย
มีเหตุผลและปัจจัยหลำยอย่ำงที่ทำให้หลำยๆคนเชื่อว่ำกำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ำมำใช้ในระบบ
กำรศึกษำแทบจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำคัญอันหนึ่ง คือควำมจำเป็นทำงเศรษฐกิจ Prowse (1995)
ได้ชี้ให้เห็นถึงค่ำใช้จ่ำยของกำรศึกษำที่สูงมำกขึ้นเรื่อยๆ ค่ำใช้จ่ำยของหน่วยกิตในมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำได้
เพิ่มขึ้น 174% ภำยใน 10ปี มำกกว่ำอัตรำขยำยตัวของ consumer price ถึง 3เท่ำ van Vught (1997)
กล่ำวว่ำค่ำใช้จ่ำยในกำรเข้ำเรียนมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำได้เพิ่มจำก 9% ของรำยได้ครัวเรือน (median family
income) ในปี 1979 ไปเป็น 15% ในปี 1994 หำกเป็นมหำวิทยำลัยเอกชน ค่ำใช้จ่ำยจะเพิ่มมำกยิ่งขึ้น (20% ในปี
1979 และ 40% ในปี 1994)
กำรเพิ่มของค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำนี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนำด้วย กำรที่จะลดค่ำใช้จ่ำยลง
จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ำมำใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่ำ
ค่ำใช้จ่ำยต่อหัวของกำรเรียนในมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำนั้น สูงถึง US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง
US$10,000 แต่ค่ำใช้จ่ำยต่อหัวของกำรเรียนในแบบ distant learning (คำนวณจำก 11 มหำวิทยำลัยใน China,
France, India, Indonesia, Iran, Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and theUK) นั้นไม่ถึง
US$350 เขำจึงเชื่อว่ำ กำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตมำใช้ในกำรสอนแบบ distant learning
จะเป็นรูปแบบของมหำวิทยำลัยในอนำคต เพรำะรูปแบบมหำวิทยำลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่เหมำะสมกับพื้นฐำนทำงเศร
ษฐกิจในปัจจุบัน เพรำะมีแต่จะทำให้ค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆในขณะที่กำรสนับสนุนจำกภำครัฐแ
ละเอกชนจะเริ่มลดลง
อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของกำรเติบโตอย่ำงรวดเร็วของศำสตร์แต่ละศำสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่ำง
วำรสำรวิชำกำร Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลำถึง 31ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่องำนวิจัยออกมำ 1
ล้ำนชิ้น และใช้เวลำอีก 18 ปีต่อมำสำหรับตีพิมพ์บทคัดย่ออีก 1 ล้ำนชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลำไม่ถึง 2
ปีก็สำมำรถตีพิมพ์บทคัดย่อออกมำได้กว่ำ 1
ล้ำนชิ้น ควำมเติบโตนี้เองที่ทำให้มีกำรแตกแขนงของสำขำวิชำต่ำงๆมำกมำยทำให้มหำวิทยำลัยไม่ afford
ที่จะมีผู้เชี่ยวชำญในทุกๆสำขำ แม้แต่ในภำควิชำเดียวกัน
ก็ยังมีกำรแยกย่อยสำขำจนแทบหำผู้เชี่ยวชำญในสำขำเดียวกันเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันภำยในมหำวิทยำ
ลัยได้ยำกกำรใช้ อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหำนี้เพรำะทำให้เกิด virtual community
ของผู้ที่มีควำมสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่ำงไกลกันได้ ทำให้สำมำรถแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันได้ นอกจำกนี้ในเรื่อง
ของ กำรสะสมสิ่งตีพิมพ์ก็เป็นไปได้
ยำกที่มหำวิทยำลัยจะทำให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม เพรำะค่ำใช้จ่ำยที่สูงมำกขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam
ยกตัวอย่ำงของวำรสำร Chemical Abstracts ซึ่งค่ำสมำชิกรำยปี ได้เพิ่มจำก $12ในปี 1940เป็น $3,700 ในปี 1977
และเป็น $17,400 ในปี 1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่ำใช้จ่ำยด้ำนนี้ เริ่มมีกำร
จัดพิมพ์วำรสำร online หรือเปิดให้บริกำรเป็นสมำชิกวำรสำรผ่ำนทำงอินเตอร์เน็ตมำกขึ้น
นอกจำกปัจจัยทำงเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทำงสังคมก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้กำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
เข้ำมำในมหำวิทยำลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยำก กำรเติบโตและกำรเป็นที่ยอมรับของอุตสำหกรรมคอมพิวเตอร์ แล
ะกำรแพร่หลำยของกำรใช้อินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดกำรคำดหวังจำกสังคมว่ำ
มหำวิทยำลัยจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีด้ำนนี้พร้อมเพื่อรองรับควำมต้องกำรของนิสิต
ขณะเดียวกันก็เป็นกำรสร้ำงภำพว่ำมหำวิทยำลัยได้ก้ำวทันกำรเปลี่ยนแปลงทำงเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา
แม้ว่ำผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ำมีประโยชน์ต่อกำรทำวิจัยเพรำะช่วยในกำรค้นหำข้อมูลต่ำงๆ
ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มองว่ำอินเตอร์เน็ตจะทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมำกต่อระบบกำรศึกษำในปัจจุบัน
ทั้งนี้เพรำะอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรควบคุมควำมรู้ (knowledge) หรือข่ำวสำร (information)
ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถำบันกำรศึกษำอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด Noam (1995)
ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงกำรเปลี่ยนแปลงของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศำสตร์ โดยกล่ำวว่ำ
ในยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ำยทอด information โดยกำรท่องจำ ต่อมำเมื่อมีระบบกำรเขียน
จึงมีกำรจัดเก็บข้อมูล มีห้องสมุดขึ้น เช่น Great Library of
Alexandria ซึ่งมีกำรจัดระบบข้อมูลควำมรู้และกระบวนกำร
หำควำมรู้คล้ำยๆกับกำรมีภำควิชำต่ำงๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้เป็นกำรรวมศูนย์ควำมรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเ
ดินทำงเข้ำมำเพื่อรับกำรถ่ำยทอดควำมรู้นั้นจำกผู้ที่ได้รับกำรยอมรับว่ำทรงคุณวุฒิ รูปแบบกำรศึกษำแบบนี้คงอยู่มำ
เป็นเวลำ 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทำงของ information flow
กำลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเข้ำมำหำควำมรู้ แต่สำมำรถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลควำมรู้ให้มำหำตน
ได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหำวิทยำลัยซึ่งมีหน้ำที่หลักสองอย่ำงคือ เป็น authority ในกำร transfer information
และเป็นแหล่งรวบรวม information ก็จะค่อยๆสูญเสียควำมสำคัญของบทบำททั้งสองลงในที่สุด
Noam (1995) ยังกล่ำวว่ำ
กำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้ แตกต่ำงจำกเมื่อครำวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลำยคนเชื่อกันว่ำสื่อวิ
ทยุโทรทัศน์จะทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรศึกษำอย่ำงมำกแต่ท้ำยที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำนำย จึงมีผู้วิจำ
รณ์ว่ำสื่ออินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่Noam
แย้งว่ำสื่ออินเตอร์เน็ตมีลักษณะที่ต่ำงไป เพรำะกำรเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นกำรเปลี่ยนของ information flow
ในขณะที่กำรนำสื่อวิทยุโทรทัศน์มำใช้ไม่ได้ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจำกนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่
อที่ถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำในสังคมได้ง่ำย ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สำ
มำรถถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่ำ กำรควบคุม information
มีควำมสำคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำในสังคม ประวัติศำสตร์ที่ผ่ำนมำ แสดงให้เห็นว่ำชนชั้นนำดำรงบทบำทตั
วเองอยู่ได้โดย
อำศัยกำรควบคุม information คือกำหนดว่ำใครควรจะรู้
และควรจะรู้อะไร ผ่ำนสถำบันกำรศึกษำซึ่งทำหน้ำที่สืบทอดอุดมกำรณ์ต่ำงๆ (ideological values) ของชนชั้นนำ
สถำบันกำรศึกษำจึงมีบทบำทเพื่อสนับสนุนโครงสร้ำงของสังคม โดยกำร "makesure that whoever has access to
knowledge only knows what we want them to know, and make sure that theythink just like we want them to
think" จึงไม่แปลกอย่ำงไรที่สื่อวิทยุโทรทัศน์เมื่อถูกนำเข้ำมำในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำเพื่อสืบทอดอุดมก
ำรณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพรำะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชำติที่เป็นกำรกระจำยเสียงและภำพจำกสถำนีแม่ข่ำย จึงถูกควบคุม
ได้ง่ำยกว่ำ ต่ำงจำกสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สำมำรถทำหน้ำที่ให้ข้อมูลก็ได้ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อ
ง ก็สำมำรถสร้ำง web site เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงควำมคิดเห็นในเรื่องต่ำงๆได้
นอกจำกควำมคิดที่ว่ำ
สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบำทควำมสำคัญของสถำบันกำรศึกษำ ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่ำ คือ
กำรเปลี่ยนแปลงด้ำนรูปแบบกำรเรียนกำรสอน ทั้งนี้เพรำะสื่ออินเตอร์เน็ตจะทำให้เรื่องของสถำนที่และเวลำลดคว
ำมสำคัญลง
เพรำะผู้เรียนไม่จำเป็นต้องมำรวมกันในห้องเรียน ไม่จำเป็นต้องมำเรียนในชั่วโมงเดียวกัน แต่สำมำรถเข้ำเรียนจำก
ที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access จะเข้ำเรียนเวลำใดก็ได้ตำมสะดวกนอกจำกนี้
ผู้เรียนยังสำมำรถเปรียบเทียบรำยวิชำที่ตัวเองเรียนกับรำยวิชำที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย บทบำทของอำจำรย์จึงไม่
ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลควำมรู้จำกแหล่งอื่นและนำมำเปรียบเทียบได้ ใน
บริบทใหม่นี้ อำจำรย์จึงเปลี่ยนบทบำทจำกกำรเป็นผู้ถ่ำยทอดควำมรู้โดยตรงในแบบเดิมมำเป็นพี่เลี้ยงในกำรเรียนรู้
ของผู้เรียนมำกกว่ำ ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหำควำมรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดยอำศัยคำแนะนำจำกอำจำรย์ รูปแบบก
ำรเรียนกำรสอนจึงเปลี่ยนจำกกำรบรรยำยควำมรู้มำเป็น problem solving oriented และเป็น team-based
4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา
อีกกลุ่มเชื่อว่ำกำรเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทำงลบขนำดนั้น แต่กลับมองว่ำเป็นโอกำสอันดีที่จะ
ใช้ประโยชน์จำกอินเตอร์เน็ตเพื่อขยำยขอบเขตของมหำวิทยำลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ van Vught (1997) เชื่อว่ำ
information technology
จะเข้ำมำช่วยให้กำรเรียนกำรสอนได้มีประสิทธิภำพมำกขึ้น แต่จะไม่สำมำรถเข้ำมำแทนที่กำรมีโรงเรียนและมหำวิ
ทยำลัยได้ โรงเรียนและมหำวิทยำลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบกำรศึกษำแต่ก็ยอมรับกันว่ำจะมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมำ
ก จำกเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น school
without wall และเปลี่ยนจำกกำรเรียนกำรสอนแบบบรรยำยในชั้นเรียนมำเป็นแนวกำรเรียนกำรสอนแบบกระตุ้นใ
ห้เรียนและค้นคว้ำเป็นทีม (stimulate team-based learning)
ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อกำรศึกษำ
คือกำรเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้กำรค้นหำข่ำวสำรข้อมูลต่ำงๆเป็นไปได้อย่ำงสะดวกและรวดเร็วมำกยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี
web site ต่ำงๆเกิดขึ้นมำกมำย แต่ละ web site
ก็ให้ข้อมูลข่ำวสำรในเรื่องต่ำงๆ รูปแบบระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่ำจะเปลี่ยนเป็น digital library
ที่มีหนังสือในเรื่องต่ำงๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่ำนและค้นคว้ำได้ online กำรใช้email
ช่วยให้กำรติดต่อข่ำวสำรระหว่ำงนักวิชำกำรเป็นไปได้อย่ำงรวดเร็ว ไม่ล่ำช้ำเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้กำรแลกเปลี่ยน
ควำมคิดเห็นระหว่ำงนักวิชำกำรในสำขำเดียวกันทั่วโลกเป็นไปได้ กำรเรียนแบบ online
ยังช่วยให้นักเรียนสำมำรถเรียนได้ตำมขีด
ควำมสำมำรถของตนเอง ใครมีควำมสำมำรถมำกก็เรียนได้เร็วกว่ำ นักเรียนที่ไม่กล้ำแสดงควำมคิดเห็นในห้องก็สำ
มำรถแสดงควำมคิดเห็นได้มำกขึ้นผ่ำนกำรใช้ email หรือ discussion group
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ำยอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ำยที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก สำมำรถนำมำใช้ในงำนต่ำง ๆ
ได้อย่ำงกว้ำงขวำงและต้นทุนต่ำกว่ำช่องทำงอื่น ทำให้มีกำรปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้ำนต่ำง ๆ ดังนี้
1. บริกำรไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นกำรส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต
โดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อควำมไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมำย1ฉบับ
แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมำยภำยในเวลำไม่กี่วินำที แม้จะอยู่ห่ำงกันคนละซีกโลกก็ตำม
นอกจำกนี้ยังสำมำรถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
2. บริกำรสื่อสำรด้วยข้อควำม (Chat, IRC-InternetRelay chat) เป็นกำรพูดคุยกันระหว่ำงผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
โดยพิมพ์ข้อควำมตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีกำรสื่อสำรที่ไดัรับควำมนิยมมำกอีกวิธีหนึ่ง
กำรสนทนำกันผ่ำนอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรำนั่งอยู่ในห้องสนทนำเดียวกัน
แต่ละคนก็พิมพ์ข้อควำมโต้ตอบกันไปมำได้ในเวลำเดียวกัน แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตำม
3. บริกำรสื่อสำรด้วยเสียง ภำพ และกำรประชุมทำงไกลผ่ำนจอภำพ (VDO Conference)
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนำมำกขึ้นทำให้กลำยเป็นช่องทำงกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพ
สำมำรถส่งได้ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพำะภำพคู่สนทนำ
รวมทั้งกำรจัดประชุมทำงไกลผ่ำนจอภำพที่ได้รับทั้งภำพและเสียง
4. กำรขอเข้ำระบบจำกระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet)
บริกำรอินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เรำสำมำรถเข้ำไปใช้งำนคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆได้ด้วยตนเอง
โดยให้เครื่องทั้งสองต่ออินเทอร์เน็ตไว้ เรำสำมำรถเรียกข้อมูลจำกเครื่องที่ต้องกำรมำยังเครื่องส่วนตัวได้
5. กำรโอนถ่ำยข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นบริกำรอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต
เรำสำมำรถค้นหำและเรียกข้อมูลจำกแหล่งต่ำง ๆมำเก็บไว้ในเครื่องของเรำได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ
รูปภำพและเสียง
6. กำรสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมำยถึง
กำรใช้เครื่อข่ำยอินเทอร์เน็ตในกำรค้นหำข่ำวสำรที่มีอยู่มำกมำยแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่ำวสำรหัวข้ออย่ำงมีระบบ
เป็นเมนู ทำให้เรำหำข็อมูลได้ง่ำยหรือสะดวกมำกขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine
จำนวนมำกคอยให้บริกำร
7. กำรเผยแพร่ข้อมูลควำมสำร ผู้ที่มีควำมรู้ควำมชำนำญไม่ว่ำเรื่องใด ๆ
สำมำรถเผยแพร่ควำมรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่ำย เช่นถ้ำมีควำมชำนำญในกำรสอนนวดแผนไทย
ก็สำมำรถนำข้อมูลกำรสอนนวดฯ พร้อมกับภำพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอำหำรไทยทั่วโลกได้รับทรำบอย่ำงง่ำยดำย
ในทำงกลับกันก็สำมำรถค้นหำข้อมูลได้แทบทุกชนิดจำกอินเทอร์เน็ต
8. กำรแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำรและควำมคิดเห็น (Usenet)
ให้บริกำรแลกเปลี่ยนข่ำวสำรและแสดงควำมคิดเห็นที่ผู้ใช้บริกำรอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสำมำรถพบปะกัน
แสดงควำมคิดเห็นของตน โดยมีกำรจัดกำรผู้ใช้เป็นกลุ่มข่ำวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup)
แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่ำง ๆเช่น เรื่องหนังสือ เรื่องกำรเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้คอมพิวเตอร์และกำรเมือง
เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet มำกกว่ำ15,000 กลุ่ม
นับเป็นเวทีขนำดใหญ่ให้ทุกคนจำกทั่วมุมโลกแสดงควำมคิดเห็นอย่ำงกว้ำงขวำง
9. กำรซื้อขำยสินค้ำและบริกำร (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็นกำรจับจ่ำยซื้อ - สินค้ำและบริกำร
เช่น ขำยหนังสือ คอมพิวเตอร์ กำรท่องเที่ยว เป็นต้น
ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในกำรทำธุรกิจและให้บริกำรลูกค้ำตลอด 24ชั่วโมง
นับเป็นธุรกรรมและกำรโฆษณำที่มีต้นทุนต่ำที่สุดอีกด้วย
10. กำรให้ควำมบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริกำรด้ำนควำมบันเทิงในทุกรูปแบบต่ำ งๆ เช่นเกมส์ เพลง
รำยกำรโทรทัศน์ รำยกำรวิทยุ เป็นต้น
เรำสำมำรถเลือกใช้บริกำรเพื่อควำมบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจำกแหล่งต่ำง ๆทั่วทุกมุมโลก
11. บริกำรด้ำนกำรศึกษำ (E-Learning) และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library)
ปัจจุบันกำรศึกษำได้ขยำยโอกำสผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตจำนวนมำก ทั้งกำรศึกษำนอกหลักสูตรและในหลักสูตร
ช่วยให้โอกำสทำงกำรศึกษำกระจำยไปอย่ำงทั่วถึง
นอกจำกนี้กำรศึกษำผ่ำนอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกำสให้สำมำรถเลือกสถำนศึกษำจำกทั่วทุกมุมโลก
อยู่เมืองไทยก็สำมำรถรับปริญญำมหำวิทยำลัยต่ำงประเทศได้ด้วยกำรศึกษำผ่ำนอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์เน็ต
- โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลำกหลำยลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหำย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง,
แหล่งประกำศซื้อขำย
ของผิดกฏหมำย, ขำยบริกำรทำงเพศ ที่รวมและกระจำยของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่ำงๆ
- อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้ำของ ทำให้กำรควบคุมกระทำได้ยำก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมำณมำก
- ไม่มีระบบจัดกำรข้อมูลที่ดี ทำให้กำรค้นหำกระทำได้ไม่ดีเท่ำที่ควร
- เติบโตเร็วเกินไป
- ข้อมูลบำงอย่ำงอำจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อำจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจำกเพื่อน
- ถ้ำเล่นอินเทอร์เน็ตมำกเกินไปอำจเสียกำรเรียนได้
- ข้อมูลบำงอย่ำงก็ไม่เหมำะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งำนไม่ได้ (นั่นจะเป็นเฉพำะกำรต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up
แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงจะสำมำรถใช้งำนโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย)
- เป็นสถำนที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสำร เพื่อก่อเหตุร้ำย เช่น กำรวำงระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำชำเรำ
- ทำให้เสียสุขภำพ เวลำที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลำนำนๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว
โรคติดอินเทอร์เน็ต
โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอำกำรทำงจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยำชื่อ Kimberly S Young
ได้ศึกษำและวิเครำะห์ไว้ว่ำ บุคคลใดที่มีอำกำรดังต่อไปนี้ อย่ำงน้อย 4 ประกำร เป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 1ปี
แสดงว่ำเป็นอำกำรติดอินเทอร์เน็ต
- รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลำที่ไม่ได้ต่อเข้ำระบบอินเทอร์เน็ต
- มีควำมต้องกำรใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลำนำนขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่สำมำรถควบคุมกำรใช้อินเทอร์เน็ตได้
- รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้
- คิดว่ำเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น
- ใช้อินเทอร์เน็ตในกำรหลีกเลี่ยงปัญหำ
- หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องกำรใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง
- มีอำกำรผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่นหดหู่กระวนกระวำย
ซึ่งอำกำรดังกล่ำว ถ้ำมีมำกกว่ำ 4 ประกำรในช่วง 1 ปี จะถือว่ำเป็นอำกำรติดอินเทอร์เน็ต
ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่ำงกำย
ทั้งกำรกิน กำรขับถ่ำย และกระทบต่อกำรเรียน สภำพสังคมของคนๆ นั้นต่อไป
อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยควำมสะดวกได้มำกเพียงใดก็ตำม สิ่งที่ต้องยอมรับควำมจริงก็คือ
เทคโนโลยีทุกอย่ำงมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มำจำกตัวเทคโนโลยีเอง และมำจำกปัญหำอื่นๆ เช่น
บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้ำย
ในโลก cyberspace อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหำหลักที่นับว่ำยิ่งมีควำมรุนแรง เพิ่มมำกขึ้น
ประมำณกันว่ำมีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมำกที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต
นับว่ำรุนแรงกว่ำปัญหำไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ
หน่วยงำนทุกหน่วยงำนที่นำไอทีมำใช้งำน จึงต้องตระหนักในปัญหำนี้เป็นอย่ำงยิ่ง
จำเป็นต้องลงทุนด้ำนบุคลำกรที่มีควำม
เชี่ยวชำญด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮำร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภำพ กำรวำงแผน ติดตำม
และประเมินผลที่ต้องกระทำอย่ำงสม่ำเสมอต่อเนื่อง
แต่ไม่ว่ำจะมีกำรป้องกันดีเพียงใด ปัญหำกำรโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ
ทั้งนี้ระบบกำรโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่
- Hacker & Cracker อำชญำกรที่ได้รับกำรยอมรับว่ำมีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่ำงยิ่ง
- บุคลำกรในองค์กร
หน่วยงำนใดที่ไล่พนักงำนออกจำกงำนอำจสร้ำงควำมไม่พึงพอใจให้กับพนักงำนจนมำก่อปัญหำอำชญำกรรมได้เช่
นกัน
- Buffer overflow เป็นรูปแบบกำรโจมตีที่ง่ำยที่สุด แต่ทำอันตรำยให้กับระบบได้มำกที่สุด
โดยอำชญำกรจะอำศัย
ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติกำร และขีดจำกัดของทรัพยำกรระบบมำใช้ในกำรจู่โจม
กำรส่งคำสั่งให้เครื่องแม่ข่ำยเป็นปริมำณมำกๆ ในเวลำเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สำมำรถรันงำนได้ตำมปกติ
หน่วยควำมจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดกำรแฮงค์ของระบบ เช่นกำรสร้ำงฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน
ผู้ไม่ประสงค์อำจจะใช้ฟอร์มนั้นในกำรส่งข้อมูลกระหน่ำระบบได้
- Backdoors นักพัฒนำเกือบทุกรำย มักสร้ำงระบบ Backdoors เพื่อช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรทำงำน
ซึ่งหำกอำชญำกรรู้เท่ำทัน ก็สำมำรถใช้ประโยชน์จำก Backdoors นั้นได้เช่นกัน
- CGI Script ภำษำคอมพิวเตอร์ที่นิยมมำกในกำรพัฒนำเว็บเซอร์วิส
มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทำงหนึ่งได้เช่นกัน
- Hidden HTML กำรสร้ำงฟอร์มด้วยภำษำ HTML และสร้ำงฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden
ย่อมเป็นช่องทำงที่อำนวย
ควำมสะดวกให้กับอำชญำกรได้เป็นอย่ำงดี โดยกำรเปิดดูรหัสคำสั่ง (SourceCode) ก็สำมำรถตรวจสอบและนำมำ
ใช้งำนได้ทันที
- Failing to Update กำรประกำศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทำงหนึ่งที่อำชญำกร
นำไป
จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพรำะกว่ำที่เจ้ำของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำกำรปรับปรุง (Updated)
ซอตฟ์แวร์ที่มีช่องโหว่นั้น ก็สำยเกินไปเสียแล้ว
- Illegal Browsing ธุรกรรมทำงอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นกำรส่งค่ำผ่ำนทำงบรำวเซอร์
แม้กระทั่งรหัสผ่ำนต่ำงๆ ซึ่งบรำวเซอร์บำงรุ่น หรือรุ่นเก่ำๆ ย่อมไม่มีควำมสำมำรถในกำรเข้ำรหัส
หรือป้องกันกำรเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน
- Malicious scripts จะมีกำรเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่ำงมั่นใจ
หรือว่ำไม่เจอปัญหำอะไร อำชญำกรอำจจะเขียนโปรแกรมแฝงในเอกสำรเว็บ เมื่อถูกเรียก
โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทำงำนตำมที่กำหนดไว้อย่ำงง่ำยดำย
โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทรำบว่ำตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง
- Poison cookies ขนมหวำนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่ำงๆ ตำมแต่จะกำหนด
จะถูกเรียกทำงำนทันทีเมื่อมีกำรเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้
และไม่ยำกอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่ำงๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยังอำชญำกร
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ำยสำหรับหน่วยงำนที่ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่ำงอมตะตลอดกำล ในปี
2001
พบว่ำไวรัส Nimda ได้สร้ำงควำมเสียหำยได้สูงสุด เป็นมูลค่ำถึง 25,400 ล้ำบบำท ในทั่วโลก ตำมด้วย Code Red,
Sircam, LoveBug, Melissa ตำมลำดับที่ไม่หย่อนกว่ำกัน
ปัญหำของโลกไอที มีหลำกหลำยมำก กำรทำนำยผลกระทบที่มีข้อมูลอ้ำงอิงอย่ำงพอเพียง
กำรมีทีมงำนที่มีประสิทธิภำพ กำรวำงแผน ติดตำม ประเมินผลอย่ำงสม่ำเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้นปัญหำนี้ได้บ้ำง
- อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้ำของ ทำให้กำรควบคุมกระทำได้ยำก
- มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมำณมำก
- ไม่มีระบบจัดกำรข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อกำรละเมิดลิขสิทธิ์
เช่น เพลง หนัง
- เติบโตเร็วเกินไป
-เสี่ยงต่อกำรโดนจำรกรรมข้อมูล กำรโจมตีจำกไวรัส, แฮกเกอร์ และจำกภัยคุกคำมทำงไซเบอร์ มัลแวร์
- ข้อมูลบำงอย่ำงอำจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อำจถูกหลอกลวง โจมตี โฆษณำชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจำกเพื่อนใหม่
เช่น กำรตัดต่อรูปเพื่อกำรอนำจำร
- ถ้ำเล่นอินเตอร์เน็ตมำกเกินไปอำจเสียกำรเรียนได้
- ข้อมูลบำงอย่ำงก็ไม่เหมำะกับเด็กๆ
- ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งำนไม่ได้
- ใช้สื่อทำงอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่ำวหำและโจมตีคู่แข่ง
ส่วนโทษเฉพำะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประกำร บนอินเทอร์เน็ตสำมำรถจำแนกออกได้ดังนี้
1. กำรแพร่สื่อลำมก มีทั้งที่เผยแพร่ภำพลำมกอนำจำร ภำพกำรสมสู่ ภำพตัดต่อลำมก
2. กำรล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยำวชนเข้ำไปพูดคุยกันใน Chat
จนเกิดกำรล่อลวงนัดหมำยไปข่มขืนหรือทำในสิ่งที่เลวร้ำย
3. กำรค้ำประเวณี มีกำรโฆษณำเพื่อขำยบริกำร รวมทั้งชักชวนให้เข้ำมำสมัครขำยบริกำร
4. กำรขำยสินค้ำอันตรำย มีตั้งแต่ยำสลบยำปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อตไฟฟ้ำ
5. กำรเผยแพร่กำรทำระเบิด โดยอธิบำยขั้นตอนกำรทำอย่ำงละเอียด
6. กำรพนัน มีให้เข้ำไปเล่นได้ในหลำยรูปแบบ
7. กำรเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่ำฟันและเกมละเมิดทำงเพศ
บรรณานุกรม
ดร.วิทยำ เรืองพรวิสุทธิ์. คู่มือกำรเข้ำสู่อินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ :เม็ดทรำยพริ้นติ้ง, 2539.
บุญลักษณ์ เอี่ยมสำอำงค์ เกื้อกมล พฤกษประมูล และโสภิต พิทักษ์.
ภำษำไทย หลักกำรใช้ภำษำและกำรใช้ภำษำ ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สมนึก คีรีโต. เปิดโลกอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2538.
http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_5.htm
ควำมเป็นมำของอินเตอร์เน็ตhttp://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_4.htm ควำมหมำยอินเทอร์เน็ต
http://cid-f83c786d9e00c5a7.spaces.live.com/blog/cns!F83C786D9E00C5A7!180.entryควำมสำคัญของอินเทอร์เน็ต
http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html บริกำรต่ำง ๆ บนอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตและกำรศึกษำไทย
1. Baldino, Eduardo N. (1997) Considerations on the impact of theอินเตอร์เน็ตon education
http://haas.berkeley.edu/~baldino/ba212/index.html
2. Noam,Eli M. (1995).Electronics and the Dim Future of the University. In Science Volume 270
(October, 1995) pp. 247-249.
3. Prowse, Michael. (1995).ENDANGERED SPECIES in America, 20November 1995 Financial
Times.
4. van Vught, F.A. (1997) Information Technology: The Next Stepin the Development of Academic
Institutions Presented at the 12May 1997 NUFFIC Seminar on: Virtual Mobility: New
Technologies and Internationalisation
5. van der Wende, Marijk. (1997) Virtual Mobility: New Technologies andInternationalisation. In
Ninth Annual Conference of the European Association for International Education Boundaries
and Bridges in International Education, 20-22 November 1997, Barcelona, Spain.
http://www.it.coj.go.th/internetadventage.html ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
http://dek-d.com/board/view.php?id=1300828 โทษของอินเทอร์เน็ต
http://blog.eduzones.com/banny/3743
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์

More Related Content

What's hot

งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์num norbnorm
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 

What's hot (20)

งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 

Similar to นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์SornsawanSuriyan19
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์RattiyakornKeawrap26
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krittalak Chawat
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูล
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูลการจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูล
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูลnamfonsatsin
 

Similar to นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์ (20)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูล
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูลการจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูล
การจัดการระบบเครือข่ายและสื่อสารทางข้อมูล
 

นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์

  • 1. รายงาน เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต จัดทำโดย จุฬำลักษณ์ สมรักษ์ เลขที่9 ชั้นม.6/11 เสนอ คุณครู ประกำศิต ศรีสะอำด รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา คอมพิวเตอร์ ง30206 โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต29 ภาคเรียนที่ 2/2560
  • 2. คำนำ รำยงำนเรื่อง อินเตอร์เน็ตและควำมสำคัญ เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำรำยวิชำ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจในชีวิตประจำวัน ได้มีกำรสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเกี่ยวกับ ประวัติควำมเป็นมำของอินเตอร์เน็ตควำมหมำย ควำมสำคัญของอินเตอร์เน็ต ประโยชน์และโทษของอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งที่จะให้ผู้อ่ำนรำยงำนเรื่อง อินเตอร์เน็ตและควำมสำคัญ มีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตมำกขึ้น ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ท่ำนในกำรนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิ ตประจำวันหำกมีข้อบกพร่องประกำรใดก็ขออภัยมำ ณ โอกำสนี้ นำยพงศ์รพี ดีดวงพันธ์ ผู้จัดทำ
  • 4. อินเทอร์เน็ตกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกำ เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทำงทหำรของสหรัฐอเมริกำ ชื่อว่ำ ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพำร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมำ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ำยที่ไม่มีวันตำยแม้จะมีสงครำม ระบบกำรสื่อสำรถูกทำลำย หรือตัดขำด แต่ระบบเครือข่ำยแบบนี้ยังทำงำนได้ซึ่งระบบดังกล่ำวจะใช้วิธีกำรส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ำยวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวริ์กขึ้นมำ เรียกว่ำ ARPAnet ย่อมำจำกคำว่ำ Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบควำมสำเร็จและได้รับควำมนิยมในหมู่ของหน่วยงำนทหำร องค์กร รัฐบำล และสถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ เป็นอย่ำงมำก ระบบเครือข่ายแบบเดิม ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ กำรเชื่อมต่อในภำพแรกแบบเดิม ถ้ำระบบเครือข่ำยถูกตัดขำด ระบบก็จะเสียหำยและทำให้กำรเชื่อมต่อขำดออกจำกกัน แต่ในเครือข่ำยแบบใหม่ แม้ว่ำระบบเครือข่ำยหนึ่งถูกตัดขำด เครือข่ำยก็ยังดำเนินไปได้ไม่เสียหำย เพรำะโดยตัวระบบก็หำช่องทำงอื่นเชื่อมโยงกันจนได้ ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบควำมสำเร็จ ก็มีองค์กรมหำวิทยำลัยต่ำงๆ ให้ควำมสนใจเข้ำมำร่วมในโครงข่ำยมำกขึ้น โดยเน้นกำรรับส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่ำงกันเป็นหลัก ต่อมำก็ได้ขยำยกำรบริกำรไปถึงกำรส่งแฟ้มข้อมูลข่ำวสำรและส่งข่ำวสำรควำมรู้ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพำณิชย์ เน้นกำรให้บริกำรด้ำนวิชำกำรเป็นหลัก
  • 5. ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมำกขึ้น มีกำรนำอินเทอร์เน็ตมำใช้ในเชิงพำณิชย์ มีกำรทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้ำงร้ำนต่ำงๆ ก็เข้ำร่วมเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตมำกขึ้น อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530ในลักษณะกำรใช้บริกำร จดหมำยเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตหำดใหญ่ ( Prince of Songkla University ) และสถำบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถำบันเอไอที ( AIT ) ภำยใต้โครงกำรควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงกำร IDP ) ซึ่งเป็นกำรติดต่อเชื่อมโยงโดยสำยโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตหำดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเตอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย ต่อมำปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จำกัดได้ขอที่อยู่อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภำยในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเตอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คำ “th” เป็นส่วนที่เรียกว่ำ โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ำยอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมำจำกคำว่ำ Thailand กล่ำวได้ว่ำกำรใช้งำนอินเตอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือน กรกฎำคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถำบันวิทยบริกำร จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยได้เช่ำวงจรสื่อสำรควำมเร็ว 9600 บิตต่อวินำที จำกกำรสื่อสำรแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้ำสู่อินเตอร์เน็ตที่บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ( UUNET Technologies ) ประเทศสหรัฐอเมริกำ ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงำนที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ำยอินเตอร์เน็ตผ่ำนจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย หลำยแห่งด้วยกัน ได้แก่สถำบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT ) มหำวิทยำลัยมหิดล สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำ วิทยำเขตเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ และมหำวิทยำลัยอัสสัมชัญบริหำรธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ำยนี้ว่ำเครือข่ำย “ไทยเน็ต” ( THAInet ) ซึ่งนับเป็นเครือข่ำยที่มี “เกตเวย์ “ ( Gateway ) หรือประตูสู่เครือข่ำยอินเตอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเตอร์เน็ตมำกขึ้น มีอัตรำกำรเติบโตมำกกว่ำ 100% สมำชิกของอินเตอร์เน็ตขยำยจำกอำจำรย์และนิสิตนักศึกษำในระดับอุดมศึกษำไปสู่ประชำชนทั่วไป
  • 6. ความหมายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ ( Cyberspace ) คาเต็มของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเวิร์กกิง ( Internetworking ) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่าอินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้ำยกับเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้ำงกำรทำงำนที่แตกต่ำงกันมำกพอสมควร เนื่องจำกระบบ WAN เป็นเครือข่ำยที่ถูกสร้ำงโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้ำนใดด้ำนหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นกำรเชื่อมโยงกันระหว่ำงคอมพิวเตอร์นับล้ำนๆ เครื่องแบบไม่ถำวรขึ้นอยู่กับเวลำนั้นๆ ว่ำใครต้องกำรเล่นอินเทอร์เน็ตบ้ำง ใครจะติดต่อสื่อสำรกับใครก็ได้ จึงทำให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ ระบบอินเทอร์เน็ต ช่วยให้สำมำรถเคลื่อนย้ำยข่ำวสำรข้อมูลจำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่จำกัดระยะทำง และสำมำรถส่งข้อมูลได้หลำยรูปแบบ ทั้งข้อควำม ตัวหนังสือ ภำพ และเสียง โดยอำศัยเครือข่ำยโทรคมนำคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่ำย ภำยใต้มำตรฐำนกำรเชื่อมโยงเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol /Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสำมำรถสื่อสำรระหว่ำงกันได้
  • 7. ระบบการสื่อสารกับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบำทและมีควำมสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเรำเป็นอย่ำงมำก เพรำะทำให้วิถี ชีวิตเรำทันสมัยและทันเหตุกำรณ์อยู่เสมอ เนื่องจำกอินเทอร์เน็ตจะมีกำรเสนอข้อมูลข่ำวปัจจุบัน และสิ่งต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทรำบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สำรสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมำกมำยหลำยรูปแบบเพื่อสนอ งควำมสนใจและควำมต้องกำรของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสำรสนเทศสำคัญสำหรับทุกคนเพรำะสำ มำรถค้นหำสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลำเดินทำงไปค้นคว้ำในห้องสมุด หรือแม้แต่กำรรับรู้ข่ำวสำร ทั่วโลกก็สำมำรถอ่ำนได้ในอินเทอร์เน็ตจำกเว็บไซต์ต่ำง ๆของหนังสือพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีควำมสำคัญกับวิถีชีวิตของคนเรำในปัจจุบันเป็นอย่ำงมำกในทุก ๆ ด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นบุคคล ที่อยู่ในวงกำรธุรกิจ กำรศึกษำ ต่ำงก็ได้รับประโยชน์จำกอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญ ดังนี้ 1. สำมำรถใช้เป็นแหล่งค้นคว้ำหำข้อมูล ไม่ว่ำจะเป็นข้อมูลทำงวิชำกำร ข้อมูลด้ำนกำรบันเทิง ด้ำนก ำรแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่ำสนใจ 2. ระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต จะทำหน้ำที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนำดใหญ่ 3. นักเรียนนักศึกษำสำมำรถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหำวิทยำลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อค้นหำข้อมูลที่กำลังศึกษำอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อควำมเสียง ภำพเคลื่อนไหวต่ำง ๆ 2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญดังนี้ 1. ค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ เพื่อช่วยในกำรตัดสินใจทำงธุรกิจ
  • 8. 2. สำมำรถซื้อขำยสินค้ำ ทำธุรกรรมผ่ำนระบบเครือข่ำย 3. เป็นช่องทำงในกำรประชำสัมพันธ์ โฆษณำสินค้ำ ติดต่อสื่อสำรทำงธุรกิจ 4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่ำง ๆ ก็สำมำรถเปิดให้บริกำร และสนับสนุนลูกค้ำของตนผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตได้ เช่น กำรให้คำแนะนำ สอ บถำมปัญหำต่ำง ๆให้แก่ลูกค้ำ แจกจ่ำยตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีควำมสำคัญดังนี้ 1. กำรพักผ่อนหย่อนใจ สันทนำกำร เช่น กำรค้นหำวำรสำรต่ำง ๆ ผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่ำ Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่ำวสำรอื่น ๆ โดยมีภำพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวำรสำรตำมร้ำนหนังสือทั่ว ๆ ไป 2. สำมำรถฟังวิทยุหรือดูรำยกำรโทรทัศน์ผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตได้ 3. สำมำรถดึงข้อมูล (Download) ภำพยนตร์มำดูได้ การถ่ายโอนข้อมูลของอินเทอร์เน็ต กำรส่งข้อมูลจำกคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ไม่ได้ส่งข้อมูลเป็นชุดยำวๆ หำกแต่ส่งไปเป็นชิ้นๆ เป็นชุดๆ หรือเรียกกันทั่วไปว่ำ แพ็กเกต (Packet) แพ็กเกตจะถูกส่งไปตำมสำยเคเบิล เมื่อไปถึงผู้รับแล้ว แพ็กเกตจะมำรวมกันเป็นข้อควำมยำวๆ เหมือนเดิม แต่ถ้ำแพ็กเกตใดขำดหำยหรือตกหล่น คอมพิวเตอร์ก็จะตรวจสอบ และส่งแพ็กเกตมำใหม่จนข้อมูลครบเหมือนเดิม
  • 9. กำรที่ข้อมูลจะถูกส่งถ่ำยเข้ำไปในเครื่องคอมพิวเตอร์หลำกหลำยชนิดที่เชื่อมต่อกันในระบบเครือข่ำยนั้น จะมีปัญหำและอุปสรรคในกำรสื่อสำร ทำให้ไม่อำจส่งถ่ำยข้อมูลได้สะดวก จึงได้มีกำรพัฒนำภำษำกลำงสำหรับสื่อสำรระหว่ำงคอมพิวเตอร์ขึ้นมำ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกชนิดสำมำรถสื่อสำรกันได้ ภำษำดังกล่ำวเรียกว่ำ TCP/IP ย่อมำจำกคำว่ำ Transmission Control Protocol/Internet Protocol กำรวิ่งไป-มำของข้อมูลจะผ่ำนเส้นทำงหลักที่เรียกว่ำ แบ็กโบน (Backbone) ผ่ำนทำงเร้ำเตอร์ (Router) ซึ่งเปรียบเสมือนบริษัทตัวกำรเส้นทำงให้ข้อมูลเดินทำงไป-มำได้สะดวกและรวดเร็ว ถึงจุดหมำยปลำยทำงได้อย่ำงสะดวกปลอดภัย บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต บริกำรบนอินเทอร์เน็ตมีหลำยประเภท เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมำะสมกับลักษณะงำน ซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่ำงบริกำรบนอินเทอร์เน็ตที่สำคัญดังนี้ 1.บริกำรด้ำนกำรสื่อสำร 1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(electronic mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่ำอีเมล์ (E-mail) ถือได้ว่ำเป็นกิจกรรมประจำวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งกำรส่งและรับจดหมำย หรือข้อควำมถึงกันได้ทั่วโลกนี้จำเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ (e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็นกล่องรับจดหมำย ที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสำคัญ 2ส่วน คือ ชื่อผู้ใช้(User name) และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรำยชื่อของผู้ใช้อีเมล์ โดยชื่อผู้ใช้และชื่อโดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมำย @(อ่ำนว่ำ แอ็ท) เช่นSriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothai ของมหำวิทยำลัยสยำม(siamu) ซึ่งเป็นสถำบันกำรศึกษำ (ac) ในประเทศไทย (th) ในกำรรับ-ส่งจดหมำย โดยผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตนั้น ได้มีกำรพัฒนำโปรแกรมที่ใช้สำหรับอีเมล์อยู่หลำยโปรแกรม เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape Mail เป็นต้น นอกจำกนี้ผู้ใช้ยังสำมำรถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจำกเว็บไซต์ที่ให้บริกำรที่อยู่อีเมล์ฟรี เว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม ได้แก่www.hotmail.com, www.chaiyo.com, www.thaimail.com โดยทั่วไปแล้ว ส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว (header) และส่วนข้อควำม (message) 1.2 รำยชื่อกลุ่มสนทนำ (mailing lists)
  • 10. mailing lists เป็นกลุ่มสนทนำประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มีกำรติดต่อสื่อสำรและกำรส่งข่ำวสำรให้กับสมำชิกตำมรำยชื่อและ ที่อยู่ของสมำชิกที่มีอยู่ ในรำยกำรซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่ำงกันตำมควำมสนใจจำนวนมำก กำรเข้ำไปมีส่วนร่วมในกลุ่มสนทนำประเภทนี้ ผู้ใช้จะต้อง สมัครสมำชิกก่อนด้วยกำรแจ้งควำมประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อกำรลงทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่ำง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com)กลุ่มสนทนำเรื่องตลก (dailyjoke@lists.ivllage.com) 1.3 กระดำนข่ำว (usenet) ยูสเน็ต (usenet หรือ user network) เป็นกำรรวบรวมของกลุ่มข่ำวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สนใจที่ต้องกำรจะติดต่อและแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆกลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมำกกว่ำ 10,000 กลุ่มที่มีควำมสนใจในหัวข้อที่แตกต่ำงกัน เช่นกลุ่มผู้สนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภำพยนต์ เป็นต้น กำรส่งและรับแหล่งข่ำวจำก usenet จะใช้โปรแกรมสำหรับอ่ำนข่ำวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่มข่ำวหรือหัวข้อจำกเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้เข้ำไปขอใช้บริกำรเช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่ำวจะมีกำรตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมำตรฐำน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆคือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่ำวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่ำวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่ำวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่ำงเช่น 1.4 กำรสนทนำออนไลน์(On-line chat) กำรสนทนำออนไลน์ เป็นบริกำรหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้สำมำรถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่น ๆ ได้ในเวลำเดียวกัน (real-time) กำรสนทนำหรือ chat (InternetRelay Chat หรือ IRC)ได้มีกำรพัฒนำไปอย่ำงต่อเนื่อง ปัจจุบันกำรสนทนำระหว่ำงบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสำมำรถใช้ ภำพกรำฟิก ภำพกำร์ตูนหรือภำพเคลื่อนไหวต่ำง ๆแทนตัวผู้สนทนำได้ นอกจำกกำรสนทนำแล้ว ผู้ใช้ยังสำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย กำรใช้งำน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออำร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (IRC server) ที่มีกำรแบ่งห้องสนทนำเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่ำ แชนแนล(channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้สำหรับกำรสนทนำ (ซึ่งสำมำรถดำวน์โหลดฟรีจำกอินเทอร์เน็ต) เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนำหรือหัวข้อสนทนำที่สนใจ และเริ่มสนทนำได้ตำมควำมต้องกำร ตัวอย่ำง โปรแกรมสนทนำออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC กำรสนทนำผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ตได้มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ในปัจจุบันผู้ใช้สำมำรถใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูด และภำพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลำโพง กล้องวีดีโอ และอื่น ๆเพื่ออำนวยควำมสะดวกและเพื่อประสิทธิภำพของกำรสนทนำ ให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรม
  • 11. ได้มีกำรพัฒนำโปรแกรมเพื่อกำรสนทนำออนไลน์ที่มีคุณภำพ เช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สำมำรถสนทนำกันไปพร้อม ๆกับมองเห็นภำพของคู่สนทนำได้ด้วย 1.5 เทลเน็ต (telnet) เทลเน็ตเป็นบริกำรที่ให้ผู้ใช้สำมำรถใช้บริกำรเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ระยะไกล โดยจะใช้กำรจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งำนอยู่ ให้เป็นจอภำพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้น กำรทำงำนในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลำและค่ำใช้จ่ำยในกรณีที่ต้องเดินทำงไปใช้งำน เครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล กำรใช้งำนเทลเน็ตจะเป็นกำรแสดงข้อควำมตัวอักษร (text mode) โดยปกติกำรเข้ำไปใช้บริกำรเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จำเป็นต้องมีรำยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่ำน แต่ก็มีบำงหน่วยงำนที่อนุญำติให้เข้ำใช้บริกำรโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่ำนเพื่อ เป็นกำรให้บริกำรข้อมูลแก่ลูกค้ำทั่ว ๆ ไป 2.บริกำรด้ำนข้อมูลต่ำง ๆ 2.1 กำรขนถ่ำยไฟล์(file transfer protocol) กำรขนถ่ำยไฟล์ หรือที่เรียกสั้น ๆว่ำ เอฟทีพี (FTP) เป็นบริกำรที่ใช้สำหรับกำรแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงอินเตอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรไฟล์จะเรียกว่ำ เอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site) ข้อมูลที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จะมีลักษณะหลำยรูปแบบ ได้แก่ข้อมูลสถิติ งำนวิจัย บทควำม เพลง ข่ำวสำรทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สำมำรถดำวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี ในบำงครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จะให้บริกำรเฉพำะบุคคลที่มีบัญชีรำยชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเ ตอร์เท่ำนั้น แต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรขนถ่ำยไฟล์จำนวนมำกอนุญำตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้ำไปใช้บริกำร ถึงแม้ว่ำในบำงครั้งจะไม่อนุญำต ให้ขนถ่ำยไฟล์ทั้งหมดก็ตำม 2.2 โกเฟอร์ (gopher) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริกำรข้อมูลในลักษณะของกำรค้นหำจำกเมนู(menu-based search) จำกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พัฒนำโดยมหำวิทยำลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริกำรฐำนข้อมูลจะเป็นลักษณะของเมนูลำดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจำยกันอยู่หลำยแหล่งได้ 2.3 อำร์ซี (archie) อำร์ซี เป็นกำรเข้ำใช้บริกำรค้นหำข้อมูลจำกเครื่องแม่ข่ำยที่เป็นอำร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archie sever ) ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหำสถำนที่ของข้อมูล จำกนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจำกสถำนที่นั้นต่อไป 2.4 WAIS (Wide AreaInformation Severs) WAIS เป็นบริกำรค้นหำข้อมูลจำกศูนย์ข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสำหรับสืบค้นข้อมูลจำก
  • 12. ฐำนข้อมูลต่ำงๆ เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสำมำรถเข้ำไปยังข้อมูลที่ต้องกำรและสำมำรถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆได้ด้วย 2.5 veronica veronica ย่อมำจำก veryeasy rodent-oriented net-wide index tocomputerized archives เป็นบริกำรที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอำนวย ควำมสะดวกในกำรค้นหำสิ่งที่ต้องกำรได้อย่ำงรวดเร็ว 2.6 กำรค้นหำข้อมูลโดยใช้เว็บเบรำเซอร์ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ำยใยแมงมุมที่มีกำรเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจำยอยู่ทั่วโลก กำรค้นหำข้อมูลจำกแหล่งต่ำงๆ ถ้ำผู้ใช้ไม่ทรำบที่อยู่ของเว็บไซต์ ก็สำมำรถค้นหำแหล่งข้อมูลโดยใช้บริกำรค้นหำข้อมูลต่ำง ๆ ที่ได้กล่ำวมำแล้วปัจจุบันกำรค้นหำข้อมูลที่ต้องกำรเป็นเรื่อง ที่กระทำได้สะดวกและรวดเร็ว กำรพัฒนำเว็บไซต์ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่ำ เครื่องค้นหำ (search engine) ช่วยให้กำรค้นหำทั้งในรูปของ ข้อควำมและกรำฟิกกระทำได้โดยง่ำย เว็บไซต์ที่ช่วยสำหรับกำรสืบค้นข้อมูลที่เป็นที่รู้จักกันอย่ำงแพร่หลำย ได้แก่ yahoo.com, altavista.com, lycos.com, excite.com, ask.com, infoseek.ccom อินเตอร์เน็ตและการศึกษาไทย 1. ความเป็นมา ยุคปัจจุบันนอกจำกจะเป็นยุคโลกำภิวัฒน์แล้ว ยังเป็นยุคแห่งสำรสนเทศไร้พรมแดนด้วย และเป็นยุค ที่เทคโนโล ยีอินเตอร์เน็ตเริ่มก้ำวเข้ำมำมีบทบำทสำคัญทั้งในภำคธุรกิจและในภำคกำรศึกษำ ดังจะเห็นได้จำก กำรที่ประเทศสหรัฐอเมริกำได้ประกำศนโยบำยที่จะให้ทุกห้องเรียนสำมำรถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ภำยในปี ค. ศ. 2000 และนักเรียนทุกคนต้องได้รับกำรศึกษำด้ำนเทคโนโลยีนี้ ในประเทศไทยเอง ถึงแม้จะไม่มีกำรประกำศแผนนโยบำยด้ำนนี้ชัดเจน อินเตอร์เน็ตก็เริ่มก้ำวเข้ำมำสู่สถำบันกำรศึกษำโดยเฉพำะอย่ำง ยิ่งในระดับอุดมศึกษำ ดังจะเห็นได้จำกกำรที่มหำวิทยำลัยต่ำงๆ ได้ลงทุนติดตั้งระบบเครือข่ำย network ภำยในและต่อเข้ำกับอินเตอร์เน็ตเพื่อให้อำจำรย์และนิสิตนักศึกษำได้ใช้อินเตอร์เน็ตกัน กำรนำอินเตอร์เน็ตเข้ำมำใช้ในระบบกำรศึกษำ เป็นกำรนำสื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศเข้ำมำใช้โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อประโยชน์ต่อกำรศึกษำ ซึ่งในเรื่องนี้ มีผู้ที่มีควำ มคิดเห็นแตกต่ำงกันเป็น 2กลุ่ม คือ กลุ่มที่มอง เห็นข้อดีของกำรใช้ประโยชน์จำกสื่อนี้เพื่อกำรศึกษำ เพรำะมองว่ำอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้รับสำรเข้ำถึงข้อ มูลได้อย่ำงมำกมำยและสะดวกรวดเร็วช่วยให้มีกำรเรียนรู้แบบ self center
  • 13. มำกขึ้น ขณะที่อีกกลุ่มจะมองกำรนำเทคโนโลยีนี้มำใช้ในเชิงลบ คือมองถึงผลกระทบของสื่อนี้ต่อระบบกำรศึกษำ ว่ำ จะส่งผลให้เกิดกำรปรับ เปลี่ยนโครงสร้ำงกำรศึกษำไปจนถึงล้มล้ำงระบบและสถำบันกำรศึกษำที่มีมำกว่ำ 2500 ปี 2. ทาไมต้องนาสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาในมหาวิทยาลัย มีเหตุผลและปัจจัยหลำยอย่ำงที่ทำให้หลำยๆคนเชื่อว่ำกำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเข้ำมำใช้ในระบบ กำรศึกษำแทบจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลหลักสำคัญอันหนึ่ง คือควำมจำเป็นทำงเศรษฐกิจ Prowse (1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงค่ำใช้จ่ำยของกำรศึกษำที่สูงมำกขึ้นเรื่อยๆ ค่ำใช้จ่ำยของหน่วยกิตในมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำได้ เพิ่มขึ้น 174% ภำยใน 10ปี มำกกว่ำอัตรำขยำยตัวของ consumer price ถึง 3เท่ำ van Vught (1997) กล่ำวว่ำค่ำใช้จ่ำยในกำรเข้ำเรียนมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำได้เพิ่มจำก 9% ของรำยได้ครัวเรือน (median family income) ในปี 1979 ไปเป็น 15% ในปี 1994 หำกเป็นมหำวิทยำลัยเอกชน ค่ำใช้จ่ำยจะเพิ่มมำกยิ่งขึ้น (20% ในปี 1979 และ 40% ในปี 1994) กำรเพิ่มของค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำนี้เกิดขึ้นทั้งในยุโรปและในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนำด้วย กำรที่จะลดค่ำใช้จ่ำยลง จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ำมำใช้ โดย van Vught (1997) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นว่ำ ค่ำใช้จ่ำยต่อหัวของกำรเรียนในมหำวิทยำลัยในสหรัฐอเมริกำนั้น สูงถึง US$12,500 ส่วนในอังกฤษสูงถึง US$10,000 แต่ค่ำใช้จ่ำยต่อหัวของกำรเรียนในแบบ distant learning (คำนวณจำก 11 มหำวิทยำลัยใน China, France, India, Indonesia, Iran, Korea, South Africa, Spain, Thailand, Turkey and theUK) นั้นไม่ถึง US$350 เขำจึงเชื่อว่ำ กำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตมำใช้ในกำรสอนแบบ distant learning จะเป็นรูปแบบของมหำวิทยำลัยในอนำคต เพรำะรูปแบบมหำวิทยำลัยแบบที่เป็นอยู่ไม่เหมำะสมกับพื้นฐำนทำงเศร ษฐกิจในปัจจุบัน เพรำะมีแต่จะทำให้ค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆในขณะที่กำรสนับสนุนจำกภำครัฐแ ละเอกชนจะเริ่มลดลง อีกปัจจัยหนึ่งเป็นเรื่องของกำรเติบโตอย่ำงรวดเร็วของศำสตร์แต่ละศำสตร์ Noam (1995) ได้ยกตัวอย่ำง วำรสำรวิชำกำร Chemical Abstracts ซึ่งต้องใช้เวลำถึง 31ปีเพื่อตีพิมพ์บทคัดย่องำนวิจัยออกมำ 1 ล้ำนชิ้น และใช้เวลำอีก 18 ปีต่อมำสำหรับตีพิมพ์บทคัดย่ออีก 1 ล้ำนชิ้น แต่ปัจจุบันในใช้เวลำไม่ถึง 2 ปีก็สำมำรถตีพิมพ์บทคัดย่อออกมำได้กว่ำ 1 ล้ำนชิ้น ควำมเติบโตนี้เองที่ทำให้มีกำรแตกแขนงของสำขำวิชำต่ำงๆมำกมำยทำให้มหำวิทยำลัยไม่ afford ที่จะมีผู้เชี่ยวชำญในทุกๆสำขำ แม้แต่ในภำควิชำเดียวกัน ก็ยังมีกำรแยกย่อยสำขำจนแทบหำผู้เชี่ยวชำญในสำขำเดียวกันเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันภำยในมหำวิทยำ ลัยได้ยำกกำรใช้ อินเตอร์เน็ตช่วยแก้ไขปัญหำนี้เพรำะทำให้เกิด virtual community ของผู้ที่มีควำมสนใจร่วมกันแต่อยู่ห่ำงไกลกันได้ ทำให้สำมำรถแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันได้ นอกจำกนี้ในเรื่อง ของ กำรสะสมสิ่งตีพิมพ์ก็เป็นไปได้
  • 14. ยำกที่มหำวิทยำลัยจะทำให้ได้ครอบคลุมสมบูรณ์แบบเหมือนเดิม เพรำะค่ำใช้จ่ำยที่สูงมำกขึ้นเรื่อยๆ โดย Noam ยกตัวอย่ำงของวำรสำร Chemical Abstracts ซึ่งค่ำสมำชิกรำยปี ได้เพิ่มจำก $12ในปี 1940เป็น $3,700 ในปี 1977 และเป็น $17,400 ในปี 1995 ในปัจจุบัน จึงมีแนวโน้มที่จะลดค่ำใช้จ่ำยด้ำนนี้ เริ่มมีกำร จัดพิมพ์วำรสำร online หรือเปิดให้บริกำรเป็นสมำชิกวำรสำรผ่ำนทำงอินเตอร์เน็ตมำกขึ้น นอกจำกปัจจัยทำงเศรษฐกิจแล้ว ปัจจัยทำงสังคมก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้กำรนำเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต เข้ำมำในมหำวิทยำลัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยำก กำรเติบโตและกำรเป็นที่ยอมรับของอุตสำหกรรมคอมพิวเตอร์ แล ะกำรแพร่หลำยของกำรใช้อินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดกำรคำดหวังจำกสังคมว่ำ มหำวิทยำลัยจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีด้ำนนี้พร้อมเพื่อรองรับควำมต้องกำรของนิสิต ขณะเดียวกันก็เป็นกำรสร้ำงภำพว่ำมหำวิทยำลัยได้ก้ำวทันกำรเปลี่ยนแปลงทำงเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น 3. ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อระบบการศึกษา แม้ว่ำผู้คนจะยอมรับอินเตอร์เน็ตว่ำมีประโยชน์ต่อกำรทำวิจัยเพรำะช่วยในกำรค้นหำข้อมูลต่ำงๆ ได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็มีผู้ที่มองว่ำอินเตอร์เน็ตจะทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมำกต่อระบบกำรศึกษำในปัจจุบัน ทั้งนี้เพรำะอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรควบคุมควำมรู้ (knowledge) หรือข่ำวสำร (information) ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบสถำบันกำรศึกษำอ่อนแอลงและเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด Noam (1995) ได้ชี้เปรียบเทียบให้เห็นถึงกำรเปลี่ยนแปลงของ information flow ที่เกิดขึ้นในประวัติศำสตร์ โดยกล่ำวว่ำ ในยุคแรก นักบวชจะเป็นผู้ครอบครองและถ่ำยทอด information โดยกำรท่องจำ ต่อมำเมื่อมีระบบกำรเขียน จึงมีกำรจัดเก็บข้อมูล มีห้องสมุดขึ้น เช่น Great Library of Alexandria ซึ่งมีกำรจัดระบบข้อมูลควำมรู้และกระบวนกำร หำควำมรู้คล้ำยๆกับกำรมีภำควิชำต่ำงๆในปัจจุบัน ลักษณะแบบนี้เป็นกำรรวมศูนย์ควำมรู้ไว้ที่หนึ่ง ผู้สนใจจะต้องเ ดินทำงเข้ำมำเพื่อรับกำรถ่ำยทอดควำมรู้นั้นจำกผู้ที่ได้รับกำรยอมรับว่ำทรงคุณวุฒิ รูปแบบกำรศึกษำแบบนี้คงอยู่มำ เป็นเวลำ 2500 ปี แต่ปัจจุบันทิศทำงของ information flow กำลังเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเข้ำมำหำควำมรู้ แต่สำมำรถใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อเรียกดูข้อมูลควำมรู้ให้มำหำตน ได้ เมื่อเป็นดังนี้ มหำวิทยำลัยซึ่งมีหน้ำที่หลักสองอย่ำงคือ เป็น authority ในกำร transfer information และเป็นแหล่งรวบรวม information ก็จะค่อยๆสูญเสียควำมสำคัญของบทบำททั้งสองลงในที่สุด Noam (1995) ยังกล่ำวว่ำ กำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนี้ แตกต่ำงจำกเมื่อครำวที่เริ่มมีสื่อวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในตอนนั้นหลำยคนเชื่อกันว่ำสื่อวิ ทยุโทรทัศน์จะทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรศึกษำอย่ำงมำกแต่ท้ำยที่สุดก็ไม่ได้เป็นไปเช่นที่ทำนำย จึงมีผู้วิจำ รณ์ว่ำสื่ออินเตอร์เน็ตก็จะเป็นเช่นเดียวกัน แต่Noam แย้งว่ำสื่ออินเตอร์เน็ตมีลักษณะที่ต่ำงไป เพรำะกำรเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เป็นกำรเปลี่ยนของ information flow ในขณะที่กำรนำสื่อวิทยุโทรทัศน์มำใช้ไม่ได้ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงที่จุดนี้ นอกจำกนี้สื่อวิทยุโทรทัศน์ยังเป็นสื่
  • 15. อที่ถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยซึ่งเป็นชนชั้นนำในสังคมได้ง่ำย ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เสรีและไม่สำ มำรถถูกควบคุมด้วยคนจำนวนน้อยได้ Baldino (1996) มองว่ำ กำรควบคุม information มีควำมสำคัญต่อกลุ่มชนที่เป็นชนชั้นนำในสังคม ประวัติศำสตร์ที่ผ่ำนมำ แสดงให้เห็นว่ำชนชั้นนำดำรงบทบำทตั วเองอยู่ได้โดย อำศัยกำรควบคุม information คือกำหนดว่ำใครควรจะรู้ และควรจะรู้อะไร ผ่ำนสถำบันกำรศึกษำซึ่งทำหน้ำที่สืบทอดอุดมกำรณ์ต่ำงๆ (ideological values) ของชนชั้นนำ สถำบันกำรศึกษำจึงมีบทบำทเพื่อสนับสนุนโครงสร้ำงของสังคม โดยกำร "makesure that whoever has access to knowledge only knows what we want them to know, and make sure that theythink just like we want them to think" จึงไม่แปลกอย่ำงไรที่สื่อวิทยุโทรทัศน์เมื่อถูกนำเข้ำมำในสังคมจึงถูกควบคุมโดยชนชั้นนำเพื่อสืบทอดอุดมก ำรณ์เดิมไว้ ทั้งนี้เพรำะสื่อวิทยุโทรทัศน์มีธรรมชำติที่เป็นกำรกระจำยเสียงและภำพจำกสถำนีแม่ข่ำย จึงถูกควบคุม ได้ง่ำยกว่ำ ต่ำงจำกสื่ออินเตอร์เน็ตซึ่งใครก็สำมำรถทำหน้ำที่ให้ข้อมูลก็ได้ขอเพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ส่วนตัวสักเครื่อ ง ก็สำมำรถสร้ำง web site เพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงควำมคิดเห็นในเรื่องต่ำงๆได้ นอกจำกควำมคิดที่ว่ำ สื่ออินเตอร์เน็ตจะลดบทบำทควำมสำคัญของสถำบันกำรศึกษำ ผลกระทบที่เห็นได้ชัดกว่ำ คือ กำรเปลี่ยนแปลงด้ำนรูปแบบกำรเรียนกำรสอน ทั้งนี้เพรำะสื่ออินเตอร์เน็ตจะทำให้เรื่องของสถำนที่และเวลำลดคว ำมสำคัญลง เพรำะผู้เรียนไม่จำเป็นต้องมำรวมกันในห้องเรียน ไม่จำเป็นต้องมำเรียนในชั่วโมงเดียวกัน แต่สำมำรถเข้ำเรียนจำก ที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต access จะเข้ำเรียนเวลำใดก็ได้ตำมสะดวกนอกจำกนี้ ผู้เรียนยังสำมำรถเปรียบเทียบรำยวิชำที่ตัวเองเรียนกับรำยวิชำที่เปิดสอนในที่อื่นๆได้ด้วย บทบำทของอำจำรย์จึงไม่ ใช่ผู้ที่รู้ดีที่สุดในชั้นเรียนอีกต่อไป นักเรียนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลควำมรู้จำกแหล่งอื่นและนำมำเปรียบเทียบได้ ใน บริบทใหม่นี้ อำจำรย์จึงเปลี่ยนบทบำทจำกกำรเป็นผู้ถ่ำยทอดควำมรู้โดยตรงในแบบเดิมมำเป็นพี่เลี้ยงในกำรเรียนรู้ ของผู้เรียนมำกกว่ำ ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่แสวงหำควำมรู้ด้วยตัวเองเป็นหลักโดยอำศัยคำแนะนำจำกอำจำรย์ รูปแบบก ำรเรียนกำรสอนจึงเปลี่ยนจำกกำรบรรยำยควำมรู้มำเป็น problem solving oriented และเป็น team-based 4. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา อีกกลุ่มเชื่อว่ำกำรเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทำงลบขนำดนั้น แต่กลับมองว่ำเป็นโอกำสอันดีที่จะ ใช้ประโยชน์จำกอินเตอร์เน็ตเพื่อขยำยขอบเขตของมหำวิทยำลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ van Vught (1997) เชื่อว่ำ information technology
  • 16. จะเข้ำมำช่วยให้กำรเรียนกำรสอนได้มีประสิทธิภำพมำกขึ้น แต่จะไม่สำมำรถเข้ำมำแทนที่กำรมีโรงเรียนและมหำวิ ทยำลัยได้ โรงเรียนและมหำวิทยำลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบกำรศึกษำแต่ก็ยอมรับกันว่ำจะมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมำ ก จำกเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น school without wall และเปลี่ยนจำกกำรเรียนกำรสอนแบบบรรยำยในชั้นเรียนมำเป็นแนวกำรเรียนกำรสอนแบบกระตุ้นใ ห้เรียนและค้นคว้ำเป็นทีม (stimulate team-based learning) ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อกำรศึกษำ คือกำรเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้กำรค้นหำข่ำวสำรข้อมูลต่ำงๆเป็นไปได้อย่ำงสะดวกและรวดเร็วมำกยิ่งขึ้น ปัจจุบัน มี web site ต่ำงๆเกิดขึ้นมำกมำย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่ำวสำรในเรื่องต่ำงๆ รูปแบบระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่ำจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มีหนังสือในเรื่องต่ำงๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่ำนและค้นคว้ำได้ online กำรใช้email ช่วยให้กำรติดต่อข่ำวสำรระหว่ำงนักวิชำกำรเป็นไปได้อย่ำงรวดเร็ว ไม่ล่ำช้ำเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้กำรแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นระหว่ำงนักวิชำกำรในสำขำเดียวกันทั่วโลกเป็นไปได้ กำรเรียนแบบ online ยังช่วยให้นักเรียนสำมำรถเรียนได้ตำมขีด ควำมสำมำรถของตนเอง ใครมีควำมสำมำรถมำกก็เรียนได้เร็วกว่ำ นักเรียนที่ไม่กล้ำแสดงควำมคิดเห็นในห้องก็สำ มำรถแสดงควำมคิดเห็นได้มำกขึ้นผ่ำนกำรใช้ email หรือ discussion group ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต เครือข่ำยอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ำยที่ครอบคลุมทั่วทั้งโลก สำมำรถนำมำใช้ในงำนต่ำง ๆ ได้อย่ำงกว้ำงขวำงและต้นทุนต่ำกว่ำช่องทำงอื่น ทำให้มีกำรปรับใช้อินเทอร์เน็ตในด้ำนต่ำง ๆ ดังนี้ 1. บริกำรไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็นกำรส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อควำมไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมำย1ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมำยภำยในเวลำไม่กี่วินำที แม้จะอยู่ห่ำงกันคนละซีกโลกก็ตำม นอกจำกนี้ยังสำมำรถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย 2. บริกำรสื่อสำรด้วยข้อควำม (Chat, IRC-InternetRelay chat) เป็นกำรพูดคุยกันระหว่ำงผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ข้อควำมตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีกำรสื่อสำรที่ไดัรับควำมนิยมมำกอีกวิธีหนึ่ง กำรสนทนำกันผ่ำนอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรำนั่งอยู่ในห้องสนทนำเดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อควำมโต้ตอบกันไปมำได้ในเวลำเดียวกัน แม้จะอยู่คนละซีกโลกก็ตำม 3. บริกำรสื่อสำรด้วยเสียง ภำพ และกำรประชุมทำงไกลผ่ำนจอภำพ (VDO Conference) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พัฒนำมำกขึ้นทำให้กลำยเป็นช่องทำงกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพ สำมำรถส่งได้ทั้งเสียงในรุปแบบโทรศัพท์ หรือส่งเฉพำะภำพคู่สนทนำ รวมทั้งกำรจัดประชุมทำงไกลผ่ำนจอภำพที่ได้รับทั้งภำพและเสียง
  • 17. 4. กำรขอเข้ำระบบจำกระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริกำรอินเน็ตรูปแบบหนึ่งโดยที่เรำสำมำรถเข้ำไปใช้งำนคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆได้ด้วยตนเอง โดยให้เครื่องทั้งสองต่ออินเทอร์เน็ตไว้ เรำสำมำรถเรียกข้อมูลจำกเครื่องที่ต้องกำรมำยังเครื่องส่วนตัวได้ 5. กำรโอนถ่ำยข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นบริกำรอีกรูปแบบหนึ่งของระบบอินเทอร์เน็ต เรำสำมำรถค้นหำและเรียกข้อมูลจำกแหล่งต่ำง ๆมำเก็บไว้ในเครื่องของเรำได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภำพและเสียง 6. กำรสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมำยถึง กำรใช้เครื่อข่ำยอินเทอร์เน็ตในกำรค้นหำข่ำวสำรที่มีอยู่มำกมำยแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่ำวสำรหัวข้ออย่ำงมีระบบ เป็นเมนู ทำให้เรำหำข็อมูลได้ง่ำยหรือสะดวกมำกขึ้น ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine จำนวนมำกคอยให้บริกำร 7. กำรเผยแพร่ข้อมูลควำมสำร ผู้ที่มีควำมรู้ควำมชำนำญไม่ว่ำเรื่องใด ๆ สำมำรถเผยแพร่ควำมรู้ของตนไปยังผู้คนทั่วโลกได้โดยง่ำย เช่นถ้ำมีควำมชำนำญในกำรสอนนวดแผนไทย ก็สำมำรถนำข้อมูลกำรสอนนวดฯ พร้อมกับภำพประกอบไปใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนที่สนใจอำหำรไทยทั่วโลกได้รับทรำบอย่ำงง่ำยดำย ในทำงกลับกันก็สำมำรถค้นหำข้อมูลได้แทบทุกชนิดจำกอินเทอร์เน็ต 8. กำรแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำรและควำมคิดเห็น (Usenet) ให้บริกำรแลกเปลี่ยนข่ำวสำรและแสดงควำมคิดเห็นที่ผู้ใช้บริกำรอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสำมำรถพบปะกัน แสดงควำมคิดเห็นของตน โดยมีกำรจัดกำรผู้ใช้เป็นกลุ่มข่ำวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่ำง ๆเช่น เรื่องหนังสือ เรื่องกำรเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้คอมพิวเตอร์และกำรเมือง เป็นต้น ปัจจุบันมี Usenet มำกกว่ำ15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนำดใหญ่ให้ทุกคนจำกทั่วมุมโลกแสดงควำมคิดเห็นอย่ำงกว้ำงขวำง 9. กำรซื้อขำยสินค้ำและบริกำร (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็นกำรจับจ่ำยซื้อ - สินค้ำและบริกำร เช่น ขำยหนังสือ คอมพิวเตอร์ กำรท่องเที่ยว เป็นต้น ปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในกำรทำธุรกิจและให้บริกำรลูกค้ำตลอด 24ชั่วโมง นับเป็นธุรกรรมและกำรโฆษณำที่มีต้นทุนต่ำที่สุดอีกด้วย 10. กำรให้ควำมบันเทิง (Entertain) อินเทอร์เน็ตมีบริกำรด้ำนควำมบันเทิงในทุกรูปแบบต่ำ งๆ เช่นเกมส์ เพลง รำยกำรโทรทัศน์ รำยกำรวิทยุ เป็นต้น เรำสำมำรถเลือกใช้บริกำรเพื่อควำมบันเทิงได้ตลอด24ชั่วโมงและจำกแหล่งต่ำง ๆทั่วทุกมุมโลก 11. บริกำรด้ำนกำรศึกษำ (E-Learning) และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปัจจุบันกำรศึกษำได้ขยำยโอกำสผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตจำนวนมำก ทั้งกำรศึกษำนอกหลักสูตรและในหลักสูตร ช่วยให้โอกำสทำงกำรศึกษำกระจำยไปอย่ำงทั่วถึง
  • 18. นอกจำกนี้กำรศึกษำผ่ำนอินเทอร์เน็ตยังเปิดโอกำสให้สำมำรถเลือกสถำนศึกษำจำกทั่วทุกมุมโลก อยู่เมืองไทยก็สำมำรถรับปริญญำมหำวิทยำลัยต่ำงประเทศได้ด้วยกำรศึกษำผ่ำนอินเทอร์เน็ต โทษของอินเทอร์เน็ต - โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลำกหลำยลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหำย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกำศซื้อขำย ของผิดกฏหมำย, ขำยบริกำรทำงเพศ ที่รวมและกระจำยของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่ำงๆ - อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้ำของ ทำให้กำรควบคุมกระทำได้ยำก - มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมำณมำก - ไม่มีระบบจัดกำรข้อมูลที่ดี ทำให้กำรค้นหำกระทำได้ไม่ดีเท่ำที่ควร - เติบโตเร็วเกินไป - ข้อมูลบำงอย่ำงอำจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อำจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจำกเพื่อน - ถ้ำเล่นอินเทอร์เน็ตมำกเกินไปอำจเสียกำรเรียนได้ - ข้อมูลบำงอย่ำงก็ไม่เหมำะกับเด็กๆ - ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งำนไม่ได้ (นั่นจะเป็นเฉพำะกำรต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Dial up แต่ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงจะสำมำรถใช้งำนโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ตได้ด้วย) - เป็นสถำนที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสำร เพื่อก่อเหตุร้ำย เช่น กำรวำงระเบิด หรือล่อลวงผู้อื่นไปกระทำชำเรำ - ทำให้เสียสุขภำพ เวลำที่ใช้อินเตอร์เนตเป็นเวลำนำนๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว โรคติดอินเทอร์เน็ต โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอำกำรทำงจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยำชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษำและวิเครำะห์ไว้ว่ำ บุคคลใดที่มีอำกำรดังต่อไปนี้ อย่ำงน้อย 4 ประกำร เป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 1ปี แสดงว่ำเป็นอำกำรติดอินเทอร์เน็ต - รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลำที่ไม่ได้ต่อเข้ำระบบอินเทอร์เน็ต - มีควำมต้องกำรใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลำนำนขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไม่สำมำรถควบคุมกำรใช้อินเทอร์เน็ตได้ - รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือหยุดใช้ - คิดว่ำเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น - ใช้อินเทอร์เน็ตในกำรหลีกเลี่ยงปัญหำ - หลอกคนในครอบครัว หรือเพื่อน เรื่องกำรใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง - มีอำกำรผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่นหดหู่กระวนกระวำย ซึ่งอำกำรดังกล่ำว ถ้ำมีมำกกว่ำ 4 ประกำรในช่วง 1 ปี จะถือว่ำเป็นอำกำรติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อระบบร่ำงกำย
  • 19. ทั้งกำรกิน กำรขับถ่ำย และกระทบต่อกำรเรียน สภำพสังคมของคนๆ นั้นต่อไป อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยควำมสะดวกได้มำกเพียงใดก็ตำม สิ่งที่ต้องยอมรับควำมจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่ำงมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มำจำกตัวเทคโนโลยีเอง และมำจำกปัญหำอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้ำย ในโลก cyberspace อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหำหลักที่นับว่ำยิ่งมีควำมรุนแรง เพิ่มมำกขึ้น ประมำณกันว่ำมีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็นจุดโจมตีมำกที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่ำรุนแรงกว่ำปัญหำไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ หน่วยงำนทุกหน่วยงำนที่นำไอทีมำใช้งำน จึงต้องตระหนักในปัญหำนี้เป็นอย่ำงยิ่ง จำเป็นต้องลงทุนด้ำนบุคลำกรที่มีควำม เชี่ยวชำญด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮำร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภำพ กำรวำงแผน ติดตำม และประเมินผลที่ต้องกระทำอย่ำงสม่ำเสมอต่อเนื่อง แต่ไม่ว่ำจะมีกำรป้องกันดีเพียงใด ปัญหำกำรโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบกำรโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ - Hacker & Cracker อำชญำกรที่ได้รับกำรยอมรับว่ำมีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่ำงยิ่ง - บุคลำกรในองค์กร หน่วยงำนใดที่ไล่พนักงำนออกจำกงำนอำจสร้ำงควำมไม่พึงพอใจให้กับพนักงำนจนมำก่อปัญหำอำชญำกรรมได้เช่ นกัน - Buffer overflow เป็นรูปแบบกำรโจมตีที่ง่ำยที่สุด แต่ทำอันตรำยให้กับระบบได้มำกที่สุด โดยอำชญำกรจะอำศัย ช่องโหว่ของระบบปฏิบัติกำร และขีดจำกัดของทรัพยำกรระบบมำใช้ในกำรจู่โจม กำรส่งคำสั่งให้เครื่องแม่ข่ำยเป็นปริมำณมำกๆ ในเวลำเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สำมำรถรันงำนได้ตำมปกติ หน่วยควำมจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดกำรแฮงค์ของระบบ เช่นกำรสร้ำงฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อำจจะใช้ฟอร์มนั้นในกำรส่งข้อมูลกระหน่ำระบบได้ - Backdoors นักพัฒนำเกือบทุกรำย มักสร้ำงระบบ Backdoors เพื่อช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรทำงำน ซึ่งหำกอำชญำกรรู้เท่ำทัน ก็สำมำรถใช้ประโยชน์จำก Backdoors นั้นได้เช่นกัน - CGI Script ภำษำคอมพิวเตอร์ที่นิยมมำกในกำรพัฒนำเว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทำงหนึ่งได้เช่นกัน - Hidden HTML กำรสร้ำงฟอร์มด้วยภำษำ HTML และสร้ำงฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทำงที่อำนวย ควำมสะดวกให้กับอำชญำกรได้เป็นอย่ำงดี โดยกำรเปิดดูรหัสคำสั่ง (SourceCode) ก็สำมำรถตรวจสอบและนำมำ ใช้งำนได้ทันที
  • 20. - Failing to Update กำรประกำศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทำงหนึ่งที่อำชญำกร นำไป จู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพรำะกว่ำที่เจ้ำของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำกำรปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่องโหว่นั้น ก็สำยเกินไปเสียแล้ว - Illegal Browsing ธุรกรรมทำงอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นกำรส่งค่ำผ่ำนทำงบรำวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่ำนต่ำงๆ ซึ่งบรำวเซอร์บำงรุ่น หรือรุ่นเก่ำๆ ย่อมไม่มีควำมสำมำรถในกำรเข้ำรหัส หรือป้องกันกำรเรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน - Malicious scripts จะมีกำรเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่ำงมั่นใจ หรือว่ำไม่เจอปัญหำอะไร อำชญำกรอำจจะเขียนโปรแกรมแฝงในเอกสำรเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทำงำนตำมที่กำหนดไว้อย่ำงง่ำยดำย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ทรำบว่ำตนเองเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมนั้นเอง - Poison cookies ขนมหวำนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่ำงๆ ตำมแต่จะกำหนด จะถูกเรียกทำงำนทันทีเมื่อมีกำรเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยำกอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึกข้อมูลต่ำงๆ ของผู้ใช้ส่งกลับไปยังอำชญำกร - ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ำยสำหรับหน่วยงำนที่ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่ำงอมตะตลอดกำล ในปี 2001 พบว่ำไวรัส Nimda ได้สร้ำงควำมเสียหำยได้สูงสุด เป็นมูลค่ำถึง 25,400 ล้ำบบำท ในทั่วโลก ตำมด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตำมลำดับที่ไม่หย่อนกว่ำกัน ปัญหำของโลกไอที มีหลำกหลำยมำก กำรทำนำยผลกระทบที่มีข้อมูลอ้ำงอิงอย่ำงพอเพียง กำรมีทีมงำนที่มีประสิทธิภำพ กำรวำงแผน ติดตำม ประเมินผลอย่ำงสม่ำเสมอ คงจะช่วยให้รอดพ้นปัญหำนี้ได้บ้ำง - อินเตอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้ำของ ทำให้กำรควบคุมกระทำได้ยำก - มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยแพร่อยู่ปริมำณมำก - ไม่มีระบบจัดกำรข้อมูลที่ดี เสี่ยงต่อกำรละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น เพลง หนัง - เติบโตเร็วเกินไป -เสี่ยงต่อกำรโดนจำรกรรมข้อมูล กำรโจมตีจำกไวรัส, แฮกเกอร์ และจำกภัยคุกคำมทำงไซเบอร์ มัลแวร์ - ข้อมูลบำงอย่ำงอำจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน อำจถูกหลอกลวง โจมตี โฆษณำชวนเชื่อ กลั่นแกล้งจำกเพื่อนใหม่ เช่น กำรตัดต่อรูปเพื่อกำรอนำจำร - ถ้ำเล่นอินเตอร์เน็ตมำกเกินไปอำจเสียกำรเรียนได้ - ข้อมูลบำงอย่ำงก็ไม่เหมำะกับเด็กๆ - ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งำนไม่ได้ - ใช้สื่อทำงอินเตอร์เน็ตเพื่อกล่ำวหำและโจมตีคู่แข่ง
  • 21. ส่วนโทษเฉพำะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประกำร บนอินเทอร์เน็ตสำมำรถจำแนกออกได้ดังนี้ 1. กำรแพร่สื่อลำมก มีทั้งที่เผยแพร่ภำพลำมกอนำจำร ภำพกำรสมสู่ ภำพตัดต่อลำมก 2. กำรล่อลวง โดยปล่อยให้เด็กและเยำวชนเข้ำไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดกำรล่อลวงนัดหมำยไปข่มขืนหรือทำในสิ่งที่เลวร้ำย 3. กำรค้ำประเวณี มีกำรโฆษณำเพื่อขำยบริกำร รวมทั้งชักชวนให้เข้ำมำสมัครขำยบริกำร 4. กำรขำยสินค้ำอันตรำย มีตั้งแต่ยำสลบยำปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อตไฟฟ้ำ 5. กำรเผยแพร่กำรทำระเบิด โดยอธิบำยขั้นตอนกำรทำอย่ำงละเอียด 6. กำรพนัน มีให้เข้ำไปเล่นได้ในหลำยรูปแบบ 7. กำรเล่นเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่ำฟันและเกมละเมิดทำงเพศ
  • 22. บรรณานุกรม ดร.วิทยำ เรืองพรวิสุทธิ์. คู่มือกำรเข้ำสู่อินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ :เม็ดทรำยพริ้นติ้ง, 2539. บุญลักษณ์ เอี่ยมสำอำงค์ เกื้อกมล พฤกษประมูล และโสภิต พิทักษ์. ภำษำไทย หลักกำรใช้ภำษำและกำรใช้ภำษำ ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. สมนึก คีรีโต. เปิดโลกอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2538. http://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_5.htm ควำมเป็นมำของอินเตอร์เน็ตhttp://school.obec.go.th/ckn/network2/new_page_4.htm ควำมหมำยอินเทอร์เน็ต http://cid-f83c786d9e00c5a7.spaces.live.com/blog/cns!F83C786D9E00C5A7!180.entryควำมสำคัญของอินเทอร์เน็ต http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html บริกำรต่ำง ๆ บนอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตและกำรศึกษำไทย 1. Baldino, Eduardo N. (1997) Considerations on the impact of theอินเตอร์เน็ตon education http://haas.berkeley.edu/~baldino/ba212/index.html 2. Noam,Eli M. (1995).Electronics and the Dim Future of the University. In Science Volume 270 (October, 1995) pp. 247-249. 3. Prowse, Michael. (1995).ENDANGERED SPECIES in America, 20November 1995 Financial Times. 4. van Vught, F.A. (1997) Information Technology: The Next Stepin the Development of Academic Institutions Presented at the 12May 1997 NUFFIC Seminar on: Virtual Mobility: New Technologies and Internationalisation 5. van der Wende, Marijk. (1997) Virtual Mobility: New Technologies andInternationalisation. In Ninth Annual Conference of the European Association for International Education Boundaries and Bridges in International Education, 20-22 November 1997, Barcelona, Spain. http://www.it.coj.go.th/internetadventage.html ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต http://dek-d.com/board/view.php?id=1300828 โทษของอินเทอร์เน็ต http://blog.eduzones.com/banny/3743