SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ประวัติผู้แต่ง 
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ 
พระบาทสมเด็จพระพุทธ 
เลิศหล้านภาลัย (ร.๒)
ประวัติส่วนตัว 
 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเต็ม 
ว่า พระบาทสมเด็จพระ บรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรี 
สินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช 
รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก 
ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สากลจักร 
วาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์หริหรินทรา ธาดาธิบดี 
ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิก 
ราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ภู 
มิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตา 
มหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว
ผลงานผู้แต่ง 
 ด้านกวีนิพนธ์ 
 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 
ได้รับการยกย่องว่า เป็นยุคทองของวรรณคดีสมัยหนึ่ง 
เลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริญสูงสุด จนมีคากล่าว 
ว่า "ในรัชกาลที่ 2 นัน้ ใครเป็นกวีก็เป็นคนโปรด" กวีที่มี 
ชื่อเสียงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมื่นเจษฎา 
บดินทร์ (รัชกาลที่ 3) สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส 
สุนทรภู่พระยาตรัง
ด้านปฏิมากรรม /ประติมากรรม 
 นอกจากจะทรงส่งเสริมงานช่างด้านหล่อ 
พระพุทธรูปแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า 
นภาลัยยังได้ทรงพระราชอุตสาหะปั้นหุ่นพระพักตร์ 
ของพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก พระ 
ประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม อันเป็น 
พระพุทธรูปที่สาคัญยิ่งองค์หนึ่งไทยด้วยพระองค์ 
เอง ซึ่งลักษณะและทรวดทรงของพระพุทธรูปองค์นี้ 
เป็นแบบอย่างที่ประดิษฐ์คิดค้น ขึน้ใหม่ในรัชกาลที่ 
2 นีเ้อง
ด้านดนตรี 
 กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถใน 
ด้านนีไ้ม่น้อยไปกว่า ด้านละครและฟ้อนรา เครื่องดนตรีที่ทรงถนัดและโปรด 
ปรานคือ ซอสามสาย ซงึ่ซอคู่พระหัตถ์ที่สาคัญได้พระราชทานนามว่า "ซอ 
สายฟ้าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีคือ "เพลง 
บุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลัน (เลื่อน) ลอยฟ้า" แต่ต่อมามักจะเรียกว่า "เพลง 
ทรงพระสุบิน" เพราะเพลงมีนีมี้กาเนิดมาจากพระสุบิน (ฝัน) ของพระองค์เอง 
โดยเล่ากันว่าคืนหนึ่งหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จเข้าที่บรรทม 
แล้วทรงพระสุบินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนที่สวยงามดุจสวรรค์ ณ ที่นั่น มี 
พระจันทร์อันกระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสียงทิพยดนตรีอัน 
ไพเราะยิ่ง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครัน้ทรงตื่นบรรทมก็ยังทรงจดจา 
เพลงนัน้ได้ จึงได้เรียกพนักงานดนตรีมาต่อเพลงนัน้ไว้ และทรงอนุญาตให้นา 
ออกเผยแพร่ได้ เพลงนีจึ้งเป็นที่แพร่หลายและรู้จักกันกว้างขวางมาจนทุก 
วันนี้
แผนผังคาประพันธ์ 
 ลักษณะคาประพันธ์ 
 เรื่องอิเหนานีใ้ช้ลักษณะการแต่งแบบกลอนบทละคร โดยมี 
ลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ แต่วรรคแรกมักจะขึน้ด้วย 
เมื่อนัน้ บัดนัน้ มาจะกล่าวบทไป ฯลฯ เรียกว่าคาขึน้ต้น โดยคา 
ว่า เมื่อนัน้ ใช้กับตัเอกของเรื่องหรือตัวละครกษัตริย์ คาว่า บัดนัน้ 
ใช้กับตัวบทละครสามัญ หรือไม่สาคัญ และคาว่า มาจะกล่าวบท 
ไป ใช้เมื่อขึน้ตอนใหม่ หรือความใหม่ ทัง้นีจ้านวนคาในแต่ละ 
วรรคจะมีไม่เท่ากัน เพราะจะต้องให้เหมาะสมกับท่าราและ 
ทานองเพลง
ฉันทลักษณ์ 
 มีการใช้กลอนบทละคร ซงึ่มีลักษณะดังนี้ 
 ๑.กลอนแต่ละวรรค มีจานวนคาระหว่าง ๗ – ๘ คา 
๒. การสัมผัสในจะมีทัง้สัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระเป็นคู่ ๆ ในแต่ 
ละวรรค ทาให้เกิดเสียงเสนาะขึน้ เช่น 
 ว่าพลางโอบอุ้มอรทัย 
ขึ้นไว้เหนือตักสะพักชม 
เอนองค์ลงแอบแนบน้อง 
เชยปรางพลางประคองสองสม 
คลึงเคล้าเย้ายวนสารวลรมย์ 
เกลียวกลมสมสวาทไม่คลาดคลาย 
กรกอดประทับแล้วรับขวัญ 
อย่าตระหนกอกสนั่นะโฉมฉาย 
ดังสายสุนีวาบปลาบตา
ที่มาของเรื่อง 
 อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาแต่เมื่อครัง้กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดย 
มีที่มาจากนิทานปันหยี ซึ่งเป็นคาสามัญที่ชาวชวาใช้เรียกวรรณคดีที่ 
มีความสาคัญมากเรื่องหนึ่ง คือ อิเหนาปันหยีกรัตปาตี 
 วรรณคดีเรื่องอิเหนา มีเนือ้หาเป็นพงศาวดาร แต่งขึน้เพื่อการ 
เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์ชวาพระองค์หนึ่งซึ่งทรงเป็นนักรบ นัก 
ปกครอง และทรงสร้างความเจริญให้แก่ชวาเป็นอย่างมาก กษัตริย์ 
พระองค์นีท้รงพระนามว่า ไอรลังคะ ครองราชย์อยู่ที่เมืองตาฮา (ดา 
หา) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๕๑๒ กษัตริย์ไอรลังคะทรงมีพระราชธิดา ๑ 
พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่อพระราชธิดาออกผนวช 
เป็นชี กษัตริย์ไอรลังคะจึงทรงแบ่งราชอาณาจักรออกเป็น ๒ ส่วน คือ 
กุเรปัน และดาหา เมื่อพระองค์สนิ้พระชนม์ พระราชโอรสพระองค์โต 
ทรงครองเมื่อกุเรปัน พระราชโอรสพระองค์เล็กครองเมืองดาหา
เนื้อเรื่อง 
 ดินแดนชวาโบราณ มีกษัตริย์วงศ์หนึ่งเรียกว่า วงศ์อสัญแดหวา 
หรือวงศ์เทวา กล่าวกันว่าวงศ์นีมี้พี่น้องสี่องค์ องค์พี่ครองเมือง 
กุเรปัน องค์ที่สองครองเมืองดาหา องค์ที่สามครองเมืองกาหลัง 
และองค์ที่สี่ครองเมืองสิงหัดส่าหรี กษัตริย์วงศ์เทวามีอานุภาพ 
ยิ่งใหญ่ด้วยยศศักดิ์ถือตัวว่าเป็นชนชัน้สูง จึงอภิเษกกันเฉพาะใน 
วงศ์พี่น้อง นอกจากนีทั้ง้สี่เมืองเท่านัน้ที่สามารถแต่งตัง้มเหสีได้ 
๕ องค์ ตามลาดับตาแหน่ง คือ ประไหมสุหรีมะเดหวี มะโต ลิกู 
และเหมาหราหงีแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเมืองหมันหยาซึ่งเป็น 
เมืองเล็กกว่า
โวหารหรือกวีโวหาร 
 อันอิเหนาเอามาทาเป็นคาร้อง 
 
 สาหรับงานการฉลองกองกุศล 
 ครั้งกรุงเก่าเจ้าสตรีเธอนิพนธ์ 
 แต่เรื่องต้นตกหายพลัดพรายไปฯ 
 ร้องเรื่องระเด่นโดย 
 
 บุษบาตุนาหงัน 
 พักพาคูหาบรรณ- 
 พตร่วมฤดีโลม ฯ 
 ว่าพลางโอบอุ้มอรทัย 
 
 ขึ้นไว้เหนือตักสะพักชม 
 เอนองค์ลงแอบแนบน้อง 
 เชยปรางพลางประคองสองสม 
 คลึงเคล้าเย้ายวนสารวลรมย์ 
 
 เกลียวกลมสมสวาทไม่คลาดคลาย 
 กรกอดประทับแล้วรับขวัญ 
 อย่าตระหนกอกสนั่นะโฉมฉาย 
 ฤดีดาลซ่านจับเนตรพราย 
 
 ดังสายสุนีวาบปลาบตา
รสของวรรณคดีที่๔ 
๔. คุณค่าทางด้านการละครและศิลปกรรม 
๔.๑ การละคร บทละครเรื่องอิเหนาเป็น 
ยอดของละครรา เพราะใช้คาประณีต 
ไพเราะ เครื่องแต่งตัวละครงดงาม ท่ารา 
งาม บทเพลงขับร้องและเพลงหน้าพาทย์ 
กลมกลืนกับเนือ้เรื่องและท่ารา จึงนับว่า 
ดีเด่นในศิลปะการแสดงละคร
คาศัพท์ยาก 
 ลาดับ 
 คาศัพท์ 
 คาแปล 
 1 
 บุษบา 
 ดอกไม้ 
 2 
 อภิเษกสมรส 
 แต่งงาน 
 3 
 ตรัส 
 พูด 
 4 
 โอรส 
 บุตรชาย 
 5 
 ธิดา 
 บุตรสาว 
 6 
 ประสูติ 
 เกิด 
 7 
 นิมิต 
 เห็น 
 8 
 พระนาม 
 ชื่อ
ข้อคิด 
 ๑. การเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็นต้องได้ จากในวรรณคดีเรื่อง 
อิเหนานัน้ เราได้ข้อคิดเกี่ยวกับการเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็น 
ต้องได้ ไม่รู้จักระงับความอยากของตน หรือพอใจในสิ่งที่ตนมีแล้ว ซงึ่ 
การกระทาเช่นนีท้าให้เกิดปัญหามากมายตามมา และคนอื่นๆ ก็ 
พลอยเดือดร้อนไปด้วย ดังเช่นในตอนที่อิเหนาได้เห็นนางบุษบาแล้ว 
เกิดหลงรัก อยากได้มาเป็นมเหสีของตน กระนัน้แล้ว อิเหนาจึงหา 
อุบายแย่งชิงนางบุษบา แม้ว่านางจะถูกยกให้จรกาแล้วก็ตาม โดยที่ 
อิเหนาได้ปลอมเป็นจรกาไปลักพาตัวบุษบา แล้วพาไปยังถา้ทองที่ตน 
ได้เตรียมไว้ ซงึ่การกระทาของอิเหนานัน้เป็นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง 
ทาให้ผู้คนเดือดร้อนไปทวั่ พิธีที่เตรียมไว้ก็ต้องล่มเพราะบุษบาหายไป 
อีกทัง้เมืองยังถูกเผา เกิดความเสียหายเพียงเพราะความเอาแต่ใจ 
อยากได้บุษบาของอิเหนานั่นเอง
คุณค่าในวรรณคดี 
๑. คุณค่าในด้านเนือ้เรื่อง บทละครเรื่องอิเหนา 
มีโครงเรื่องและเนือ้เรื่องที่สนุก โครงเรื่องสาคัญ 
เป็นเรื่องการชิงบุษบาระหว่างอิเหนากับจรกา 
เรื่องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนือ้เรื่อง 
สาคัญก็คือ อิเหนาไปหลงรักจินตะหรา ทัง้ที่มี 
คู่หมัน้อยู่แล้วซงึ่ก็คือบุษบา ทาให้เกิดปม 
ปัญหาต่างๆ
ภาพประกอบตัวละคร
บุษบาถูกลมหอบ
ความรู้เพิ่มเติม 
ละครนอก เป็นละครที่สามัญชนเล่นกัน 
เพื่อความสนุกสนาน ตัวละครใช้ชายแสดง 
ล้วนๆ ท่าราและคาร้องเป็นแบบง่ายๆไม่ 
ประณีต เน้นความสนุกสนานเป็นสาคัญ 
ละครนอกใช้บทละครในการแสดงได้ทุก 
เรื่อง ยกเว้นเรื่องรามเกียรต์ิ อุณรุท 
และ อิเหนา
ความรู้เพิ่มเติม 
ละครใน เป็นละครที่เล่นกันใน 
วัง ใช้ผู้หญิงแสดงล้วนๆ ท่าทาง 
งดงาม อ่อนช้อย เครื่องแต่งกาย 
งดงาม คาร้องและทานองเพลง 
ไพเราะ
จัดทำโดย 
นำยธนำกร ถ้ำสูง 
เนิน 
ชนั้มัธยมศึกษำปีที่ 4/4 
เลขที่ 8 
โรงเรียนหนองหงส์

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาThammawat Yamsri
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561ungpao
 

What's hot (20)

อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 

Similar to อิเหนาและโวหาร

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทย
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทยการศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทย
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทยApple Petasen
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพsudchaleom
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพsudchaleom
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรีSumintra Boonsri
 

Similar to อิเหนาและโวหาร (20)

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทย
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทยการศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทย
การศึกที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ไทย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพ
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพ
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 

อิเหนาและโวหาร

  • 1.
  • 3. ประวัติส่วนตัว  พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเต็ม ว่า พระบาทสมเด็จพระ บรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรี สินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สากลจักร วาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิก ราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ภู มิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตา มหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว
  • 4. ผลงานผู้แต่ง  ด้านกวีนิพนธ์  ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็นยุคทองของวรรณคดีสมัยหนึ่ง เลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริญสูงสุด จนมีคากล่าว ว่า "ในรัชกาลที่ 2 นัน้ ใครเป็นกวีก็เป็นคนโปรด" กวีที่มี ชื่อเสียงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมื่นเจษฎา บดินทร์ (รัชกาลที่ 3) สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส สุนทรภู่พระยาตรัง
  • 5. ด้านปฏิมากรรม /ประติมากรรม  นอกจากจะทรงส่งเสริมงานช่างด้านหล่อ พระพุทธรูปแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยยังได้ทรงพระราชอุตสาหะปั้นหุ่นพระพักตร์ ของพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก พระ ประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม อันเป็น พระพุทธรูปที่สาคัญยิ่งองค์หนึ่งไทยด้วยพระองค์ เอง ซึ่งลักษณะและทรวดทรงของพระพุทธรูปองค์นี้ เป็นแบบอย่างที่ประดิษฐ์คิดค้น ขึน้ใหม่ในรัชกาลที่ 2 นีเ้อง
  • 6. ด้านดนตรี  กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถใน ด้านนีไ้ม่น้อยไปกว่า ด้านละครและฟ้อนรา เครื่องดนตรีที่ทรงถนัดและโปรด ปรานคือ ซอสามสาย ซงึ่ซอคู่พระหัตถ์ที่สาคัญได้พระราชทานนามว่า "ซอ สายฟ้าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีคือ "เพลง บุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลัน (เลื่อน) ลอยฟ้า" แต่ต่อมามักจะเรียกว่า "เพลง ทรงพระสุบิน" เพราะเพลงมีนีมี้กาเนิดมาจากพระสุบิน (ฝัน) ของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่าคืนหนึ่งหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จเข้าที่บรรทม แล้วทรงพระสุบินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนที่สวยงามดุจสวรรค์ ณ ที่นั่น มี พระจันทร์อันกระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสียงทิพยดนตรีอัน ไพเราะยิ่ง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครัน้ทรงตื่นบรรทมก็ยังทรงจดจา เพลงนัน้ได้ จึงได้เรียกพนักงานดนตรีมาต่อเพลงนัน้ไว้ และทรงอนุญาตให้นา ออกเผยแพร่ได้ เพลงนีจึ้งเป็นที่แพร่หลายและรู้จักกันกว้างขวางมาจนทุก วันนี้
  • 7. แผนผังคาประพันธ์  ลักษณะคาประพันธ์  เรื่องอิเหนานีใ้ช้ลักษณะการแต่งแบบกลอนบทละคร โดยมี ลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ แต่วรรคแรกมักจะขึน้ด้วย เมื่อนัน้ บัดนัน้ มาจะกล่าวบทไป ฯลฯ เรียกว่าคาขึน้ต้น โดยคา ว่า เมื่อนัน้ ใช้กับตัเอกของเรื่องหรือตัวละครกษัตริย์ คาว่า บัดนัน้ ใช้กับตัวบทละครสามัญ หรือไม่สาคัญ และคาว่า มาจะกล่าวบท ไป ใช้เมื่อขึน้ตอนใหม่ หรือความใหม่ ทัง้นีจ้านวนคาในแต่ละ วรรคจะมีไม่เท่ากัน เพราะจะต้องให้เหมาะสมกับท่าราและ ทานองเพลง
  • 8. ฉันทลักษณ์  มีการใช้กลอนบทละคร ซงึ่มีลักษณะดังนี้  ๑.กลอนแต่ละวรรค มีจานวนคาระหว่าง ๗ – ๘ คา ๒. การสัมผัสในจะมีทัง้สัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระเป็นคู่ ๆ ในแต่ ละวรรค ทาให้เกิดเสียงเสนาะขึน้ เช่น  ว่าพลางโอบอุ้มอรทัย ขึ้นไว้เหนือตักสะพักชม เอนองค์ลงแอบแนบน้อง เชยปรางพลางประคองสองสม คลึงเคล้าเย้ายวนสารวลรมย์ เกลียวกลมสมสวาทไม่คลาดคลาย กรกอดประทับแล้วรับขวัญ อย่าตระหนกอกสนั่นะโฉมฉาย ดังสายสุนีวาบปลาบตา
  • 9. ที่มาของเรื่อง  อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาแต่เมื่อครัง้กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดย มีที่มาจากนิทานปันหยี ซึ่งเป็นคาสามัญที่ชาวชวาใช้เรียกวรรณคดีที่ มีความสาคัญมากเรื่องหนึ่ง คือ อิเหนาปันหยีกรัตปาตี  วรรณคดีเรื่องอิเหนา มีเนือ้หาเป็นพงศาวดาร แต่งขึน้เพื่อการ เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์ชวาพระองค์หนึ่งซึ่งทรงเป็นนักรบ นัก ปกครอง และทรงสร้างความเจริญให้แก่ชวาเป็นอย่างมาก กษัตริย์ พระองค์นีท้รงพระนามว่า ไอรลังคะ ครองราชย์อยู่ที่เมืองตาฮา (ดา หา) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๕๑๒ กษัตริย์ไอรลังคะทรงมีพระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่อพระราชธิดาออกผนวช เป็นชี กษัตริย์ไอรลังคะจึงทรงแบ่งราชอาณาจักรออกเป็น ๒ ส่วน คือ กุเรปัน และดาหา เมื่อพระองค์สนิ้พระชนม์ พระราชโอรสพระองค์โต ทรงครองเมื่อกุเรปัน พระราชโอรสพระองค์เล็กครองเมืองดาหา
  • 10. เนื้อเรื่อง  ดินแดนชวาโบราณ มีกษัตริย์วงศ์หนึ่งเรียกว่า วงศ์อสัญแดหวา หรือวงศ์เทวา กล่าวกันว่าวงศ์นีมี้พี่น้องสี่องค์ องค์พี่ครองเมือง กุเรปัน องค์ที่สองครองเมืองดาหา องค์ที่สามครองเมืองกาหลัง และองค์ที่สี่ครองเมืองสิงหัดส่าหรี กษัตริย์วงศ์เทวามีอานุภาพ ยิ่งใหญ่ด้วยยศศักดิ์ถือตัวว่าเป็นชนชัน้สูง จึงอภิเษกกันเฉพาะใน วงศ์พี่น้อง นอกจากนีทั้ง้สี่เมืองเท่านัน้ที่สามารถแต่งตัง้มเหสีได้ ๕ องค์ ตามลาดับตาแหน่ง คือ ประไหมสุหรีมะเดหวี มะโต ลิกู และเหมาหราหงีแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเมืองหมันหยาซึ่งเป็น เมืองเล็กกว่า
  • 11. โวหารหรือกวีโวหาร  อันอิเหนาเอามาทาเป็นคาร้อง   สาหรับงานการฉลองกองกุศล  ครั้งกรุงเก่าเจ้าสตรีเธอนิพนธ์  แต่เรื่องต้นตกหายพลัดพรายไปฯ  ร้องเรื่องระเด่นโดย   บุษบาตุนาหงัน  พักพาคูหาบรรณ-  พตร่วมฤดีโลม ฯ  ว่าพลางโอบอุ้มอรทัย   ขึ้นไว้เหนือตักสะพักชม  เอนองค์ลงแอบแนบน้อง  เชยปรางพลางประคองสองสม  คลึงเคล้าเย้ายวนสารวลรมย์   เกลียวกลมสมสวาทไม่คลาดคลาย  กรกอดประทับแล้วรับขวัญ  อย่าตระหนกอกสนั่นะโฉมฉาย  ฤดีดาลซ่านจับเนตรพราย   ดังสายสุนีวาบปลาบตา
  • 12. รสของวรรณคดีที่๔ ๔. คุณค่าทางด้านการละครและศิลปกรรม ๔.๑ การละคร บทละครเรื่องอิเหนาเป็น ยอดของละครรา เพราะใช้คาประณีต ไพเราะ เครื่องแต่งตัวละครงดงาม ท่ารา งาม บทเพลงขับร้องและเพลงหน้าพาทย์ กลมกลืนกับเนือ้เรื่องและท่ารา จึงนับว่า ดีเด่นในศิลปะการแสดงละคร
  • 13. คาศัพท์ยาก  ลาดับ  คาศัพท์  คาแปล  1  บุษบา  ดอกไม้  2  อภิเษกสมรส  แต่งงาน  3  ตรัส  พูด  4  โอรส  บุตรชาย  5  ธิดา  บุตรสาว  6  ประสูติ  เกิด  7  นิมิต  เห็น  8  พระนาม  ชื่อ
  • 14. ข้อคิด  ๑. การเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็นต้องได้ จากในวรรณคดีเรื่อง อิเหนานัน้ เราได้ข้อคิดเกี่ยวกับการเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็น ต้องได้ ไม่รู้จักระงับความอยากของตน หรือพอใจในสิ่งที่ตนมีแล้ว ซงึ่ การกระทาเช่นนีท้าให้เกิดปัญหามากมายตามมา และคนอื่นๆ ก็ พลอยเดือดร้อนไปด้วย ดังเช่นในตอนที่อิเหนาได้เห็นนางบุษบาแล้ว เกิดหลงรัก อยากได้มาเป็นมเหสีของตน กระนัน้แล้ว อิเหนาจึงหา อุบายแย่งชิงนางบุษบา แม้ว่านางจะถูกยกให้จรกาแล้วก็ตาม โดยที่ อิเหนาได้ปลอมเป็นจรกาไปลักพาตัวบุษบา แล้วพาไปยังถา้ทองที่ตน ได้เตรียมไว้ ซงึ่การกระทาของอิเหนานัน้เป็นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทาให้ผู้คนเดือดร้อนไปทวั่ พิธีที่เตรียมไว้ก็ต้องล่มเพราะบุษบาหายไป อีกทัง้เมืองยังถูกเผา เกิดความเสียหายเพียงเพราะความเอาแต่ใจ อยากได้บุษบาของอิเหนานั่นเอง
  • 15. คุณค่าในวรรณคดี ๑. คุณค่าในด้านเนือ้เรื่อง บทละครเรื่องอิเหนา มีโครงเรื่องและเนือ้เรื่องที่สนุก โครงเรื่องสาคัญ เป็นเรื่องการชิงบุษบาระหว่างอิเหนากับจรกา เรื่องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนือ้เรื่อง สาคัญก็คือ อิเหนาไปหลงรักจินตะหรา ทัง้ที่มี คู่หมัน้อยู่แล้วซงึ่ก็คือบุษบา ทาให้เกิดปม ปัญหาต่างๆ
  • 17.
  • 19.
  • 20. ความรู้เพิ่มเติม ละครนอก เป็นละครที่สามัญชนเล่นกัน เพื่อความสนุกสนาน ตัวละครใช้ชายแสดง ล้วนๆ ท่าราและคาร้องเป็นแบบง่ายๆไม่ ประณีต เน้นความสนุกสนานเป็นสาคัญ ละครนอกใช้บทละครในการแสดงได้ทุก เรื่อง ยกเว้นเรื่องรามเกียรต์ิ อุณรุท และ อิเหนา
  • 21. ความรู้เพิ่มเติม ละครใน เป็นละครที่เล่นกันใน วัง ใช้ผู้หญิงแสดงล้วนๆ ท่าทาง งดงาม อ่อนช้อย เครื่องแต่งกาย งดงาม คาร้องและทานองเพลง ไพเราะ
  • 22. จัดทำโดย นำยธนำกร ถ้ำสูง เนิน ชนั้มัธยมศึกษำปีที่ 4/4 เลขที่ 8 โรงเรียนหนองหงส์