SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
-เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
-เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools)
-เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool)
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Machines) ที่สร้างจาก
พลาสติก แร่ธาตุต่างๆ ชิป และขดลวด คอมพิวเตอร์
เป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่มีความสามารถในการ
คํานวณอัตโนมัติตามคําสั่ง ในปัจจุบัน
นักวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้พัฒนาสมรรถนะ
และความสามารถของคอมพิวเตอร์ให้มีศักยภาพ
สูงขึ้น โดยกลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ทางคอมพิวเตอร์ เช่น
IBM Apple และ Microsoft เป็นต้น
ส่วนประกอบและหลักการทางานของ
คอมพิวเตอร์
-ส่วนนําเข้า (Input unit)
-ส่วนประมวลผลกลาง (Central processing unit)
-ส่วนแสดงผลข้อมูล (Output Unit)
คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทาง
ปั
คอมพิวเตอร์ได้พัฒนาในช่วงศตวรรษนี้เพื่อการคํานวณ การเก็บ
รักษาและการสื่อสาร สารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ และได้
พัฒนาความซับซ้อนของการทํางานเพิ่มขึ้น หากแต่เครื่องมือนั้นควร
ต้องส่งเสริมศักยภาพภายในของมนุษย์ ซึ่งก็คือ เครื่องมือทาง
ปัญญา (Cognitive tools) เป็นเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีที่มี
ลักษณะที่เป็นเพื่อนทางปัญญา ที่สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว
รวมทั้งช่วยขยายฟังชั่นก์การทางานกระบวนการรู้คิด (Cognitive
processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทาการคิด แก้ปัญหา และการ
เรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือทางปัญญาใน
ลักษณะการสร้างความรู้มากกว่าการจดจําความรู้
กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย บทบาทของคอมพิวเตอร์
ในฐานะเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทางานประจาต่างๆ
เกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทํา
รายงาน การคิดคํานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งเป็นการใช้คอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียน
การสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน (Transmit Knowledge) เช่น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์
เป็นฐาน เป็นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน เมื่อหน้าที่ของ
คอมพิวเตอร์คือผู้เรียน บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้สอนและ
บทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียนการใช้คอมพิวเตอร์
เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended
approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการ
สร้างความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้
คอมพิวเตอร์
นายธวัช ปะธิเก คณิตศาสตรศึกษา553050078-4

More Related Content

Viewers also liked

Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Nidnoy Thanyarat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
Nisachol Poljorhor
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
oraya-s
 

Viewers also liked (10)

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to Concept map 5

บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
primpatcha
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
pui3327
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Arrat Krupeach
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
vgame_emagv
 
Computer
ComputerComputer
Computer
nuting
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 

Similar to Concept map 5 (20)

บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
K2(1)
K2(1)K2(1)
K2(1)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
2
22
2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
K2
K2K2
K2
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 

Concept map 5

  • 1. -เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) -เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) -เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประวัติและพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Machines) ที่สร้างจาก พลาสติก แร่ธาตุต่างๆ ชิป และขดลวด คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่มีความสามารถในการ คํานวณอัตโนมัติตามคําสั่ง ในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้พัฒนาสมรรถนะ และความสามารถของคอมพิวเตอร์ให้มีศักยภาพ สูงขึ้น โดยกลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ทางคอมพิวเตอร์ เช่น IBM Apple และ Microsoft เป็นต้น ส่วนประกอบและหลักการทางานของ คอมพิวเตอร์ -ส่วนนําเข้า (Input unit) -ส่วนประมวลผลกลาง (Central processing unit) -ส่วนแสดงผลข้อมูล (Output Unit) คอมพิวเตอร์กับเครื่องมือทาง ปั คอมพิวเตอร์ได้พัฒนาในช่วงศตวรรษนี้เพื่อการคํานวณ การเก็บ รักษาและการสื่อสาร สารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ และได้ พัฒนาความซับซ้อนของการทํางานเพิ่มขึ้น หากแต่เครื่องมือนั้นควร ต้องส่งเสริมศักยภาพภายในของมนุษย์ ซึ่งก็คือ เครื่องมือทาง ปัญญา (Cognitive tools) เป็นเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีที่มี ลักษณะที่เป็นเพื่อนทางปัญญา ที่สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว รวมทั้งช่วยขยายฟังชั่นก์การทางานกระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทาการคิด แก้ปัญหา และการ เรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือทางปัญญาใน ลักษณะการสร้างความรู้มากกว่าการจดจําความรู้ กรอบแนวคิดสาคัญของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย บทบาทของคอมพิวเตอร์ ในฐานะเป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทางานประจาต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทํา รายงาน การคิดคํานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียน การสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน (Transmit Knowledge) เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ เป็นฐาน เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน เมื่อหน้าที่ของ คอมพิวเตอร์คือผู้เรียน บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้สอนและ บทบาทของคอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียนการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการ สร้างความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้ คอมพิวเตอร์ นายธวัช ปะธิเก คณิตศาสตรศึกษา553050078-4