SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ระบบคอมพิวเตอร


                                             บทที่ 1
                                         ระบบคอมพิวเตอร

         คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทที่สําคัญยิ่งตอสังคมของมนุษยเราในปจจุบัน          แทบทุกวงการลวนนํา
คอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของกับการใชงาน จนกลาวไดวาคอมพิวเตอรเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งตอการดําเนิน
ชีวิตและการทํางานในชีวิตประจําวัน ฉะนั้นการเรียนรูเพื่อทําความรูจักกับคอมพิวเตอรจึงถือเปนสิ่งที่มีความจํา
เปนเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะทราบวาคอมพิวเตอรคืออะไร ทํางานอยางไร และมีความสําคัญตอมนุษยอยางไร เรา
จึงควรทําการศึกษาในหัวขอตอไปนี้

1.1 บทนํา
          คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทํา
หนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร"




                                     รูปที่ 1.1 แสดงไมโครคอมพิวเตอร

         คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิด
คํานวณและสามารถจําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานในครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังสามารถ
จัดการกับสัญลักษณไดดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถใน
ดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและ
สามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได

        1.1.1 ขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะ
การทํางานของสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีองคประกอบพื้นฐานหลัก คือ Input
Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทํางานดังรูปที่ 1.2

            Input                              Process                            Output

           รับขอมูล                          ประมวลผล                            แสดงขอมูล
                             รูปที่ 1.2 แสดงขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร


                                                     -1-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร



                                  หนวยควบคุม                 หนวยคํานวณ


       หนวยรับขอมูล                                                                    หนวยแสดงผล

                                                หนวยความจําหลัก



ขั้นตอนที่ 1: รับขอมูลเขา (Input)
           เริ่มตนดวยการนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถผานทางอุปกรณชนิดตางๆ แลวแตชนิดของ
ขอมูลที่จะปอนเขาไป เชน ถาเปนการพิมพขอมูลจะใชแผงแปนพิมพ (Keyboard) เพื่อพิมพขอความหรือ
โปรแกรมเขาเครื่อง ถาเปนการเขียนภาพจะใชเครื่องอานพิกัดภาพกราฟก (Graphics Tablet) โดยมีปากกา
ชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถาเปนการเลนเกมก็จะมีกานควบคุม (Joystick) สําหรับเคลื่อนตําแหนงของ
การเลนบนจอภาพ เปนตน

ขั้นตอนที่ 2: ประมวลผลขอมูล (Process)
           เมื่อนําขอมูลเขามาแลว    เครื่องจะดําเนินการกับขอมูลตามคําสั่งที่ไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่
ตองการ การประมวลผลอาจจะมีไดหลายอยาง เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดกลุม
นําขอมูลมาหาคามากที่สุด หรือนอยที่สุด เปนตน

ขั้นตอนที่ 3: แสดงผลลัพธ (Output)
           เปนการนําผลลัพธจากการประมวลผลมาแสดงใหทราบทางอุปกรณที่กําหนดไว โดยทั่วไปจะแสดง
ผานทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา "จอมอนิเตอร" (Monitor) หรือจะพิมพขอมูลออกทางกระดาษโดยใช
เครื่องพิมพก็ได

          1.1.2 ลักษณะเดนของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหมีจุดเดน 4 ประการ
เพื่อทดแทนขอจํากัดของมนุษย เรียกวา 4 S special ดังนี้
          1. หนวยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บขอมูลจํานวนมากและเปนเวลานาน นับ
เปนจุดเดนทางโครงสรางและเปนหัวใจของการทํางานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งเปนตัวบงชี้ประ
สิทธิภาพของคอมพิวเตอรแตละเครื่องดวย
          2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูล (Processing Speed)
โดยใชเวลานอย        เปนจุดเดนทางโครงสรางที่ผูใชทั่วไปมีสวนเกี่ยวของนอยที่สุด เปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของ
เครื่องคอมพิวเตอรที่สําคัญสวนหนึ่งเชนกัน
          3. ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูลตามลําดับขั้น
ตอนไดอยางถูกตองและตอเนื่องอยางอัตโนมัติ โดยมนุษยมีสวนเกี่ยวของเฉพาะในขั้นตอนการกําหนดโปรแกรม
คําสั่งและขอมูลกอนการประมวลผลเทานั้น


                                                        -2-                           มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                          #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


           4. ความนาเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลใหเกิดผลลัพธที่ถูกตอง ความนา
เชื่อถือนับเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ความสามารถนี้เกี่ยวของกับโปรแกรมคําสั่ง
และขอมูลที่มนุษยกําหนดใหกับเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง กลาวคือ หากมนุษยปอนขอมูลที่ไมถูกตองใหกับ
เครื่องคอมพิวเตอรก็ยอมไดผลลัพธที่ไมถูกตองดวยเชนกัน

             1.1.3 ประโยชนของคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํา
มาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพ
เอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล ( word processing ) นอก
จากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีกหลายดาน ดังตอไปนี้
                      1. งานธุรกิจ เชน บริษัท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรใน
การทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาห
กรรม สวนใหญก็ใชคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน
โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอน
เงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกับผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวาง
บัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย
                      2. งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามา
ใชในสวนของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสู
อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวา
การตรวจดวยวิธีเคมีแบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น
                      3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวัน
เวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ
อีกทั้งยังใชในการควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสาร
ก็ใชควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมี
ความชัดเจน
                      4. งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการ
ออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดย
คอมพิวเตอรจะคํานวณและแสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความ
กาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน
                      5. งานราชการ เปนหนวยงานที่มีการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับบทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผาน
คอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบัน
ตางๆ, กรมสรรพากร ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน
                      6. การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอร
มาชวยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การ
เก็บขอมูลยืมและการสงคืนหนังสือหองสมุด


                                                    -3-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


1.2 ประวัติความเปนของคอมพิวเตอร
          คอมพิวเตอรที่เราใชกันอยูทุกวันนี้เปนผลมาจากการประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการคํานวณ   ซึ่งมี
วิวัฒนาการนานมาแลว เริ่มจากเครื่องมือในการคํานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สรางขึ้นในประเทศ
จีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปมาแลว
          จนกระทั่งในป พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ชื่อ ชารล แบบเบจ (Charles Babbage) ได
ประดิษฐเครื่องวิเคราะห (Analytical Engine) สามารถคํานวณคาของตรีโกณมิติ ฟงกชั่นตางๆ ทางคณิตศาสตร
การทํางานของเครื่องนี้แบงเปน 3 สวน คือ สวนเก็บขอมูล สวนคํานวณ และสวนควบคุม ใชระบบพลังเครื่อง
ยนตไอน้ําหมุนฟนเฟอง มีขอมูลอยูในบัตรเจาะรู คํานวณไดโดยอัตโนมัติ และเก็บขอมูลในหนวยความจํา กอน
จะพิมพออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ไดนํามาพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรสมัยใหม เราจึง
ยกยองใหแบบเบจเปน บิดาแหงเครื่องคอมพิวเตอร
          หลังจากนั้นเปนตนมา ไดมีผูประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นมามากมายหลายขนาด ทําใหเปนการเริ่ม
ยุคของคอมพิวเตอรอยางแทจริง โดยสามารถจัดแบงคอมพิวเตอรออกไดเปน 5 ยุค
          - ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501
          - ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506
          - ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512
          - ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532
          - ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน

          ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501
          เปนการประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่มิใชเครื่องคํานวณ โดยเมาชลีและเอ็กเคอรต (Mauchly and
Eckert)          ไดนําแนวความคิดนั้นมาประดิษฐเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกวา
ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่งตอมาไดทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และไดประดิษฐเครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้น
เพื่อใชในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําป




                                            รูปที่ 1.3 แสดงเครื่อง ENIAC



                                                    -4-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                     #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


           จึงนับไดวา UNIVAC เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกที่ถูกใชงานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเปนการ
เริ่มของเครื่องคอมพิวเตอรในยุคแรกอยางแทจริง เครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสุญญากาศในการควบคุม
การทํางานของเครื่อง ซึ่งทํางานไดอยางรวดเร็ว แตมีขนาดใหญมากและราคาแพง ยุคแรกของคอมพิวเตอรสิ้น
สุดเมื่อมีผูประดิษฐทรานซิสเตอรมาใชแทนหลอดสุญญากาศ




                                        รูปที่ 1.4 หลอดสุญญากาศ

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 1
    • ใชอุปกรณ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เปนสวนประกอบหลัก ทําใหตัวเครื่องมีขนาดใหญ ใช
       พลังงานไฟฟามาก และเกิดความรอนสูง
    • ทํางานดวยภาษาเครื่อง (Machine Language) เทานั้น
    • เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใชงาน


         ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506
         มีการนําทรานซิสเตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจึงทําใหเครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประ
สิทธิภาพในการทํางานใหมีความรวดเร็วและแมนยํามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังไดมีการคิดภาษาเพื่อใชกับ
เครื่องคอมพิวเตอรเชน ภาษาฟอรแทน (FORTRAN) จึงทําใหงายตอการเขียนโปรแกรมสําหรับใชกับเครื่อง




                                      รูปที่ 1.5 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สอง




                                                    -5-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 2
          1. ใชอุปกรณ ทรานซิสเตอร (Transistor) ซึ่งสรางจากสารกึ่งตัวนํา (Semi-Conductor) เปนอุปกรณ
หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอรเพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทํางานเทียบเทาหลอด
สุญญากาศไดนับรอยหลอด ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใชพลังงานไฟฟานอย ความรอนต่ํา
ทํางานเร็ว และไดรับความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
          2. เก็บขอมูลได โดยใชสวนความจําวงแหวนแมเหล็ก (Magnetic Core)
          3. มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS)
          4. สั่งงานไดสะดวกมากขึ้น เนื่องจากทํางานดวยภาษาสัญลักษณ (Assembly Language)
          5. เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใชงานในยุคนี้




                                        รูปที่ 1.6 แสดงทรานซิสเตอร

           ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512
           คอมพิวเตอรในยุคนี้เริ่มตนภายหลังจากการใชทรานซิสเตอรไดเพียง 5 ป เนื่องจากไดมีการประดิษฐ
คิดคนเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันยอๆ วา "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทําใหสวนประกอบและวง
จรตางๆ สามารถวางลงไดบนแผนชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผนเดียว จึงมีการนําเอาแผนชิปมาใชแทน
ทรานซิสเตอรทําใหประหยัดเนื้อที่ไดมาก




                                    รูปที่ 1.7 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สาม

        นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใชงานระบบจัดการฐานขอมูล (Data Base Management Systems: DBMS)
และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถทํางานรวมกันไดหลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผูใช
สามารถโตตอบกับเครื่องไดหลายๆ คน พรอมๆ กัน (Time Sharing)
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 3


                                                     -6-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                      #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


    • ใชอุปกรณ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale
      Integration : LSI) เปนอุปกรณหลัก
    • ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในลานของวินาที (Microsecond : mS) (สูง
      กวาเครื่องคอมพิวเตอรในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เทา) ทํางานไดดวยภาษาระดับสูงทั่วไป




                                         รูปที่ 1.8 แสดงรูป IC

          ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532
          เปนยุคที่นําสารกึ่งตัวนํามาสรางเปนวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated: VLSI)
ซึ่งสามารถยอสวนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเขามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ ไมโครโพรเซสเซอร
(Microprocessor) ขึ้น ทําใหเครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทํางานสูงและรวดเร็วมาก
จึงทําใหมีคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคนี้




                                   รูปที่ 1.9 แสดงภาพของไมโครคอมพิวเตอร

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 4
    • ใชอุปกรณ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ
       มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เปนอุปกรณหลัก
    • มีความเร็วในการประมวลผลแตละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันลานวินาที (Nanosecond : nS) และ
       พัฒนาตอมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแตละคําสั่ง           ประมาณหนึ่งในลานลานของวินาที
       (Picosecond : pS)




                                        รูปที่ 1.10 แสดงภาพซีพียูของไมโครคอมพิวเตอร


                                                  -7-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


          ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน
          ในยุคนี้ ไดมุงเนนการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของระบบคอมพิวเตอร และ ความสะดวก
สบายในการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร อยางชัดเจน มีการพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเล็ก
ขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใชงานในยุคนี้
          โครงการพัฒนาอุปกรณ VLSI ใหใชงานงาย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนา
เกี่ยวกับ ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) เปนหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรในยุคนี้ โดย
หวังใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู สามารถวิเคราะหปญหาดวยเหตุผล

องคประกอบของระบบปญญาประดิษฐ ประกอบดวย 4 หัวขอ ไดแก
         1. ระบบหุนยนต หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือหุนจําลองรางกายมนุษยที่ควบคุม
การทํางานดวยเครื่องคอมพิวเตอร มีจุดประสงคเพื่อใหทํางานแทนมนุษยในงานที่ตองการความเร็ว หรือเสี่ยง
อันตราย เชน แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุนยนตกูระเบิด เปนตน




                                รูปที่ 1.11 แสดงภาพแขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม

         2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) คือ การพัฒนาใหระบบ
คอมพิวเตอรสามารถสังเคราะหเสียงที่มีอยูในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย เชน เครื่อง
คิดเลขพูดได (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได (Talking Clock) เปนตน




                        รูปที่ 1.12 แสดงเครื่องคิดเลขพูดไดและนาฬิกาปลุกพูดได

         3. การรูจําเสียงพูด (Speech Recognition System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรเขาใจภาษา
มนุษย และสามารถจดจําคําพูดของมนุษยไดอยางตอเนื่อง กลาวคือเปนการพัฒนาใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน
ไดดวยภาษาพูด เชน งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพเอกสารสําหรับผูพิการ เปนตน




                                                  -8-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                  #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


         4. ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู รูจักใชเหตุผลใน
การวิเคราะหปญหา โดยใชความรูที่มี หรือจากประสบการณในการแกปญหาหนึ่ง ไปแกไขปญหาอื่นอยางมีเหตุ
ผล ระบบนี้จําเปนตองอาศัยฐานขอมูล (Database) ซึ่งมนุษยผูมีความรูความสามารถเปนผูกําหนดองคความรู
ไวในฐานขอมูลดังกลาว เพื่อใหระบบคอมพิวเตอรสามารถวิเคราะหปญหาตางๆ ไดจากฐานความรูนั้น เชน
เครื่องคอมพิวเตอรวิเคราะหโรค หรือเครื่องคอมพิวเตอรทํานายโชคชะตา เปนตน

1.3 ประเภทของคอมพิวเตอร
         จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรใหเลือกใชมากมายหลายรูปแบบตามความ
ตองการของผูใช
         การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุมหลัก ดังนี้
         1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล
         1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน
         1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ

             1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล จําแนกไดเปน 3 ประเภท คือ
                     1. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลขอมูล
ที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใชขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่อง (Continuous
Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวา Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มักแสดงผลดวย
สเกลหนาปด และเข็มชี้ เชน การวัดคาความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไมบรรทัด การวัดคาความรอนจาก
การขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลขางหลอดแกว
             นอกจากนี้ยังมีตัวอยางของ Analog Computer ที่ใชการประมวลผลแบบเปนขั้นตอน เชน เครื่องวัด
ปริมาณการใชน้ําดวยมาตรวัดน้ํา ที่เปลี่ยนการไหลของน้ําใหเปนตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณวัดความเร็วของ
รถยนตในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่นสมองที่แสดงผลเปนรูปกราฟ เปนตน
                     2. คอมพิวเตอรแบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน
ทั่วๆ ไปนั่นเอง เปนเครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลง
แบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณขอ
มูลที่เปนจังหวะดวยตัวนับ (Counter) ภายใตระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําใหผลลัพธเปนที่นา
เชื่อถือ ทั้งสามารถนับขอมูลใหคาความละเอียดสูง เชนแสดงผลลัพธเปนทศนิยมไดหลายตําแหนง เปนตน
เนื่องจาก Digital Computer ตองอาศัยขอมูลที่เปนสัญญาณไฟฟา (มนุษยสัมผัสไมได) ทําใหไมสามารถรับขอ
มูลจากแหลงขอมูลตนทางไดโดยตรง จึงจําเปนตองเปลี่ยนขอมูลตนทางที่รับเขา (Analog Signal) เปนสัญญาณ
ไฟฟา (Digital Signal) เสียกอน เมื่อประมวลผลเรียบรอยแลวจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟากลับไปเปน Analog
Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษยตอไป
             โดยสวนประกอบสําคัญที่เรียกวา ตัวเปลี่ยนสัญญาณขอมูล (Converter) คอยทําหนาที่ในการเปลี่ยน
รูปแบบของสัญญาณขอมูล ระหวาง Digital Signal กับ Analog Signal


                                                  -9-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


                   3. คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เครื่องประมวลผลขอมูลที่อาศัยเทคนิค
การทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใชในงานเฉพาะกิจ
โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่องคอมพิวเตอรในยานอวกาศ ที่ใช Analog Computer ควบคุมการ
หมุนของตัวยาน และใช Digital Computer ในการคํานวณระยะทาง เปนตน การทํางานแบบผสมผสานของ
คอมพิวเตอรชนิดนี้ ยังคงจําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เชนเดิม

           1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน จําแนกไดเปน 2 ประเภท
                   1. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่อง
ประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม            ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ
(Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชนเครื่อง
คอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติในรถ
ยนต เปนตน
                   2. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานอเนกประสงค (General Purpose Computer) หมายถึง
เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถประยุกตใช
ในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใชตองการ
ใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ
เก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยว
กับระบบบัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน

         1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดย
พิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เปนหลัก ดังนี้
                 1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความ
สามารถในการประมวลผลสูงที่สุด           โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะเพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการ
ประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อ
สารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน
                 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มี
สวนความจําและความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและคําสั่งของเครื่องรุนอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได
โดยไมตองดัดแปลงแกไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบเครือขาย (Network) ไดเปนอยางดี โดย
สามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณที่เรียกวา เครื่องปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได สามารถทํางานไดพรอมกัน
หลายงาน (Multi Tasking) และใชงานไดพรอมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใชในธุรกิจขนาด
ใหญ มีราคาตั้งแตสิบลานบาทไปจนถึงหลายรอยลานบาท ตัวอยางของเครื่องเมนเฟรมที่ใชกันแพรหลายก็คือ
คอมพิวเตอรของธนาคารที่เชื่อมตอไปยังตู ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
                 3. มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) ธุรกิจและหนวยงานที่มีขนาดเล็กไมจําเปนตองใช
คอมพิวเตอรขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคา
ถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มี


                                                  -10-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                   #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


ความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอาน
เขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หาง
สรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ
                   4. ไมโครคอมพิวเตอร (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มี
สวนของหนวยความจําและความเร็วในการประมวลผลนอยที่สุด สามารถใชงานไดดวยคนเดียว จึงมักถูกเรียก
วา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer: PC) ปจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงกวาใน
สมัยกอนมาก อาจเทากับหรือมากกวาเครื่องเมนเฟรมในยุคกอน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเปนที่
นิยมใชมาก ทั้งตามหนวยงานและบริษัทหางราน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบานเรือน บริษัทที่ผลิต
ไมโครคอมพิวเตอรออกจําหนายจนประสบความสําเร็จเปนบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร เครื่องไม
โครคอมพิวเตอร จําแนกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
              - แบบติดตั้งใชงานอยูกับที่บนโตะทํางาน (Desktop Computer)
              - แบบเคลื่อนยายได (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจาก
                   แบตเตอรี่จากภายนอก สวนใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงานวา Laptop Computer
                   หรือ Notebook Computer

1.4 องคประกอบของคอมพิวเตอร
        ในความเปนจริงแลว ตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของ
ระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถาตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิ
ภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรวมกัน ซึ่ง
องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย
        1.4.1 ฮารดแวร (Hardware)
        1.4.2 ซอฟตแวร (Software)
        1.4.3 บุคลากร (Peopleware)
        1.4.4 ขอมูล (Data)

         1.4.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะ
เปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่ง
สามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตามลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวย
ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง
(Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่การทํางานแตกตางกัน




                                                   -11-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร




                                           รูปที่ 1.13 แสดงรูปฮารดแวร

          หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ซึ่งเปนชิปซิลิกอน หรือวงจรรวม (Integrated
circuit หรือ IC) ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ หนวยควบคุม (Control Unit) และหนวยคํานวณและตรรกะ
(Arithmetic/Logic Unit หรือ ALU)
          CU ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทุกสวน เชน สวนรับขอมูล ประมวลผล แสดงผล การ
จัดเก็บขอมูล สวนนี้ถือเปนหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร
          ALU ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร (บวก ลบ คูณ หาร) และเปรียบเทียบทางตรรกะของขอมูล
(มากกวา นอยกวา หรือเทากับ)
          การทํางานของหนวยประมวลกลาง จะมีรีจิสเตอร (Register) ซึ่งเปนแหลงเก็บขอมูลชั่วคราวที่ชวยให
ซีพียูสามารถดึงขอมูลไปประมวลผลไดเร็วกวาหนวยความจําธรรมดา
          หนวยความจําหลัก เปนวงจรรวมหรือชิปที่ใชบันทึกโปรแกรมและขอมูล หนวยความจําหลักจะบรรจุอยู
บนเมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก หนวยความจําบางประเภทก็ถูกออกแบบใหอยูในชิปซีพียูเลย
          หนวยความจําหลักที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง มี 3 ประเภท คือ RAM ROM และ CMOS
          1. RAM (Random Access memory)เปนอุปกรณหรือแผงวงจรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรม
คอมพิวเตอร ซึ่งบางครั้งเรียกวา หนวยความจําชั่วคราว (Volatile) เนื่องจากโปรแกรมหรือขอมูลที่ถูกเก็บใน
หนวยความจําแรมจะถูกลบหายไปเมื่อปดเครื่องคอมฯ หรือไฟดับ




                                                  -12-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                   #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร




                                      รูปที่ 1.14 แสดงหนวยความจําแรม

           RAM ที่ นิ ย มใช ใ นป จ จุ บั น นี้ แ บ ง เป น 2 ประเภทคื อ Static RAM (SRAM) และ Dynamic RAM
(DRAM)
         SRAM เป น หน ว ยความจํ า ที่ นิ ย มใช เป น หน ว ยความจํ า แคช (cache memory) 1 เพราะ SRAM มี
ความเร็วสูงกวา DRAM
         DRAM หนวยความจําที่นํามาใชงานกันในปจจุบันสวนใหญจะเปน DRAM ซึ่งเปนหนวยความจําที่มี
ความเร็ ว อยู ร ะหว า ง 10-100 nanoseconds ซึ่ ง ชนิ ด ของ DRAM เช น EDO RAM (extended data output
RAM) SDRAM (Synchronous DRAM)

          2. ROM (read only memory) เปนหนวยความจําที่บันทึกขอสนเทศและคําสั่งเริ่มตน (Start up)
ของระบบ คุณสมบัติที่เดนคือ ขอมูลและคําสั่งจะไมถูกลบหายไป ถึงแมจะปดเครื่อง หรือไมมีกระแสไฟฟาหลอ
เลี้ยงแลวก็ตาม ซึ่งขอมูลหรือคําสั่งที่จัดเก็บในหนวยความจํารอม สวนใหญจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผูผลิต
เครื่องคอมฯ และขอมูลเหลานี้จะไมสามารถลบหรือแกไขได แตสามารถอานได เรียกวา PROM
(Programmable read only memory)

          3. CMOS :complementary metal-oxide semiconductor เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอสนเทศที่
ใชเปนประจําของระบบคอมพิวเตอร เชน ประเภทของแปนพิมพ เมาส จอภาพ และเครื่องอานแผนดิสก CMOS
จะใชกระแสไฟจากแบตเตอรี่ ดังนั้นเมื่อปดเครื่อง ขอสนเทศใน CMOS จึงไมสูญหาย ลักษณะเดนคือ ขอสนเทศ
ที่บันทึกใน CMOS สามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณใหกับเครื่องคอมพิวเตอร เชน การเพิ่ม
RAM และฮารดแวรอื่นๆ

           หนวยความจําสํารอง (SECONDARY STORAGE UNIT)
               - จานแมเหล็ก (magnetic disk storage)
               - floppy disks
               - hard disks
               - ออปติคัลดิสก (optical disks)
               - เทปแมเหล็ก (magnetic tape)
               - คารทริดจเทป (cartridge tape) สํารองขอมูลมีความจุ 120 MB –5 GB
               - มวนเทปแมเหล็ก (magnetic tape reels)

1
    หนวยความจําแคช คือ หนวยความจําแรมที่ชวยเพิ่มความเร็วใหกับอุปกรณคอมพิวเตอร เชน เครื่องพิมพ

                                                    -13-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


        หนวยรับขอมูล หนวยรับขอมูลในระบบคอมพิวเตอร มีหนาที่ในการรับขอมูลและโปรแกรมเขาสูระบบ
ผานทางอุปกรณรับขอมูลอุปกรณรับขอมูล




                           รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยรับขอมูล

อุปกรณรับขอมูล สามารถจําแนกไดดังนี้
             - อุปกรณแบบกด (Keyed device) ไดแก keyboard ซึ่งมีทั้งแปนพิมพที่ใชกับเครื่องคอมฯทั่ว
                  ไปและแปนพิมพแบบไรสาย (wireless) ทีสามารถทํางานกับคอมฯผานแสงอินฟาเรด และมี
                  ปุมเมาสอยูบนแปนพิมพดวย
             - อุปกรณชี้ตําแหนงและวาดรูป (pointing and drawing devices) ไดแก
                  1. Mouse
                  2. ลูกกลมควบคุม (Trackball)
                  3. แทงชี้ควบคุม (Trackpoint)
                  4. แผนสัมผัส (Touchpad)
                  5. Joystick
                  6. ระบบปากกา (Pen based system) เชน
                  - ปากกาแสง (light pen) นิยมใชกับงานดานออกแบบอุปกรณ เชน ไมโครโปรเซสเซอร
                       และชิ้นสวนของเครื่องบิน
                  - เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet)
                  - จอภาพสัมผัส (Touch screen)
                  - สมุดบันทึกดิจิตอล (Digital notebook)

             -    อุปกรณกวาดขอมูล (Scanning Devices) ไดแก
                  1. สแกนเนอร (image scanner)
                  2. เครื่องอานรหัสบารโคัด (bar code reader)
                  3. เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (optical mark recognition)


                                                   -14-                           มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                      #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


                4. เครื่องอานอักขระดวยแสง (optical character recognition)
                5. เอ็มไอซีอาร (MICR)
                6. อุปกรณอานลายมือเขียน (handwriting recognition)
           - อุปกรณรับขอมูลมัลติมีเดีย
                   - อุปกรณรับขอมูลเสียง
                   - อุปกรณรับขอมูลประเภทเสียงพูด
                   - กลองดิจิตอล
                   - อุปกรณรับขอมูลจากวิดีโอ

       หนวยแสดงผล ทําหนาที่ในการแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลขอมูล




                             รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยแสดงผลลัพธ
       อุปกรณที่ทําหนาที่แสดงผล จําแนกไดดังนี้
       1. จอภาพคอมพิวเตอร (Monitor)
       2. จอภาพชนิดแบน (Flat panel displays)
       3. เครื่องพิมพ (printers)
           ก. เครื่องพิมพแบบกระทบ (impact printers)
           - แบบจุด(dot matrix printer)
           - แบบแถบ (band printer)
           ข. เครื่องพิมพแบบไมกระทบ (non -impact printers)
           - เครื่องพิมพฉีดหมึก
           - เครื่องพิมพเลเซอร
           - เครื่องพิมพความรอน
       4. เครื่องพลอตเตอร (plotters)
           - ปากกา


                                                -15-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


              - ฉีดหมึก
              - ไฟฟาสถิต
              - ความรอน
         5. เครื่องฉายภาพ (Projectors)

         1.4.2 ซอฟทแวร หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่
ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอร
และเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมีซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับ
เครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงออกไดเปน


                                             ซอฟตแวร(software)



             ซอฟตแวรระบบ                                                         ซอฟตประยุกต
            (system software)                                                   (application software)



     ระบบปฏิบัติการ              ตัวแปลภาษา                          ซอฟตแวรสําเร็จ           ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ

                                    รูปที่ 1.16 การแบงชนิดของซอฟตแวร

         1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป ซึ่ง
จะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความ
สะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวม
ทั้งโปรแกรมแปลคําสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปนตน นอกจาก
นี้โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน
         2. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่ทําใหคอมพิวเตอร
ทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตเปน
โปรแกรมสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ บางที่เรียกวา
User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคาคงคลัง
เปนตน ซึ่งแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑ
ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อให
ตรงกับความตองการของผูใช         และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึ้นนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัว
พัฒนา


                                                     -16-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                       #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
ระบบคอมพิวเตอร


          3. ซอฟตแวรสําเร็จรูป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผูจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ทั่ว
ไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง
หรือแกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายใน
การเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช
งานในหนวยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จ
รูปจึงเปนสิ่งที่อํานวยความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใชไดแก MS-
Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer เปนตน
          4. ซอฟตแวรใชงานเฉพาะมักเปนซอฟตแวรที่ผูพัฒนาตองเขาไปศึกษารูปแบบการทํางานหรือ
ความตองการของธุรกิจนั้นๆ แลวจัดทําขึ้น โดยทั่วไปจะเปนซอฟตแวรที่มีหลายสวนรวมกันเพื่อรวมกัน
ทํางาน ซอฟตแวรใชงานเฉพาะที่ใชกันในทางธุรกิจ เชน ระบบงานทางดานบัญชี ระบบงานจัดจําหนาย ระบบ
งานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเชาซื้อ เปนตน
          ซอฟตแวรใชงานเฉพาะอาจจะอยูในรูปแบบของซอฟตแวรเกม ซึ่งเปนที่นิยมกันทั่วโลกทั้งในกลุมของ
เด็กและผูใหญ รูปแบบของซอฟตแวรเกมมีอยูอยางหลากหลาย ซอฟตแวรเกมบางประเภทสามารถตอกับ
อุปกรณพิเศษเพื่อเพิ่มความสะดวกในการใชงาน เชน กานควบคุม ซอฟตแวรเกมแตละชนิดก็มีความเหมาะสม
และไมเหมาะสมที่แตกตางกัน ดังนั้นการเลือกใชงานซอฟตแวรเกมจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการพิจารณาใหรอบ
คอบ และควรปรึกษาผูปกครองถึงความเหมาะสมดวย

         1.4.3 บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถ
              ใชงาน สั่งงานเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้




         1. ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตามเปาหมาย
            ของหนวยงาน
         2. นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการ
            วิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอร
            เปนผูเขียนโปรแกรมใหกับระบบงาน
         3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทํางานตาม
            ความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว
         4. ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวิธีการใชเครื่อง และวิธีการใชงาน
            โปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมที่มีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ



                                                   -17-                          มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ระบบคอมพิวเตอร


         เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันที่จะ
ทําใหผลลัพธมีความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําสั่งและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรับจากการกําหนดของมนุษย
(Peopleware) ทั้งสิ้น

         1.4.4 ขอมูล ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร เปนสิ่งที่ตองปอนเขาไป
ในคอมพิวเตอร พรอมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอรเขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธที่ตองการออกมา ขอมูลที่สามารถ
นํามาใชกับคอมพิวเตอรได มี 5 ประเภท คือ ขอมูลตัวเลข (Numeric Data) ขอมูลตัวอักษร (Text Data) ขอมูล
เสียง (Audio Data) ขอมูลภาพ (Images Data) และขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)
         ในการนําขอมูลไปใชนั้น เรามีระดับโครงสรางของขอมูลดังนี้
         1. คารแรคเตอร (Character) ไดแก รหัสที่เปนตัวเลข (Numeric Character) ตัวอักษร (Alphabetic
              Character ) และเครื่องหมายตาง ๆ (Special Character)
         2. เขตขอมูล (field) หมายถึง คารแรคเตอรตั้งแต 1 ตัว ขึ้นไป ที่รวมกันเปนกลุม ประกอบกันขึ้นเพื่อ
              ใหมีความหมายมากขึ้น
         3. ระเบียนขอมูล (record) หมายถึง เขตขอมูลหรือชุดขอมูลตั้งแตหนึ่งชุดขึ้นไป ประกอบขึ้นเปนกลุม
         4. แฟมขอมูล ( File ) ไดแก ระเบียนขอมูลหนึ่งชุดขึ้นไปรวมกันเปนหมวดหมู เชน แฟมขอมูลของ
              พนักงาน จะประกอบดวย ระเบียนประวัติบุคคล
         5. ฐานขอมูล (Database) เปนการรวบรวมแฟมขอมูลหลายๆ แฟม ที่มีความสัมพันธกันมาเก็บไวที่
              เดียวกัน เชน ฐานขอมูลพนักงาน ประกอบดวยแฟมประวัติพนักงาน แฟมเงินเดือน แฟมตําแหนง
              เปนตน

        การวัดขนาดหนวยของขอมูลที่จัดเก็บในหนวยความจําเรียกวาไบต ซึ่ง 1 ไบต จะประกอบดวย 8 บิต
หนวยความจุของขอมูลในหนวยความจําสรุปไดดังนี้
        8 bits          =       1          byte
        1024 byte       =       1          Kilobyte (KB)
        1024 KB         =       1          megabyte (MB)
        1024 MB         =       1          Kilobyte (GB)
        1024 GB         =       1          Terabyte (TB)




                                                    -18-                         มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
                                                                                     #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4Mevenwen Singollo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Similar to Chepter1 (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 

More from สุรจักษ์ ชีวิตคือการเรียนรู้

More from สุรจักษ์ ชีวิตคือการเรียนรู้ (10)

คำสั่งเวร..
คำสั่งเวร..คำสั่งเวร..
คำสั่งเวร..
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
แผน3ปี
แผน3ปีแผน3ปี
แผน3ปี
 
แผน 3 ปี
แผน 3 ปีแผน 3 ปี
แผน 3 ปี
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
Chepter3
Chepter3Chepter3
Chepter3
 
Fujitsu map new
Fujitsu map newFujitsu map new
Fujitsu map new
 

Chepter1

  • 1. ระบบคอมพิวเตอร บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทที่สําคัญยิ่งตอสังคมของมนุษยเราในปจจุบัน แทบทุกวงการลวนนํา คอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของกับการใชงาน จนกลาวไดวาคอมพิวเตอรเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งตอการดําเนิน ชีวิตและการทํางานในชีวิตประจําวัน ฉะนั้นการเรียนรูเพื่อทําความรูจักกับคอมพิวเตอรจึงถือเปนสิ่งที่มีความจํา เปนเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะทราบวาคอมพิวเตอรคืออะไร ทํางานอยางไร และมีความสําคัญตอมนุษยอยางไร เรา จึงควรทําการศึกษาในหัวขอตอไปนี้ 1.1 บทนํา คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทํา หนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร" รูปที่ 1.1 แสดงไมโครคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิด คํานวณและสามารถจําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานในครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังสามารถ จัดการกับสัญลักษณไดดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถใน ดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและ สามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได 1.1.1 ขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะ การทํางานของสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีองคประกอบพื้นฐานหลัก คือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทํางานดังรูปที่ 1.2 Input Process Output รับขอมูล ประมวลผล แสดงขอมูล รูปที่ 1.2 แสดงขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร -1- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 2. ระบบคอมพิวเตอร หนวยควบคุม หนวยคํานวณ หนวยรับขอมูล หนวยแสดงผล หนวยความจําหลัก ขั้นตอนที่ 1: รับขอมูลเขา (Input) เริ่มตนดวยการนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถผานทางอุปกรณชนิดตางๆ แลวแตชนิดของ ขอมูลที่จะปอนเขาไป เชน ถาเปนการพิมพขอมูลจะใชแผงแปนพิมพ (Keyboard) เพื่อพิมพขอความหรือ โปรแกรมเขาเครื่อง ถาเปนการเขียนภาพจะใชเครื่องอานพิกัดภาพกราฟก (Graphics Tablet) โดยมีปากกา ชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถาเปนการเลนเกมก็จะมีกานควบคุม (Joystick) สําหรับเคลื่อนตําแหนงของ การเลนบนจอภาพ เปนตน ขั้นตอนที่ 2: ประมวลผลขอมูล (Process) เมื่อนําขอมูลเขามาแลว เครื่องจะดําเนินการกับขอมูลตามคําสั่งที่ไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ ตองการ การประมวลผลอาจจะมีไดหลายอยาง เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดกลุม นําขอมูลมาหาคามากที่สุด หรือนอยที่สุด เปนตน ขั้นตอนที่ 3: แสดงผลลัพธ (Output) เปนการนําผลลัพธจากการประมวลผลมาแสดงใหทราบทางอุปกรณที่กําหนดไว โดยทั่วไปจะแสดง ผานทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา "จอมอนิเตอร" (Monitor) หรือจะพิมพขอมูลออกทางกระดาษโดยใช เครื่องพิมพก็ได 1.1.2 ลักษณะเดนของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหมีจุดเดน 4 ประการ เพื่อทดแทนขอจํากัดของมนุษย เรียกวา 4 S special ดังนี้ 1. หนวยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บขอมูลจํานวนมากและเปนเวลานาน นับ เปนจุดเดนทางโครงสรางและเปนหัวใจของการทํางานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งเปนตัวบงชี้ประ สิทธิภาพของคอมพิวเตอรแตละเครื่องดวย 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูล (Processing Speed) โดยใชเวลานอย เปนจุดเดนทางโครงสรางที่ผูใชทั่วไปมีสวนเกี่ยวของนอยที่สุด เปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของ เครื่องคอมพิวเตอรที่สําคัญสวนหนึ่งเชนกัน 3. ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูลตามลําดับขั้น ตอนไดอยางถูกตองและตอเนื่องอยางอัตโนมัติ โดยมนุษยมีสวนเกี่ยวของเฉพาะในขั้นตอนการกําหนดโปรแกรม คําสั่งและขอมูลกอนการประมวลผลเทานั้น -2- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 3. ระบบคอมพิวเตอร 4. ความนาเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลใหเกิดผลลัพธที่ถูกตอง ความนา เชื่อถือนับเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ความสามารถนี้เกี่ยวของกับโปรแกรมคําสั่ง และขอมูลที่มนุษยกําหนดใหกับเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง กลาวคือ หากมนุษยปอนขอมูลที่ไมถูกตองใหกับ เครื่องคอมพิวเตอรก็ยอมไดผลลัพธที่ไมถูกตองดวยเชนกัน 1.1.3 ประโยชนของคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํา มาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพ เอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล ( word processing ) นอก จากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีกหลายดาน ดังตอไปนี้ 1. งานธุรกิจ เชน บริษัท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรใน การทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาห กรรม สวนใหญก็ใชคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอน เงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกับผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวาง บัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย 2. งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามา ใชในสวนของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสู อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวา การตรวจดวยวิธีเคมีแบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น 3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวัน เวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสาร ก็ใชควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมี ความชัดเจน 4. งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการ ออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดย คอมพิวเตอรจะคํานวณและแสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความ กาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน 5. งานราชการ เปนหนวยงานที่มีการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับบทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผาน คอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบัน ตางๆ, กรมสรรพากร ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน 6. การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอร มาชวยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การ เก็บขอมูลยืมและการสงคืนหนังสือหองสมุด -3- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 4. ระบบคอมพิวเตอร 1.2 ประวัติความเปนของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่เราใชกันอยูทุกวันนี้เปนผลมาจากการประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการคํานวณ ซึ่งมี วิวัฒนาการนานมาแลว เริ่มจากเครื่องมือในการคํานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สรางขึ้นในประเทศ จีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปมาแลว จนกระทั่งในป พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ชื่อ ชารล แบบเบจ (Charles Babbage) ได ประดิษฐเครื่องวิเคราะห (Analytical Engine) สามารถคํานวณคาของตรีโกณมิติ ฟงกชั่นตางๆ ทางคณิตศาสตร การทํางานของเครื่องนี้แบงเปน 3 สวน คือ สวนเก็บขอมูล สวนคํานวณ และสวนควบคุม ใชระบบพลังเครื่อง ยนตไอน้ําหมุนฟนเฟอง มีขอมูลอยูในบัตรเจาะรู คํานวณไดโดยอัตโนมัติ และเก็บขอมูลในหนวยความจํา กอน จะพิมพออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ไดนํามาพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรสมัยใหม เราจึง ยกยองใหแบบเบจเปน บิดาแหงเครื่องคอมพิวเตอร หลังจากนั้นเปนตนมา ไดมีผูประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นมามากมายหลายขนาด ทําใหเปนการเริ่ม ยุคของคอมพิวเตอรอยางแทจริง โดยสามารถจัดแบงคอมพิวเตอรออกไดเปน 5 ยุค - ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 - ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 - ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 - ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 - ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 เปนการประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่มิใชเครื่องคํานวณ โดยเมาชลีและเอ็กเคอรต (Mauchly and Eckert) ไดนําแนวความคิดนั้นมาประดิษฐเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกวา ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่งตอมาไดทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และไดประดิษฐเครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้น เพื่อใชในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําป รูปที่ 1.3 แสดงเครื่อง ENIAC -4- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 5. ระบบคอมพิวเตอร จึงนับไดวา UNIVAC เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกที่ถูกใชงานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเปนการ เริ่มของเครื่องคอมพิวเตอรในยุคแรกอยางแทจริง เครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสุญญากาศในการควบคุม การทํางานของเครื่อง ซึ่งทํางานไดอยางรวดเร็ว แตมีขนาดใหญมากและราคาแพง ยุคแรกของคอมพิวเตอรสิ้น สุดเมื่อมีผูประดิษฐทรานซิสเตอรมาใชแทนหลอดสุญญากาศ รูปที่ 1.4 หลอดสุญญากาศ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 1 • ใชอุปกรณ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เปนสวนประกอบหลัก ทําใหตัวเครื่องมีขนาดใหญ ใช พลังงานไฟฟามาก และเกิดความรอนสูง • ทํางานดวยภาษาเครื่อง (Machine Language) เทานั้น • เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใชงาน ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 มีการนําทรานซิสเตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจึงทําใหเครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประ สิทธิภาพในการทํางานใหมีความรวดเร็วและแมนยํามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังไดมีการคิดภาษาเพื่อใชกับ เครื่องคอมพิวเตอรเชน ภาษาฟอรแทน (FORTRAN) จึงทําใหงายตอการเขียนโปรแกรมสําหรับใชกับเครื่อง รูปที่ 1.5 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สอง -5- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 6. ระบบคอมพิวเตอร ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 2 1. ใชอุปกรณ ทรานซิสเตอร (Transistor) ซึ่งสรางจากสารกึ่งตัวนํา (Semi-Conductor) เปนอุปกรณ หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอรเพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทํางานเทียบเทาหลอด สุญญากาศไดนับรอยหลอด ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใชพลังงานไฟฟานอย ความรอนต่ํา ทํางานเร็ว และไดรับความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น 2. เก็บขอมูลได โดยใชสวนความจําวงแหวนแมเหล็ก (Magnetic Core) 3. มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS) 4. สั่งงานไดสะดวกมากขึ้น เนื่องจากทํางานดวยภาษาสัญลักษณ (Assembly Language) 5. เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใชงานในยุคนี้ รูปที่ 1.6 แสดงทรานซิสเตอร ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอรในยุคนี้เริ่มตนภายหลังจากการใชทรานซิสเตอรไดเพียง 5 ป เนื่องจากไดมีการประดิษฐ คิดคนเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันยอๆ วา "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทําใหสวนประกอบและวง จรตางๆ สามารถวางลงไดบนแผนชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผนเดียว จึงมีการนําเอาแผนชิปมาใชแทน ทรานซิสเตอรทําใหประหยัดเนื้อที่ไดมาก รูปที่ 1.7 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สาม นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใชงานระบบจัดการฐานขอมูล (Data Base Management Systems: DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถทํางานรวมกันไดหลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผูใช สามารถโตตอบกับเครื่องไดหลายๆ คน พรอมๆ กัน (Time Sharing) ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 3 -6- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 7. ระบบคอมพิวเตอร • ใชอุปกรณ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) เปนอุปกรณหลัก • ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําสั่ง ประมาณหนึ่งในลานของวินาที (Microsecond : mS) (สูง กวาเครื่องคอมพิวเตอรในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เทา) ทํางานไดดวยภาษาระดับสูงทั่วไป รูปที่ 1.8 แสดงรูป IC ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 เปนยุคที่นําสารกึ่งตัวนํามาสรางเปนวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated: VLSI) ซึ่งสามารถยอสวนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเขามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) ขึ้น ทําใหเครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทํางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทําใหมีคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคนี้ รูปที่ 1.9 แสดงภาพของไมโครคอมพิวเตอร ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 4 • ใชอุปกรณ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เปนอุปกรณหลัก • มีความเร็วในการประมวลผลแตละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในพันลานวินาที (Nanosecond : nS) และ พัฒนาตอมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแตละคําสั่ง ประมาณหนึ่งในลานลานของวินาที (Picosecond : pS) รูปที่ 1.10 แสดงภาพซีพียูของไมโครคอมพิวเตอร -7- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 8. ระบบคอมพิวเตอร ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน ในยุคนี้ ไดมุงเนนการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของระบบคอมพิวเตอร และ ความสะดวก สบายในการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร อยางชัดเจน มีการพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเล็ก ขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใชงานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ VLSI ใหใชงานงาย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนา เกี่ยวกับ ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) เปนหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรในยุคนี้ โดย หวังใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู สามารถวิเคราะหปญหาดวยเหตุผล องคประกอบของระบบปญญาประดิษฐ ประกอบดวย 4 หัวขอ ไดแก 1. ระบบหุนยนต หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือหุนจําลองรางกายมนุษยที่ควบคุม การทํางานดวยเครื่องคอมพิวเตอร มีจุดประสงคเพื่อใหทํางานแทนมนุษยในงานที่ตองการความเร็ว หรือเสี่ยง อันตราย เชน แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุนยนตกูระเบิด เปนตน รูปที่ 1.11 แสดงภาพแขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม 2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) คือ การพัฒนาใหระบบ คอมพิวเตอรสามารถสังเคราะหเสียงที่มีอยูในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย เชน เครื่อง คิดเลขพูดได (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได (Talking Clock) เปนตน รูปที่ 1.12 แสดงเครื่องคิดเลขพูดไดและนาฬิกาปลุกพูดได 3. การรูจําเสียงพูด (Speech Recognition System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรเขาใจภาษา มนุษย และสามารถจดจําคําพูดของมนุษยไดอยางตอเนื่อง กลาวคือเปนการพัฒนาใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ไดดวยภาษาพูด เชน งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพเอกสารสําหรับผูพิการ เปนตน -8- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 9. ระบบคอมพิวเตอร 4. ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู รูจักใชเหตุผลใน การวิเคราะหปญหา โดยใชความรูที่มี หรือจากประสบการณในการแกปญหาหนึ่ง ไปแกไขปญหาอื่นอยางมีเหตุ ผล ระบบนี้จําเปนตองอาศัยฐานขอมูล (Database) ซึ่งมนุษยผูมีความรูความสามารถเปนผูกําหนดองคความรู ไวในฐานขอมูลดังกลาว เพื่อใหระบบคอมพิวเตอรสามารถวิเคราะหปญหาตางๆ ไดจากฐานความรูนั้น เชน เครื่องคอมพิวเตอรวิเคราะหโรค หรือเครื่องคอมพิวเตอรทํานายโชคชะตา เปนตน 1.3 ประเภทของคอมพิวเตอร จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรใหเลือกใชมากมายหลายรูปแบบตามความ ตองการของผูใช การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุมหลัก ดังนี้ 1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล 1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน 1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ 1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล จําแนกไดเปน 3 ประเภท คือ 1. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลขอมูล ที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใชขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวา Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มักแสดงผลดวย สเกลหนาปด และเข็มชี้ เชน การวัดคาความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไมบรรทัด การวัดคาความรอนจาก การขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลขางหลอดแกว นอกจากนี้ยังมีตัวอยางของ Analog Computer ที่ใชการประมวลผลแบบเปนขั้นตอน เชน เครื่องวัด ปริมาณการใชน้ําดวยมาตรวัดน้ํา ที่เปลี่ยนการไหลของน้ําใหเปนตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณวัดความเร็วของ รถยนตในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่นสมองที่แสดงผลเปนรูปกราฟ เปนตน 2. คอมพิวเตอรแบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางาน ทั่วๆ ไปนั่นเอง เปนเครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลง แบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณขอ มูลที่เปนจังหวะดวยตัวนับ (Counter) ภายใตระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําใหผลลัพธเปนที่นา เชื่อถือ ทั้งสามารถนับขอมูลใหคาความละเอียดสูง เชนแสดงผลลัพธเปนทศนิยมไดหลายตําแหนง เปนตน เนื่องจาก Digital Computer ตองอาศัยขอมูลที่เปนสัญญาณไฟฟา (มนุษยสัมผัสไมได) ทําใหไมสามารถรับขอ มูลจากแหลงขอมูลตนทางไดโดยตรง จึงจําเปนตองเปลี่ยนขอมูลตนทางที่รับเขา (Analog Signal) เปนสัญญาณ ไฟฟา (Digital Signal) เสียกอน เมื่อประมวลผลเรียบรอยแลวจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟากลับไปเปน Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษยตอไป โดยสวนประกอบสําคัญที่เรียกวา ตัวเปลี่ยนสัญญาณขอมูล (Converter) คอยทําหนาที่ในการเปลี่ยน รูปแบบของสัญญาณขอมูล ระหวาง Digital Signal กับ Analog Signal -9- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 10. ระบบคอมพิวเตอร 3. คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เครื่องประมวลผลขอมูลที่อาศัยเทคนิค การทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใชในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่องคอมพิวเตอรในยานอวกาศ ที่ใช Analog Computer ควบคุมการ หมุนของตัวยาน และใช Digital Computer ในการคํานวณระยะทาง เปนตน การทํางานแบบผสมผสานของ คอมพิวเตอรชนิดนี้ ยังคงจําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เชนเดิม 1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน จําแนกไดเปน 2 ประเภท 1. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่อง ประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชนเครื่อง คอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติในรถ ยนต เปนตน 2. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานอเนกประสงค (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถประยุกตใช ในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใชตองการ ใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ เก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยว กับระบบบัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน 1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดย พิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เปนหลัก ดังนี้ 1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความ สามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะเพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการ ประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อ สารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มี สวนความจําและความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและคําสั่งของเครื่องรุนอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได โดยไมตองดัดแปลงแกไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบเครือขาย (Network) ไดเปนอยางดี โดย สามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณที่เรียกวา เครื่องปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได สามารถทํางานไดพรอมกัน หลายงาน (Multi Tasking) และใชงานไดพรอมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใชในธุรกิจขนาด ใหญ มีราคาตั้งแตสิบลานบาทไปจนถึงหลายรอยลานบาท ตัวอยางของเครื่องเมนเฟรมที่ใชกันแพรหลายก็คือ คอมพิวเตอรของธนาคารที่เชื่อมตอไปยังตู ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง 3. มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) ธุรกิจและหนวยงานที่มีขนาดเล็กไมจําเปนตองใช คอมพิวเตอรขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคา ถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มี -10- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 11. ระบบคอมพิวเตอร ความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอาน เขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หาง สรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ 4. ไมโครคอมพิวเตอร (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มี สวนของหนวยความจําและความเร็วในการประมวลผลนอยที่สุด สามารถใชงานไดดวยคนเดียว จึงมักถูกเรียก วา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer: PC) ปจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงกวาใน สมัยกอนมาก อาจเทากับหรือมากกวาเครื่องเมนเฟรมในยุคกอน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเปนที่ นิยมใชมาก ทั้งตามหนวยงานและบริษัทหางราน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบานเรือน บริษัทที่ผลิต ไมโครคอมพิวเตอรออกจําหนายจนประสบความสําเร็จเปนบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร เครื่องไม โครคอมพิวเตอร จําแนกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ - แบบติดตั้งใชงานอยูกับที่บนโตะทํางาน (Desktop Computer) - แบบเคลื่อนยายได (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจาก แบตเตอรี่จากภายนอก สวนใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงานวา Laptop Computer หรือ Notebook Computer 1.4 องคประกอบของคอมพิวเตอร ในความเปนจริงแลว ตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของ ระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถาตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิ ภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรวมกัน ซึ่ง องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย 1.4.1 ฮารดแวร (Hardware) 1.4.2 ซอฟตแวร (Software) 1.4.3 บุคลากร (Peopleware) 1.4.4 ขอมูล (Data) 1.4.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะ เปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่ง สามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตามลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวย ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่การทํางานแตกตางกัน -11- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 12. ระบบคอมพิวเตอร รูปที่ 1.13 แสดงรูปฮารดแวร หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ซึ่งเปนชิปซิลิกอน หรือวงจรรวม (Integrated circuit หรือ IC) ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ หนวยควบคุม (Control Unit) และหนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic/Logic Unit หรือ ALU) CU ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทุกสวน เชน สวนรับขอมูล ประมวลผล แสดงผล การ จัดเก็บขอมูล สวนนี้ถือเปนหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร ALU ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร (บวก ลบ คูณ หาร) และเปรียบเทียบทางตรรกะของขอมูล (มากกวา นอยกวา หรือเทากับ) การทํางานของหนวยประมวลกลาง จะมีรีจิสเตอร (Register) ซึ่งเปนแหลงเก็บขอมูลชั่วคราวที่ชวยให ซีพียูสามารถดึงขอมูลไปประมวลผลไดเร็วกวาหนวยความจําธรรมดา หนวยความจําหลัก เปนวงจรรวมหรือชิปที่ใชบันทึกโปรแกรมและขอมูล หนวยความจําหลักจะบรรจุอยู บนเมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก หนวยความจําบางประเภทก็ถูกออกแบบใหอยูในชิปซีพียูเลย หนวยความจําหลักที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง มี 3 ประเภท คือ RAM ROM และ CMOS 1. RAM (Random Access memory)เปนอุปกรณหรือแผงวงจรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรม คอมพิวเตอร ซึ่งบางครั้งเรียกวา หนวยความจําชั่วคราว (Volatile) เนื่องจากโปรแกรมหรือขอมูลที่ถูกเก็บใน หนวยความจําแรมจะถูกลบหายไปเมื่อปดเครื่องคอมฯ หรือไฟดับ -12- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 13. ระบบคอมพิวเตอร รูปที่ 1.14 แสดงหนวยความจําแรม RAM ที่ นิ ย มใช ใ นป จ จุ บั น นี้ แ บ ง เป น 2 ประเภทคื อ Static RAM (SRAM) และ Dynamic RAM (DRAM) SRAM เป น หน ว ยความจํ า ที่ นิ ย มใช เป น หน ว ยความจํ า แคช (cache memory) 1 เพราะ SRAM มี ความเร็วสูงกวา DRAM DRAM หนวยความจําที่นํามาใชงานกันในปจจุบันสวนใหญจะเปน DRAM ซึ่งเปนหนวยความจําที่มี ความเร็ ว อยู ร ะหว า ง 10-100 nanoseconds ซึ่ ง ชนิ ด ของ DRAM เช น EDO RAM (extended data output RAM) SDRAM (Synchronous DRAM) 2. ROM (read only memory) เปนหนวยความจําที่บันทึกขอสนเทศและคําสั่งเริ่มตน (Start up) ของระบบ คุณสมบัติที่เดนคือ ขอมูลและคําสั่งจะไมถูกลบหายไป ถึงแมจะปดเครื่อง หรือไมมีกระแสไฟฟาหลอ เลี้ยงแลวก็ตาม ซึ่งขอมูลหรือคําสั่งที่จัดเก็บในหนวยความจํารอม สวนใหญจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผูผลิต เครื่องคอมฯ และขอมูลเหลานี้จะไมสามารถลบหรือแกไขได แตสามารถอานได เรียกวา PROM (Programmable read only memory) 3. CMOS :complementary metal-oxide semiconductor เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอสนเทศที่ ใชเปนประจําของระบบคอมพิวเตอร เชน ประเภทของแปนพิมพ เมาส จอภาพ และเครื่องอานแผนดิสก CMOS จะใชกระแสไฟจากแบตเตอรี่ ดังนั้นเมื่อปดเครื่อง ขอสนเทศใน CMOS จึงไมสูญหาย ลักษณะเดนคือ ขอสนเทศ ที่บันทึกใน CMOS สามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณใหกับเครื่องคอมพิวเตอร เชน การเพิ่ม RAM และฮารดแวรอื่นๆ หนวยความจําสํารอง (SECONDARY STORAGE UNIT) - จานแมเหล็ก (magnetic disk storage) - floppy disks - hard disks - ออปติคัลดิสก (optical disks) - เทปแมเหล็ก (magnetic tape) - คารทริดจเทป (cartridge tape) สํารองขอมูลมีความจุ 120 MB –5 GB - มวนเทปแมเหล็ก (magnetic tape reels) 1 หนวยความจําแคช คือ หนวยความจําแรมที่ชวยเพิ่มความเร็วใหกับอุปกรณคอมพิวเตอร เชน เครื่องพิมพ -13- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 14. ระบบคอมพิวเตอร หนวยรับขอมูล หนวยรับขอมูลในระบบคอมพิวเตอร มีหนาที่ในการรับขอมูลและโปรแกรมเขาสูระบบ ผานทางอุปกรณรับขอมูลอุปกรณรับขอมูล รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยรับขอมูล อุปกรณรับขอมูล สามารถจําแนกไดดังนี้ - อุปกรณแบบกด (Keyed device) ไดแก keyboard ซึ่งมีทั้งแปนพิมพที่ใชกับเครื่องคอมฯทั่ว ไปและแปนพิมพแบบไรสาย (wireless) ทีสามารถทํางานกับคอมฯผานแสงอินฟาเรด และมี ปุมเมาสอยูบนแปนพิมพดวย - อุปกรณชี้ตําแหนงและวาดรูป (pointing and drawing devices) ไดแก 1. Mouse 2. ลูกกลมควบคุม (Trackball) 3. แทงชี้ควบคุม (Trackpoint) 4. แผนสัมผัส (Touchpad) 5. Joystick 6. ระบบปากกา (Pen based system) เชน - ปากกาแสง (light pen) นิยมใชกับงานดานออกแบบอุปกรณ เชน ไมโครโปรเซสเซอร และชิ้นสวนของเครื่องบิน - เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet) - จอภาพสัมผัส (Touch screen) - สมุดบันทึกดิจิตอล (Digital notebook) - อุปกรณกวาดขอมูล (Scanning Devices) ไดแก 1. สแกนเนอร (image scanner) 2. เครื่องอานรหัสบารโคัด (bar code reader) 3. เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (optical mark recognition) -14- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 15. ระบบคอมพิวเตอร 4. เครื่องอานอักขระดวยแสง (optical character recognition) 5. เอ็มไอซีอาร (MICR) 6. อุปกรณอานลายมือเขียน (handwriting recognition) - อุปกรณรับขอมูลมัลติมีเดีย - อุปกรณรับขอมูลเสียง - อุปกรณรับขอมูลประเภทเสียงพูด - กลองดิจิตอล - อุปกรณรับขอมูลจากวิดีโอ หนวยแสดงผล ทําหนาที่ในการแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลขอมูล รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยแสดงผลลัพธ อุปกรณที่ทําหนาที่แสดงผล จําแนกไดดังนี้ 1. จอภาพคอมพิวเตอร (Monitor) 2. จอภาพชนิดแบน (Flat panel displays) 3. เครื่องพิมพ (printers) ก. เครื่องพิมพแบบกระทบ (impact printers) - แบบจุด(dot matrix printer) - แบบแถบ (band printer) ข. เครื่องพิมพแบบไมกระทบ (non -impact printers) - เครื่องพิมพฉีดหมึก - เครื่องพิมพเลเซอร - เครื่องพิมพความรอน 4. เครื่องพลอตเตอร (plotters) - ปากกา -15- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 16. ระบบคอมพิวเตอร - ฉีดหมึก - ไฟฟาสถิต - ความรอน 5. เครื่องฉายภาพ (Projectors) 1.4.2 ซอฟทแวร หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอร และเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมีซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับ เครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงออกไดเปน ซอฟตแวร(software) ซอฟตแวรระบบ ซอฟตประยุกต (system software) (application software) ระบบปฏิบัติการ ตัวแปลภาษา ซอฟตแวรสําเร็จ ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ รูปที่ 1.16 การแบงชนิดของซอฟตแวร 1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป ซึ่ง จะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความ สะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวม ทั้งโปรแกรมแปลคําสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปนตน นอกจาก นี้โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน 2. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่ทําใหคอมพิวเตอร ทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตเปน โปรแกรมสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคาคงคลัง เปนตน ซึ่งแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑ ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อให ตรงกับความตองการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึ้นนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัว พัฒนา -16- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#
  • 17. ระบบคอมพิวเตอร 3. ซอฟตแวรสําเร็จรูป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผูจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ทั่ว ไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือแกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายใน การเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช งานในหนวยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จ รูปจึงเปนสิ่งที่อํานวยความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใชไดแก MS- Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer เปนตน 4. ซอฟตแวรใชงานเฉพาะมักเปนซอฟตแวรที่ผูพัฒนาตองเขาไปศึกษารูปแบบการทํางานหรือ ความตองการของธุรกิจนั้นๆ แลวจัดทําขึ้น โดยทั่วไปจะเปนซอฟตแวรที่มีหลายสวนรวมกันเพื่อรวมกัน ทํางาน ซอฟตแวรใชงานเฉพาะที่ใชกันในทางธุรกิจ เชน ระบบงานทางดานบัญชี ระบบงานจัดจําหนาย ระบบ งานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเชาซื้อ เปนตน ซอฟตแวรใชงานเฉพาะอาจจะอยูในรูปแบบของซอฟตแวรเกม ซึ่งเปนที่นิยมกันทั่วโลกทั้งในกลุมของ เด็กและผูใหญ รูปแบบของซอฟตแวรเกมมีอยูอยางหลากหลาย ซอฟตแวรเกมบางประเภทสามารถตอกับ อุปกรณพิเศษเพื่อเพิ่มความสะดวกในการใชงาน เชน กานควบคุม ซอฟตแวรเกมแตละชนิดก็มีความเหมาะสม และไมเหมาะสมที่แตกตางกัน ดังนั้นการเลือกใชงานซอฟตแวรเกมจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการพิจารณาใหรอบ คอบ และควรปรึกษาผูปกครองถึงความเหมาะสมดวย 1.4.3 บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถ ใชงาน สั่งงานเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตามเปาหมาย ของหนวยงาน 2. นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการ วิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอร เปนผูเขียนโปรแกรมใหกับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทํางานตาม ความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว 4. ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวิธีการใชเครื่อง และวิธีการใชงาน โปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมที่มีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ -17- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • 18. ระบบคอมพิวเตอร เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันที่จะ ทําใหผลลัพธมีความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําสั่งและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรับจากการกําหนดของมนุษย (Peopleware) ทั้งสิ้น 1.4.4 ขอมูล ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร เปนสิ่งที่ตองปอนเขาไป ในคอมพิวเตอร พรอมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอรเขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธที่ตองการออกมา ขอมูลที่สามารถ นํามาใชกับคอมพิวเตอรได มี 5 ประเภท คือ ขอมูลตัวเลข (Numeric Data) ขอมูลตัวอักษร (Text Data) ขอมูล เสียง (Audio Data) ขอมูลภาพ (Images Data) และขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ในการนําขอมูลไปใชนั้น เรามีระดับโครงสรางของขอมูลดังนี้ 1. คารแรคเตอร (Character) ไดแก รหัสที่เปนตัวเลข (Numeric Character) ตัวอักษร (Alphabetic Character ) และเครื่องหมายตาง ๆ (Special Character) 2. เขตขอมูล (field) หมายถึง คารแรคเตอรตั้งแต 1 ตัว ขึ้นไป ที่รวมกันเปนกลุม ประกอบกันขึ้นเพื่อ ใหมีความหมายมากขึ้น 3. ระเบียนขอมูล (record) หมายถึง เขตขอมูลหรือชุดขอมูลตั้งแตหนึ่งชุดขึ้นไป ประกอบขึ้นเปนกลุม 4. แฟมขอมูล ( File ) ไดแก ระเบียนขอมูลหนึ่งชุดขึ้นไปรวมกันเปนหมวดหมู เชน แฟมขอมูลของ พนักงาน จะประกอบดวย ระเบียนประวัติบุคคล 5. ฐานขอมูล (Database) เปนการรวบรวมแฟมขอมูลหลายๆ แฟม ที่มีความสัมพันธกันมาเก็บไวที่ เดียวกัน เชน ฐานขอมูลพนักงาน ประกอบดวยแฟมประวัติพนักงาน แฟมเงินเดือน แฟมตําแหนง เปนตน การวัดขนาดหนวยของขอมูลที่จัดเก็บในหนวยความจําเรียกวาไบต ซึ่ง 1 ไบต จะประกอบดวย 8 บิต หนวยความจุของขอมูลในหนวยความจําสรุปไดดังนี้ 8 bits = 1 byte 1024 byte = 1 Kilobyte (KB) 1024 KB = 1 megabyte (MB) 1024 MB = 1 Kilobyte (GB) 1024 GB = 1 Terabyte (TB) -18- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี #อ.มะลิวรรณ ระหูภา#