SlideShare a Scribd company logo
1 of 102
Download to read offline
www.kpi.ac.th 1
พระมหากษัตริย์ไทยกับสันติวิธี:
สงครามไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของการแก้ไข
ปัญหาเขตแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
ekkachais@hotmail.com
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓
ทรงเป็นทั้งกวี นักรัฐศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ นักการ
ทหาร นักการศึกษา ภูมิสถาปนิก อุบาสกผู้ทะนุบารุงพุทธ
ศาสนา ผู้อุปถัมภ์ศิลปะไทย และเป็นนักธุรกิจที่ประสบ
ผลสาเร็จดีเลิศ
ทรงค้าสาเภา ส่งของไปค้าขายกับเมืองจีนตั้งแต่ยังทรง
เป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ในรัชกาลที่
๒ ถึงขั้นร่ารวยจนพระราชบิดาทรงเรียกว่า "เจ้าสัว“
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
ส่วนเงินกาไรที่ได้มาเป็นเงินส่วนพระองค์มิได้ทรงใช้จ่ายเพื่อความ
บันเทิงใดๆ หรือยกให้พระราชโอรสธิดาตามพระทัยชอบทั้งที่มีสิทธิ์
ทาได้ แต่ทรงนามาใส่ถุงแดง แยกเป็นถุง ถุงละ ๑๐ ชั่ง ตีตราปิด
ปากถุง เก็บไว้ในหีบกาปั่นข้างห้องพระบรรทม
ส่วนหนึ่งทรงเก็บไว้เพื่อสร้าง และทะนุบารุงวัดวาอารามต่างๆ ทั้งใน
พระนครและภายนอก อีกส่วนหนึ่งก็ทรงยกให้แผ่นดิน มีพระราช
ดารัสว่า "เอาไว้ไถ่บ้านไถ่เมือง" หมายถึงว่าถ้าต้องเพลี่ยงพล้ากับ
ข้าศึกศัตรูแล้ว จะได้นาเงินนี้ออกมาใช้กอบกู้บ้านเมือง
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
พระราชดารัสนี้น่าประหลาดตรงที่เมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายสิบปี
จนถึง ร.ศ. ๑๑๒ ก็เกิดเป็นความจริงขึ้นมา เมื่อไทยถูกฝรั่งเศสปรับ
โทษเป็นเงิน ๓ ล้านบาท จนท้องพระคลังมีไม่พอ ก็ได้ ‘ เงินถุงแดง
‘ ส่วนนี้ไปสมทบ ไถ่บ้านเมืองเอาไว้ได้จริงๆ แสดงว่าเงินถุงแดงที่
ทรงสะสมไว้ มีจานวนมากมายทีเดียว
เมื่อประชวรหนักใกล้เสด็จสวรรคต พะวงกับเรื่องความสงบสุขของ
แผ่นดิน พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่ขุนนางข้าราชบริพารไว้
เป็นครั้งสุดท้ายว่า "การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็เห็นจะ
ไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียที
แก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่คิด ควรจะเรียนเอาไว้ก็ให้
เอาอย่างเขา แต่อย่าให้นับถือเลื่อมใสไปทีเดียว“
1
แนวทางการบรรยาย
เสนอข้อมูลและข้อเท็จจริงจากการศึกษาค้นคว้าใน
แนวทางเชิงสันติ สอดแทรกด้วยแนวคิดทฤษฎี
เสนอวีซีดี แนวทางการจัดการปัญหาเขตแดนของเพื่อน
บ้าน
แนวคิดการจัดการเขตแดนแนวสันติของประเทศต่างๆ
กรณีศึกษาวิเทโศบายของพระพุทธเจ้าหลวงในการเลี่ยง
สงครามสู่สันติสุขของชาติไทย
1
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖)
ทาให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเสียพระราชหฤทัย
มาก จนถึงกับทรงพระประชวร โดยพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์
ระบายความโศกเศร้าไว้ว่า
เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเอย
คิดใคร่ลา ลาญหัก ปลดเปลื้อง
ความเหนื่อยแห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสู่ภพเบื้อง หน้านั้น พลันเขษม
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
การป้องกันมิให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช
การดาเนินวิเทโศบายผูกมิตรกับมหาอานาจรัสเซีย เริ่มต้นขึ้นอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไป โดยระหว่างที่มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย เสด็จฯจาก
อินเดียมาแวะเมืองไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ และเต็มที่ ทาให้ทั้งสองพระองค์กลายเป็น
พระสหายสนิทข้ามทวีป ทั้งๆที่ทรงมีพระบุคลิกภาพแตกต่างกันอย่าง
สิ้นเชิง โดยองค์ประมุขแห่งรัสเซียทรงประหม่าขี้อาย ขณะที่
พระพุทธเจ้าหลวงของไทยทรงร่าเริงอบอุ่น
ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าซาร์นิ
โคลัสที่สอง( จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิรัสเซีย ก่อน
เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยม)
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ กรมหลวงเทวะวงศวโรปการทรง
ได้รับหนังสือกราบทูลฉบับหนึ่งจาก Frederick Verney ที่ปรึกษา
ประจาสถานทูตไทยที่ลอนดอนแจ้งว่า แม้ว่าลอร์ดโรสเบอรีจะไม่คัดค้าน
แผนการเสด็จประพาสโดยทางหลักการ แต่ก็กล่าวอย่างเสียไม่ได้ว่า ร.๕
จะได้รับการถวายการต้อนรับอย่างดี ซึ่งดูจะเป็นการตอบรับอย่างไม่มี
หนทางเลี่ยงเป็นอย่างอื่น (17)
ด้วยเหตุดังนั้น Verney จึงเห็นด้วยว่า ควรจะต้องเสด็จประเทศ
รัสเซียเป็นประเทศแรกสุดในหมายกาหนดการเสด็จประพาส
เพราะความสัมพันธ์ที่สนิทสนมกับมกุฎราชกุมารรัสเซีย จะทา
ให้ราชสานักรัสเซียจัดถวายการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติ
ซึ่งจะมีผลต่อการถวายการรับเสด็จในที่อื่นๆ (18)
(http://www.torakom.com/article_print.php?artID=155)
การป้ องกันมิให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช
1
ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้รับการ
สถาปนาเป็นพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่สอง
พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่สองได้ทรงส่งนักการทูต
ระดับสูง เข้ามาเป็นเอกอัครราชทูตประจา
ประเทศไทย เพื่อช่วยไทยแก้ไขปัญหาข้อพิพาท
ชายแดนกับฝรังเศสด้วย
“ อารมณ์ของฝรั่งเศสปรากฏว่าชอบใช้กาลัง
มากกว่าการเจรจา” (จอร์จ นาตาแนล เคอร์ซอน
จากหนังสือ ปัญหาชายแดนประเทศสยาม)
“ การดาเนินทางการทูตแบบนุ่มนวลไม่เหมาะ
สาหรับประเทศสยาม กับชาวเอเชีย ต้องแสดง
พลังเมื่อคุณแข็งแรงกว่า หรือหากคุณตกเป็นเบี้ยล่าง
คุณต้องยืนหยัด การเจรจาตกลงเป็นเรื่อง
เล็กน้อย เสียเวลา
(ชาร์ล เลอ มีร์ เดอ วิเลร์ เอกอัครราชทูตประจากรุงสยามกล่าวต่อ จูลส์ เดอแวล
รมต.ต่างประเทศ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๓๖)
การศึกษาเรื่องความขัดแย้งทั้ง ๓ มิติ
มิติเชิงป้ องกัน
มิติเชิงแก้ไข
มิติเชิงปรองดอง
11
พระราชดารัสที่บ่งบอก ถึงพระราชปณิธานอันแน่วแน่
“เราตั้งใจอธิษฐานว่า เราจะกระทาการจนเต็มกาลัง
อย่างที่สุด ที่จะให้กรุงสยามเป็นประเทศอันหนึ่ง ซึงมี
อิสรภาพและความเจริญ ”
สะท้อนให้เห็นถึงความรักชาติบ้านเมือง และความหวง
แหนในเอกราชของแผ่นดินสยาม
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
1
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสยุโรป ๒
ครั้ง ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ และ พ.ศ. ๒๔๕๐
เพื่อเจรจาทางการเมืองกับมหาอานาจตะวันตก ในการ
แก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน มุ่งหวังว่าการเสด็จเยือน
ฝรั่งเศสจะทาให้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองดีขึ้น จนนาไปสู่
ข้อตกลงที่เป็นการ
เพื่อยุติปัญหาข้อขัดแย้งทางการเมืองที่ยังคงมีอยู่ สนธิสัญญาและ
อนุสัญญาไทย-ฝรั่งเศส เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ เป็น
เพียงข้อตกลงชั่วคราวที่ช่วยยุติสถานการณ์ฉุกเฉินไม่ให้
ขยายตัวลุกลามขึ้นเป็นสงครามเท่านั้น
ช่วงวิกฤตของประเทศสยาม
พ.ศ. ๒๔๓๖ ทาสนธิสัญญาและอนุสัญญาไทย-ฝรั่งเศส
พ.ศ. ๒๔๓๗ ทั้งในปารีสและในอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส มีความ
ก้าวร้าวรุนแรงต่อสยามมากขึ้น
พ.ศ. ๒๔๓๙ มีแรงบีบคั้นเพื่อให้รัฐบาลฝรั่งเศสตัดสินใจใช้กาลัง
อาวุธเข้ายึดครองบริเวณฝั่งขวาแม่น้าโขงอย่างเปิดเผย โดยเฉพาะหลัง
การประกาศ "คาแถลงการณ์ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส”
พ.ศ. ๒๔๔๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๑
พ.ศ. ๒๔๕๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๒
1
1
สนธิสัญญาและอนุสัญญาเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖
1
แทนที่จะแก้ไขปัญหากลับสร้างปัญหาใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายปัญหา ล้วนเป็นปัญหาที่
คุกคามหรือท้าทายอธิปไตยของไทยในเวลาต่อมาโดยตรง
ปัญหาความขัดแย้งมาจากผลในการตีความ
ข้อความในสนธิสัญญาและอนุสัญญาประเด็นสาคัญคือ
– การจดทะเบียนคนในบังคับฝรั่งเศส
– อานาจการปกครองในเขตแดนเมืองหลวงพระบาง
บนฝั่งขวาแม่น้าโขง
– เขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่งขวาแม่น้าโขง
ตลอดแนวชายแดนระหว่างไทยกับอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส
– ปัญหาการคืนเมืองจันทบุรีให้แก่ฝ่ายไทย ที่ฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะปฏิบัติตาม ด้วยข้ออ้างที่ว่าฝ่าย
ไทยยังไม่ได้ดาเนินการตามเงื่อนไขในสนธิสัญญาและอนุสัญญา พ.ศ. ๒๔๓๖ อย่างครบถ้วน
ท่าทีของกลุ่มผลประโยชน์อาณานิคมของฝรั่งเศส( Parti colonial )
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ เป็นต้นมา ทั้งในปารีสและใน
อาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส ที่มีต่อไทยเริ่มมีความ
ก้าวร้าวรุนแรงมากขึ้นตามลาดับ
แรงบีบคั้นเพื่อให้รัฐบาลฝรั่งเศสตัดสินใจใช้กาลัง
อาวุธเข้ายึดครองบริเวณฝั่งขวาแม่น้าโขงเริ่มมีอย่าง
เปิดเผยมากขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการประกาศ "คาแถลงการณ์
ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส" ในตอนต้นของปี พ.ศ. ๒๔๓๙
1
บันทึกของเจ้าพระยาอภัยราชา (Gustave Rolin-Jaequemyns)
ที่ปรึกษาราชการ แผ่นดินชาวเบลเยี่ยมระบุไว้ว่า ก่อนหน้าวิกฤตการณ์
ปากน้า ร.ศ. ๑๑๒ ได้เคยกราบทูลเสนอแนะผ่าน เสนาบดีกระทรวงการต่างของ
ไทย ให้ ร.๕ เสด็จประพาสยุโรป (๑๑) แต่ข้อเสนอแนะไม่ได้มีการพิจารณา
อย่างจริงจัง จนกระทั่งเกิดความขัดแย้งกับฝรั่งเศส ใน ก.ค. พ.ศ. ๒๔๓๖
ภายใต้แรงบีบคั้น ข้อเรียกร้องนานาประการที่เป็นเงื่อนไขเพื่อยุติข้อขัดแย้งของ
รัฐบาลฝรั่งเศส และท่าทีอันเฉยเมยและคุกคามความมั่นของอังกฤษ กับฝรั่งเศส
กระทาต่อไทย ร. ๕ จึงทรงหยิบยกเรื่องการเสด็จประพาสยุโรป เพื่อ
สานสัมพันธไมตรีกับมหาอานาจต่างๆ อันเป็นหนทางหนึ่งในการ
ประกันการดารงอยู่และความมั่นคงของไทย ขึ้นมาปรึกษากับเจ้าพระยา
อภัยราชา โดยทรงกาหนดการเสด็จประพาสไว้ใน พ.ศ. ๒๔๓๗ หรือ พ.ศ.
๒๔๓๘ รวมระยะเวลาการเสด็จประมาณ ๙ เดือน (๑๒)
แผนการเสด็จประพาสถูกทาขึ้นตอนต้นปี พ.ศ. ๒๔๔๐ โดย
พระเจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ อรรคราชทูตไทยที่
ลอนดอนเป็นผู้รับผิดชอบ
การเสด็จเยือนฝรั่งเศส จึงถูกกาหนดให้มีความสาคัญเป็น
ลาดับต้น
หมายกาหนดการเสด็จประพาสที่จัดทาขึ้น กาหนดเส้นทาง
เสด็จพระราชดาเนินทางบกจากเมืองเวนิสในอิตาลี เป็นเมือง
แรกในยุโรปที่เรือมหาจักรีเทียบท่ามายังฝรั่งเศส เสด็จถึงปารีส
และเสด็จต่อไปยังกรุงเวียนนา จากนั้นจะเสด็จต่อไปยัง
บูดาเปสต์และมอสโคว์ ตามลาดับ
1
แผนการเสด็จประพาสฯที่เตรียมไว้ในปี พ.ศ. ๒๔๓๗
หรือ พ.ศ. ๒๔๓๘ ต้องถูกยกเลิกไปโดยปริยาย เพราะ
ตั้งแต่ปลาย ปี ๒๔๓๖ จนถึงปลายปีต่อมา ความกดดัน
จากวิกฤตการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองกับ
ฝรั่งเศส และการสูญเสียในพระราชวงศ์หลายครั้ง
ติดต่อกันได้ทาให้พระพลานามัยทั้งร่างกายและ
จิตใจของ ร.๕ เสื่อมทรุดลงอย่างรวดเร็ว จน
หลายครั้งเป็นที่หวั่นเกรงกันในหมู่เจ้านายและ
เสนาบดีว่าอาจจะถึงแก่สวรรคต (๒๒)
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯให้รับราชการตามตาแหน่งนายเรือในเรือพระที่นั่งมหา
จักรี ภายใต้การบังคับบัญชาของกัปตันเรือพระที่นั่ง และได้ทรง
ถือท้ายเรือพระที่นั่งมหาจักรีด้วยพระองค์เอง ซึ่งเท่ากับว่าทรง
แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนนายเรือของสยาม
โดยทรงฝึกงานภายใต้การดูแลควบคุมของ กัปตัน คัมมิง
(Capt. R. S.D. Cumming R.N.) นายทหารเรือ
อังกฤษ ที่รัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็นผู้บังคับการเรือพระที่
นั่ง
1
ทรงมีพระราชปรารภกับพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์
เมื่อพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ เข้าเฝ้า
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในเรือพระที่นั่งมหาจักรีแล้ว
สมเด็จพระบรมชนกนาถ มีพระราชปรารภว่า
“ ชายอาภากรนั้นอัธยาศัยนั้นเป็นคนซื่อมาแต่เดิม เป็นผู้ที่สมควรแก่
วิชาที่เรียนอยู่แล้ว ไม่เป็นคนที่มีอัธยาศัยที่จะใช้ฝีปากได้ในการพล
เรือน แต่ถ้าเป็นการในหน้าที่อันเดียวซึ่งชานาญคงจะมั่นคงในทางนั้น
และตรงไปตรงมา การที่ได้ไปพบคราวนี้ เห็นว่าอัธยาศัยดีขึ้นกว่าแต่ก่อน
มาก"
1
การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองของรัชกาลที่ ๕
เพื่อศึกษาความเจริญก้าวหน้าด้านต่าง ๆ ของ
ตะวันตก
เพื่อการสร้างภาพลักษณ์ของไทยในยุโรปในเชิง
บวก เป็นการเกื้อหนุนสถานะของไทยในทาง
การเมืองระหว่างประเทศ ตลอดจนถึงอธิปไตยของ
ไทย ให้ชาวต่างชาติได้รู้จักไทยดีขึ้น
เพื่อแสวงหามิตรประเทศ
1
พระพุทธเจ้าหลวงทรงดาเนินวิเทโศบาย
ในการเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๔๐
ทาความเข้าใจกับชาติที่คุกคามไทย ในการเจรจาโดยตรงกับผู้นาของฝรั่งเศส
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในกรณีที่สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.
๒๔๓๖)
แสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ โดยเฉพาะประสบ
ความสาเร็จในการสร้างสัมพันธไมตรีกับกษัตริย์รัสเซียซาร์นิโคลัสที่ ๒แห่ง
ราชวงศ์โรมานอฟ และได้ส่ง เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซีย
ด้วย
ได้ทรงเจรจาและปรับความเข้าใจกับฝรั่งเศส ที่กาลังคุกคามไทยอย่างมาก
ทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป จะได้นามาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุง
บ้านเมือง
1
รัฐบาลอังกฤษทาบทามรัฐบาลไทยเจรจาเป็นการลับ ในการประกันสิทธิ
และผลประโยชน์ร่วมกันของแต่ละฝ่ายพร้อมเสนอร่างอนุสัญญาลับให้
เสนาบดีว่าการต่างประเทศของไทยพิจารณา ท่าทีรัฐบาลไทยเป็นไป
ในเชิงบวก....
ท่าทีคุกคามที่รุนแรงมากขึ้นของอังกฤษในสิงคโปร์ ทาให้ไทยต้องค้า
ประกันสิทธิของตนจากรัฐบาลอังกฤษด้วยเช่นกัน.....การเจรจาล่าช้า เพราะ
โต้แย้งข้อความในร่างอนุสัญญาตอบไปมา เป็นช่วงเจรจาเกี่ยวกับแผนการ
เสด็จ เป็นสาเหตุท่าที "เฉยเมย" ที่อังกฤษมีต่อแผนการเสด็จ ทาให้
ทรงเห็นด้วยกับแผนการนายเวอร์นีย์ที่เสนอไว้ให้เสด็จประพาสรัสเซีย
ก่อนอังกฤษ (38)
ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน
ดูวิธีการจัดระเบียบบ้านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น
อินเดียและสิงคโปร์
ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน
เลิกทาสเพื่อให้มหาอานาจเคารพเรา
ตัดคูคลองสร้างเศรษฐกิจสังคมเกษตร
กฎหมายให้ทุกคนมีความเสมอภาค
1
วิสัยทัศน์ในการจัดการแนวทางสันติ
การวางแผนเสด็จประพาสยุโรป สองครั้ง
กาหนดเส้นทางและจุดพักแต่ละประเทศ
กาหนดประเทศก่อนหลังโดยเอางานการเมืองเป็นที่ตั้ง
การพบปะกับบุคคลสาคัญระหว่างเดินทาง
เดินทางไปดูการปกครองที่อินเดีย
1
แนวทางสร้างความสันติสุข
Relationship : มาจากการเยี่ยมเยียนสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน
Peace Talk : มากจากการพบปะพูดคุยสู่ความตกลง
Peace Net : การสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างสังคมสู่สันติสุข
Peace Communication : การสื่อสารเพื่อสันติที่ให้เห็นภาพลักษณ์ที่ดี
Trust : สร้างให้เกิดความไว้วางใจและมีความเชื่อมั่น
Fear : ความหวาดกลัว เรามักกลัวสิ่งที่เราไม่รู้ คาดเดาไม่ได้ ยังไม่เคย
เห็น และยังไม่เคยเป็น
Expectation : ความคาดหวัง
1
บทบาทของพระมหากษัตริย์กรุงสยาม
พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองประเทศ
กิจการต่างประเทศ
– กรมสนธิสัญญา
– กรมวิเทศน์สัมพันธ์
– กรมยุโรป และกรมเอเชีย
– ฯลฯ
กิจการมหาดไทยก 1
การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๕๐
เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ (ไต)
เพื่อเจรจาราชการบ้านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ
– เรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เรื่องคนในบังคับฝรั่งเศส อานาจการปกครองเหนือดินแดน
เมืองหลวงพระบางบนฝั่งขวาแม่น้าโขงและเขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่ง
ขวาของแม่น้าโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีน
ของฝรั่งเศส
– ปัญหาภาษีร้อยชัก ๓ เป็นร้อยชัก ๑๐ และโครงการสร้างทางรถไฟสายใต้
ทรงให้สัตยาบันในสนธิสัญญาสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. ๒๔๔๙ เจรจากับ
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาแลกเปลี่ยน ๔ รัฐมลายู
ในเวลาต่อมา
การเสด็จพระราชดาเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ออฟลอว์(Doctor of Law) ณ บ้าน
ของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
30
ลายพระราชหัตถเลขาที่ต่อมาพิมพ์เป็นหนังสือ "ไกลบ้าน"
ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่เจ้าฟ้ านิภานภดล
วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้ า
อากาศ สภาพบ้านเมือง การรักษาพระองค์
สังคมและวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายของคน
ในประเทศที่เสด็จพระราชดาเนิน
1
พระราชดาริ และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ที่ทรงมีต่อเหตุการณ์
ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขาต่อมาพิมพ์เป็นหนังสือ "ไกลบ้าน"
1
เส้นทางการเดินทางเสด็จประพาสยุโรปโดยเรือพระที่นั่งมหาจักรี (ลาที่ ๑) เสด็จจาก
ท่าราชวรดิษฐ์ ในวันพุธ ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๐ เพื่อทรงเยือนประเทศ
อิตาลี สวิสเซอร์แลนด์ ออสเตรีย ฮังการี โปแลนด์ รัสเซีย สวีเดน เดนมาร์ก
อังกฤษ เยอรมนี ฮอลแลนด์ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เป็นต้น ซึ่งแต่ละประเทศ ได้จัดการ
รับเสด็จอย่างยิ่งใหญ่ หนังสือพิมพ์ชั้นนาในแต่ละประเทศต่างเสนอข่าว และพระบรม
สาทิสลักษณ์อย่างกว้างขวาง และ แพร่หลาย
1
* Captain R.S.D. Cumming R.N. นายทหารเรืออังกฤษที่รัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็นผู้
บังคับการเรือพระที่นั่ง มหาจักรีในการเสด็จครั้งนี้
การใช้กัปตันและลูกเรือจากอังกฤษ
วันนี้ไม่ใคร่สบาย ตื่นขึ้นทาโคลงให้สวัสดิ์สองบท
สาหรับเขียนในสมุดวันเกิด ของลูกโตตามที่เขาขอให้ฉันเขียน
1
ฉบับที่ ๑๗ เจนีวา
วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔๔๐
สงคราม บ ใช่สิ้น สัจธรรม์ เทียวเฮย
ผู้เพื่อชาติภูมิกัน ชอบป้อง
อนึ่งผู้ดุจกรกัน เป็นขวาก รั้วแฮ
ชนกาจกวนอ่อนข้อง ขัดกั้งควรการ
รอญราญโดยเหตุเกื้อ แก่ตน
มุ่งประโยชน์เพื่อผล ต่าซ้า
สงครามที่เกิดกล คากล่าว นี้นา
ควรติว่ารบร้า ชั่วร้ายอาธรรม์
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
Peace Talk
การเดินทางครั้งนี้ได้ถูกตีพิมพ์ใน
หนังสือพิมพ์ข่าวสารของประเทศ
ต่างๆทาให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่
พระมหากษัตริย์ไทยทรงมีต่อกษัตริย์
แต่ละประเทศ
Peace Communication
พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ขณะทรงฉายคู่กับพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ เป็นหนึ่งใน
ภาพข่าวที่ฮือฮาและมีนัยยะสาคัญทางการทูตเป็นอย่างยิ่ง ......
1
1
Peace Net
ความหวังของไทยที่หวังว่าจะช่วย
ยับยั้งฝรั่งเศสในการรุกรานไทย
แต่อังกฤษสงวนท่าที และ ปกป้ อง
ผลประโยชน์ของตน พ.ศ.๒๔๓๙
มีการลงนามสนธิสัญญาระหว่าง
อังกฤษและฝรั่งเศส ประกันความ
เป็นกลางของดินแดนตอนกลางคือ
ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาของสยาม(1896 Anglo - French Agreement)
ที่มีส่วนช่วยให้ดินแดนของสยามมีอธิปไตยอยู่ได้ เป็นรูปขวานทอง
หรือ "สุวรรณภูมิ" อย่างที่เราเห็นในปัจจุบัน 39
สถานการณ์ที่ร้ายแรงที่สุดในยุครัตนโกสินทร์ ถึงขั้น "เสียบ้าน เสียเมือง
“ ด้วยพระราชดาริพระองค์ มองว่าเป็นโอกาสดีแก่บ้านเมืองที่จะออกไป
ประเทศยุโรปเอง และผลจากการเสด็จประพาสยุโรปในครั้งนี้เป็นผลดีแก่พระ
ราชอาณาจักรสยามเป็นอย่างยิ่ง ที่ทรงสามารถนาสยามนาวาผ่านพ้น
สถานการณ์ที่นับว่าร้ายแรงที่สุดได้
ที่ ๕๖ เมืองปารีส
๑๑ กันยายน ร.ศ.๑๑๖
“ ถึงแม่เล็ก ด้วยตั้งแต่ฉันออกมาครั้งนี้ยังไม่ได้รับความคับแค้นเดือดร้อน
เหมือนอย่างครั้งนี้เลย การที่แม่เล็กรู้สึกหนักในเรื่องที่ฉันจะมาเมือง
ฝรั่งเศสประการใด ขอให้เข้าใจว่าฉันหนักกว่าสิบเท่าอยู่แล้วเพราะเป็นผู้
ที่มาเองแต่ครั้นเมื่อมาถึงปารีสเข้าเขาก็รับรองอย่างแข็งแรง เปรสิเดนต์ก็ขึ้น
รถมาส่งถึงที่อยู่ ซึ่งเป็นการที่เขาไม่ได้ทาให้แก่ผู้ใด นอกจากเอมเปอเรอ
รัสเซีย การที่เขาทาเช่นนี้ผู้ซึ่งมีสัญญาไม่วิปลาสคงจะเข้าใจได้ว่า เขาไม่ได้
ทาด้วยเกรงกลัวอานาจเราอย่างใด ทาด้วยเห็นแก่พระบารมีเอมเปอเรอ แล
ด้วยกาลังตื่นรู้ขนบธรรมเนียมเจ้านาย เพราะได้เคยไปเห็นการรับรอง
ที่รัสเซียมา การที่ทาอะไรก็ถ่ายแบบที่นั้นมาทั้งสิ้น
. . การสนทนาทั้งมาตามทาง แลที่เข้าไปนั่งปิดประตูอยู่ด้วยกัน
สองคน ก็เป็นสุนทรกถาแลเรื่องไปรัสเซีย ข้อที่พูดราชการนั้น
แสดงความยินดีที่ฉันมาจะได้มีช่องปรึกษาหารือกันระงับการซึ่ง
พวกฝรั่งเศสซึ่งอยู่ฝ่ายตะวันออก แกล้งกล่าวว่าเราไม่อยากเป็น
ไมตรีกับฝรั่งเศส จะขอให้มีเวลาปรึกษาหารือกัน ฉันก็รับเขา
ว่าขอให้เข้าใจว่าเมืองฝรั่งเศสไม่เหมือนเมืองอื่น ต้องปกครอง
ตามใจคน จึงเป็นการยาก แต่รอดตัวที่เขาเป็นคนดีมีคนชอบ
มาก 42
บทสนทนา Peace Talk
ฉันก็ว่าฉันดีใจที่ได้มาเปิดความจริงซึ่งมีอยู่ในอกให้เห็นว่าเรา
อยาก เป็นไมตรีกับฝรั่งเศสเพียงใด ข้อความอันนี้ฉันก็ได้เปิดไว้
กับเอมเปอเรอรัสเซียเสร็จแล้ว เขาก็รับว่าเอมเปอเรอได้รับสั่งกับ
เขา ฉันว่าฝรั่งเศสมีใจรักแลเชื่อถือเอมเปอเรอๆ เป็นพยานฉันใน
ข้อนี้ . . . การที่แล้วไปนี้เป็นแต่เริ่มต้น ยังมีเรื่องที่จะได้
ปรึกษากันมีอีกต่อไป
43
บทสนทนา Peace Talk
ข้อตกลง The Entente - cordiale 1904 (Anglo-French Entente
1904) วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๗ อังกฤษ และฝรั่งเศสได้ลงนาม
ใน ได้ตกลงจัดการขยายอาณานิคมอย่างสันติแทนการแย่งชิงและขัดแย้งกัน
ใน ๓ พื้นที่ คืออียิปต์ และมอรอคโค นิวฟาวนด์แลนด์ และบางส่วนของอาฟ
ริกากลาง และอาฟริกาตะวันตก และพื้นที่ประเทศไทย มาดากาสการ์ และ
หมู่เกาะวานนูอาตู
สาหรับประเทศไทย ฝรั่งเศสจะมีอิทธิพลในพื้นที่ด้านตะวันออกของแม่น้า
เจ้าพระยา อังกฤษจะมีอิทธิพลในพื้นที่ด้านตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา
ฝรั่งเศสและอังกฤษตกลงร่วมกันว่าจะไม่ผนวกสยามเป็นเมืองขึ้นแต่จะ
เพียงแค่มีอิทธิพลในดินแดนนี้เท่านั้น นับว่าเป็นความร่วมมือกัน
ครอบครองดินแดนสยามดังเป็นอาณานิคม และแบ่งสรรประโยชน์กัน
44
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา กับขอม
มีความสัมพันธ์มาเป็นเวลานาน ซึ่งมีทั้งทาสงครามและเป็นมิตรไมตรี
ต่อกัน
สมัยเจ้าสามพระยาทางกรุงศรีอยุธยา
ทาสงครามชนะเหนือเขมรอย่างเด็ดขาด
ก่อนหน้านี้เคยขยายอานาจไปยังเขมร
หลายครั้งแต่ไม่สามารถยึดเขมรได้
กรุงศรีอยุธยามีชัยชนะเหนือเขมรได้กวาดต้อนคนและทรัพย์สินจาก
นครธรมเมืองหลวงของเขมรเป็นจานวนมาก
1
การช่วยเหลือเขมร
เขมรมีปัญหาภายในเมื่อใดผู้นาจะเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารจะ
ได้รับการช่วยเหลืออย่างดี แต่เมื่อไทยเกิดศึกสงครามเขมรจะยกทัพ
มาตีเมืองชายแดนที่ติดกับเขมรและเมืองใกล้เคียงบ่อยครั้ง(เช่นครั้ง
อยุธยาเสียกรุงแก่พม่าในพ.ศ.๒๑๑๒ เขมรก็เข้ามาสร้างความไม่
พอใจให้กับอยุธยามาก เมื่อเสร็จศึกกับพม่าจึงยกทัพไปตีเขมรใน
พ.ศ.๒๑๓๖ และสามารถยึดเมืองละแวกได้
เมื่อสมเด็จพระนเรศวรสวรรคตเขมรแข็งเมืองอีกและขอความ
ช่วยเหลือจากญวนเพื่อคานอานาจจากอยุธยา
สรุปเมื่อใดไทยอ่อนแอมีความขัดแย้งกันภายใน เขมรจะแข็งกร้าว
และขอความช่วยเหลือจากนานาประเทศ 1
ศ.ดร.เบเนดิกต์ โอกอร์แมน
แอนเดอร์สัน
พูดถึงประเทศอาเซียน
"ชะตากรรม "อาเซียน" จากอคติที่แอบแฝงสู่ความขัดแย้งที่ไม่รู้จบอาเซียนน่าจะหัน
มามองความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ สิ่งนี้คือ "สุคติ" ของอาเซียน ต้องใช้คา
ว่า "เปลี่ยน" เหมือนโอบามา เพราะถ้าไม่เปลี่ยนอาเซียนก็เหมือนลูกโป่งสวรรค์ที่ลอย
อยู่สวยงามแต่ทาอะไรไม่ได้“
อาเซียนมีอยู่เพื่อให้เราอุ่นใจ แต่ผลความสาเร็จอย่างจริงจังยังไม่เกิดขึ้นเพราะเน้น
การร่วมมือกันพัฒนาทางวัตถุมากกว่าการเน้นความร่วมมือทางการพัฒนา
ส่งเสริมเรื่องของมนุษย์กับมนุษย์ จะต้องเปลี่ยนวิธีคิด ถ้าคนยังไม่เข้าใจซึ่งกันและ
กัน ไม่เห็นใจกัน เศรษฐกิจจะดีได้อย่างไร มนุษย์คือทุนที่สาคัญที่สุดในการพัฒนา
1
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดสัมมนาเชิงวิชาการอุษาคเนย์ครั้งที่ 6
หัวข้อ "อคติที่แอบแฝง สู่ความขัดแย้งที่ไม่รู้จบ" ที่หอประชุมใหญ่ มธ. ท่าพระจันทร์
ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน
ดูวิธีการจัดระเบียบบ้านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น
อินเดียและสิงคโปร์
ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน
เลิกทาสเพื่อให้มหาอานาจเคารพเรา
ตัดคูคลองสร้างเศรษฐกิจสังคมเกษตร
กฎหมายให้ทุกคนมีความเสมอภาค
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
หลวงน้าทา
Poipet
เกาะกง
สีหนุวิลล์
นครพนม
มุกดาหาร
วินห์
สะหวันนะเขต ดองฮา
ดานัง
กรุงเทพฯ
พนมเปญ
โฮจิมินห์
วังเตา
เชียงราย
เชียงตุง
เชียงรุ่ง
คุนหมิง
ต้าลั่ว
แม่สอด
มาเลเซีย
มัณฑะเลย์
เมาะละแหม่ง
ย่างกุ้ง
ต้าลี่
ไฮฟอง
ฮานอย
เชียงใหม่
ทะเลอันดามัน
ทะเลจีนใต้
อ่าวไทย
อรัญประเทศ
ท่าขี้เหล็ก
บ่อเต็น
ห้วยทราย
โมฮันต้าลั่ว
ลาเซียว
มูเซ
แม่สาย
เชียงของ
เหอโข่ว ลาวไค
ปากแบ่ง
ห้วยโก๋น
หลวงพระบาง
เวียงจันทน์
อุบลราชธานี
เสียมเรียบ
สตึงเตร็ง
ปากเซ
อัตตะปือ
สงขลา
ภูเก็ต
ตราด
ปัญหาเส้นเขตแดน
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
สร้างเส้นเขตแดนสายสัมพันธ์
สร้างแม่น้าสายสัมพันธ์
สร้างความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
สร้างความสัมพันธ์ทางศาสนา
สร้างความสัมพันธ์ทางเชื้อชาติเผ่าพันธ์
สะพานมิตรภาพไทย-พม่า
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
สาธารณรัฐประชาชนจีนมองเส้นเขตแดนคือโอกาสของประเทศ
โจกเจีย-หนองจาน หมู่บ้านสองแผ่นดิน
ระหว่างหลักเขตแดนที่ 45-47 อรัญประเทศ
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
และชาวไทยก็เข้าไปทาในฝั่งของกัมพูชา ประชาชนทั้งสองฝั่งยังเป็นปกติ
ไม่ได้มีปัญหาต่อกัน กรณีชาวไทยถูกจับที่บ้านโจกเจีย จะปลุกให้รัฐบาลไทย
ตื่นหันมามองปัญหาชายแดนอย่างจริงจัง
มีรั้วลวดหนามที่ไทย
สร้างไว้กลายเป็นแนว
สันติภาพที่ชาวไทย-
กัมพูชา ทั้งสองฟากฝั่ง
ยังเข้าไปทามาหากิน
ในแนวเขตนี้ กัมพูชา
ก็เข้ามาแนวรั้วของไทย
การก้าวข้ามความขัดแย้งด้านเขตแดนในเอเชีย
และยุโรป
เปลี่ยนเขตแดนจากอุปสรรคเป็นโอกาสเขตแดน
สายสัมพันธ์
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
การกระชับความสัมพันธ์ของผู้นาในการปักเขต
แดนระหว่างประเทศเวียดนาม-กัมพูชา
เวียดนามตื่นตัวเรื่องเขตแดนหลังจากฝรั่งเศสมายึดครอง ค.ศ. ๑๘๘๗
สถานการณ์ปักปันเขตแดนระหว่างเวียดนามกับกัมพูชา จากอนุสัญญา
กาหนดเขตแดนรเวียดนาม-กัมพูชา ปี ค.ศ. 1985 ลงนาม 10 ตุลาคม
ค.ศ. 2005 จะปักปันเขตแดนและจัดทาหลักเขตแดนให้แล้วเสร็จใน
เดือนธันวาคม คศ. 2008 แต่ไม่สามารถดาเนินการตามแผนที่กาหนด
ไว้ ต้องเลื่อนไปปี 2012
ระหว่างดาเนินการทั้งสองประเทศมีการกระชับสัมพันธ์ให้แน่นเเฟ้นยิ่ง
ขึ้นจากการเดินทางพบปะพูดคุยและเจรจากันของผู้นาประเทศ
สามารถจัดทาหลักเขตแดนแล้วเสร็จ 152 หลัก จาก 374 หลัก คิด
เป็น 40.64% 1
ข้ามความขัดแย้งในอดีต: ปักหมุดเขตแดนทางบกจีน-เวียดนาม
เขตแดนทางบกระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามกับสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน มีความยาวประมาณ ๑,๔๕๐ กิโลเมตร
หลังจากทาสงครามกันมานานก็มีความสัมพันธ์ระหว่างกันด้วย
สนธิสัญญาและการปักปันเขตแดนเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๔
มีความตกลงชั่วคราวว่าด้วยการแก้ไขปัญหาชายแดนระหว่างสอง
ประเทศ จนสาเร็จในเดือนธันวาคมปี พ.ศ. ๒๕๕๒
ปักหลักเขตแดนทั้งสิ้น ๑,๙๗๐ หลักแต่ละหลักห่างประมาณ ๖๐๐
เมตร นับว่ามีความถี่มากกว่าค่าเฉลี่ยปกติบนโลก ใช้ระยะเวลาเพียง ๒๐
ปีเท่านั้น
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
การฟื้ นฟูความสัมพันธ์และทาข้อตกลงร่วมกัน
ที่ประสบความสาเร็จ เพราะได้มองข้ามปัญหาความขัดแย้งที่เคยมี
ในอดีตและหันมาร่วมมือกันสร้างสันติภาพความเจริญให้เกิดขึ้น
ระหว่างภูมิภาคได้อย่างน่าชื่นชม
ก่อให้เกิดความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ, สังคม, วัฒนธรรม ระหว่าง
กันอย่างพึ่งพาอาศัยกันและเป็นผลดีกับทั้งสองฝ่าย
รัฐบาลทั้งสองได้ผ่านกระบวนการเจรจากัน ในปัญหาการปักหลักเขต
แดนทางบก ในพื้นที่ ๒๓๒ ตารางกิโลเมตร สุดท้ายได้ข้อสรุปที่เป็นที่
ยอมรับของทั้งสองฝ่ายว่าสาธารณรัฐประชาชนจีนได้พื้นที่ ๑๑๗.๑
ตารางกิโลเมตร สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ได้พื้นที่ ๑๑๔.๙
ตารางกิโลเมตร เป็นต้น
1
ภูมิศาสตร์ไข่แดงในยุโรป: การจัดการพื้นที่ข้าม
จินตนาการรัฐชาติ
กรณีหนึ่งหมู่บ้านสองแผ่นดิน เป็นกรณีตัวอย่างที่เห็นได้ชัด
ที่สุดในการปักปันเขตแดนในยุโรป หมู่บ้านดังกล่าวมีสภาพ
เป็นภูมิศาสตร์ไข่แดง
ส่วนของหมู่บ้านเรียกว่าบาร์เลอร์นาซเซาเป็นของประเทศ
เนเธอร์แลนด์ ส่วนบาร์เลอร์แฮร์ท็อกเป็นของประเทศเบลเยียม
สถานการณ์ประหลาดนี้เรียกว่า Enclave/Exclave หรือ
ภูมิศาสตร์แบบไข่แดง เป็นเรื่องปกติที่พบทั่วไปในยุโรปตั้งแต่
ยุคกลางเรื่อยมาจนถึงประมาณคริสต์ศตวรรษที่18-19
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
ใช้เรียกดินแดนส่วนหนึ่งของประเทศใดประเทศหนึ่งที่ไม่ได้ตั้งอยู่บน
แผ่นดินของประเทศตัวเอง แต่ตั้งอยู่บนแผ่นดินของประเทศอื่น
ซึ่งสาเหตุที่ทาให้เมืองของประเทศหนึ่งไปอยู่อีกประเทศหนึ่ง มีสาเหตุ
มาจากเงื่อนไขในอดีตก่อนเกิดพรมแดนแบบรัฐชาติ เช่น อาจจะมอบ
เมืองให้เป็นของกานันให้กัน เป็นต้น
1
ภูมิศาสตร์แบบไข่แดง
(Enclave/Exclave)
การเจรจาเรื่องเขตแดนของเบลเยี่ยมและเนเธอแลนด์
• เริ่มขึ้นอย่างจริงจังประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๒ ยืดเยื้อกันมานานเสร็จ
สมบูรณ์ในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ สามารถลงนามในข้อตกลง
ความร่วมมือข้ามพรมแดนและข้อตกลงนี้เริ่มมีผลบังคับใช้ในเดือน
เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๔ และเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ รวมการ
เจรจาใช้เวลา ๑๕๖ ปี
1
หอระฆัง: มรดกโลกข้ามพรมแดนภูมิภาคและรัฐชาติ
1
เบลเยียมและฝรั่งเศสร่วมมือกันขึ้นทะเบียนหอระฆังเป็นมรดกโลกแบบข้าม
พรมแดน ในปี ๑๙๙๕ หอระฆังจานวน ๓๒ แห่งในเบลเยียมได้รับการ ขึ้นทะเบียน
เป็นมรดกโลกแบบชุดหรือซีรีส์ ส่วนต่อขยายจาก
หอระฆัง ๓๒ หอของเบลเยียม ได้รับการขึ้นทะเบียนใน
คริสต์ศักราช ๑๙๙๙ เป็นสัญลักษณ์ของศาสนจักร และของ
อานาจผู้นาชุมชน เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ หอระฆัง
เหล่านี้ได้กลายเป็ นตัวแทนของความมั่งคั่งของเมือง
เบลเยียมและฝรั่งเศส ร่วมกันเสนอชื้อหอระฆังในฝรั่งเศสจานวน ๒๒ แห่งให้เป็น
มรดกโลกเพิ่มเติมจากที่เคยขึ้นทะเบียนไว้เมื่อ ค.ศ. ๑๙๙๙ ส่งผลให้เกิดมรดกโลกข้าม
พรมแดนรัฐชาติควบคู่ไปกับมรดกโลกข้ามพรมแดนภูมิภาค
บันทึกคาตัดสินของคณะกรรมการมรดกโลก
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
การขึ้นทะเบียนมรดกโลกเป็นชุดหรือซีรีส์ เป็นที่
น่าสนใจมาก เนื่องจากโบราณสถานเหล่านี้ตั้งอยู่ใน
หลายๆ เมืองและต่างภูมิภาคในประเทศเบลเยียม
หากมองในเชิงรัฐศาสตร์และสังคมนิยมวิทยาเนื้อที่
(Sociology of space)แล้ว สิ่งที่เบลเยียมทาเป็นการ
สร้าง "มรดกโลกข้ามพรมแดนภูมิภาค"
ทั้งวาโลเนียและแฟลนเดอร์เป็นภูมิภาคที่มีความ
แตกต่างทั้งภาษาและวัฒนธรรม มีรัฐบาลท้องถิ่น
ต่างกัน
กรณีของ "น้าตกอีกวาซู" (Iguazu falls)
1
สภาพภูมิศาสตร์และธรรมชาติของน้าตกอยู่ระหว่างอาร์เจนตินากับบราซิล เป็นดินแดนผืนเดียว มีเส้น
พรมแดนในน้าตก (พื้นที่น้าตกอาร์เจนฯ ๗๐ บราซิล ๓๐ ) อาร์เจนฯ เสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลกทาง
ธรรมชาติปี ๑๙๘๔ แล้วเกิดกรณีพิพาทกับบราซิล สุดท้ายแก้ปัญหาขัดแย้งด้วยบราซิลนาน้าตกส่วนของ
ตนขึ้นจดทะเบียนมรดกโลกกับยูเนสโกในปี ๑๙๘๗ ปัญหาจึงจบลงในเวลา ๓ ปี
1
ปัญหาปราสาทพระวิหารที่กัมพูชานาไปจดทะเบียนกับยูเนสโก ในปี ๒๕๕๑
ส่งผลให้พื้นที่รอบปราสาทพระวิหาร ไทยและกัมพูชาเกิดความขัดแย้งเรื่อยมา
จนเกิดเหตุรุนแรงถึงขั้นทหารปะทะกันทั้งสองฝ่ายใช้อาวุธยิงใส่กัน จนถึง
ขณะนี้ปัญหามรดกโลกปราสาทพระวิหารกินเวลามา ๓ ปีเช่นกัน
ปัญหาไทยกับกัมพูชา
เป็นปัญหาโครงสร้างในสาระของ
สนธิสัญญา ทัศนคติและค่านิยมที่
เริ่มต้นความสัมพันธ์ไม่ดีและ
ผลประโยชน์ขัดกัน รวมไปถึงข้อมูลที่
ไม่ตรงกัน
1
พื้นที่ทับซ้อน คือพื้นที่ทางบก
หรือทางทะเลซึ่งมีประเทศ
มากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์
เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจาก
ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมา
ทางประวัติศาสตร์ สงคราม
ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของ
ชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่ม
น้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ
1
แผนที่ประเทศไทย ปี คศ ๑๘๙๓(๒๔๓๖)
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
1
1
ความสาคัญเกี่ยวกับพรมแดน
พรมแดนของประเทศต่าง ๆ โดยมากกาหนดจาก ความ
ตกลงเป็นส่วนใหญ่ เช่น
 แบบฉันท์มิตร
 แบบโดยบังคับ
 แบบทาสัญญาหลังสงคราม
70
พุทธศักราช ๕๐๐-๖๐๐
1
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
UGLY THAILAND Benadig
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
พุทธศักราช ๖๐๐
A Publication by www.knowtheprophet.com 74
การเคลื่อนที่ของไทยโบราณ
ถึงปัจจุบัน
อาณาจักรน่านเจ้า
พ.ศ. ๑๑๙๓-๑๘๒๓
อาณาจักรกรุงสุโขทัย
พุทธศักราช ๑๘๒๒-๑๘๔๓
อาณาจักรภูกามยาว
พุทธศักราช ๑๖๐๐
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
พุทธศักราช ๒๑๓๓-๒๑๔๘
อาณาจักรกรุงธนบุรี
พุทธศักราช ๒๓๑๐-๒๓๒๕
อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์
อาณาเขตที่สูญเสียไปในสมัยต่างๆ
อาณาเขตที่สูญเสียไปในสมัยต่างๆ
เสียลาวเหนือ-
ใต้ให้ฝรั่งเศส
ปี๒๔๓๖(ร.๕)
เสียกาปงจาม
กาปงทม กาโพชพนมเปญ
ให้ฝรั่งเศส ปี๒๔๑๐(ร.๑)
เสียลาวเหนือ-ใต้ให้
ฝรั่งเศสปี๒๔๓๖(ร.๕)
เสียลาวเหนือ-
ใต้ให้ฝรั่งเศส
ปี๒๔๓๖(ร.๕)
เสียทะวาย มะริด
ตะนาวศรีให้พม่าปี
๒๓๓๖(ร.๑)
เสียไทรบุรีให้ฝรั่งเศสปี
๒๔๓๖(ร.๕)
เสียสิบสองจุไทให้
ฝรั่งเศสปี๒๔๓๑(ร.๕)
การเสียแผ่นดินบางส่วนของไทยให้กับต่างชาติ
ครั้งที่ ๑ เกาะหมาก ให้กับอังกฤษ
ครั้งที่ ๒ มะริด, ทวาย, ตะนาวศรี ให้กับพม่า
ครั้งที่ ๓ บันทายมาศ ให้กับฝรั่งเศส
ครั้งที่ ๔ แสนหวี เมืองพง เชียงตุง ให้กับพม่า
ครั้งที่ ๕ รัฐเปรัค ให้กับอังกฤษ
ครั้งที่ ๖ สิบสองปันนา ให้กับจีน
ครั้งที่ ๗ เขมร และเกาะอีก 6 เกาะ ให้กับฝรั่งเศส
1
ครั้งที่ ๘ สิบสองจุไท ให้กับฝรั่งเศส
ครั้งที่ ๙ ฝั่งซ้ายแม่น้าสาละวิน ให้กับอังกฤษ
ครั้งที่ ๑๐ ประเทศลาว ให้กับฝรั่งเศส
ครั้งที่ ๑๑ ฝั่งขวาแม่น้าโขง ให้กับฝรั่งเศส
ครั้งที่ ๑๒ พระตะบอง, เสียมราฐ, ศรีโสภณ ให้กับฝรั่งเศส
ครั้งที่ ๑๓ รัฐกลันตัน, ตรังกานู, ไทรบุรี, ปริส ให้กับอังกฤษ
ครั้งที่ ๑๔ เขาพระวิหาร ให้กับเขมร
สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
โครงสร้าง
สนธิและอนุสัญญา ข้อบังคับ
กฎหมาย กฎระเบียบ การ
จัดสรรทรัพยากรไม่ลงตัว
บทบาท ระบบราชการ
ภูมิศาสตร์
ค่านิยม
ความเชื่อที่ต่างกันไม่จาเป็นต้อง
ขัดแย้งเสมอไป อิทธิพลของ
จักรวรรดินิยม ความร่วมมือใน
การแก้ปัญหา ไม่อยากเข้าร่วม
หรือต่อต้าน หรือไม่มั่นใจ
1
ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ไม่สร้างสรรค์ในอดีตแต่เอามาใช้ใน
ปัจจุบัน อารมณ์ที่รุนแรง ความโกรธ ความไม่
พอใจ ความกังวล ความสิ้นหวัง เสียสมาธิในการ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง การรับรู้ที่ผิดพลาด มอง
แบบตายตัว การสื่อสารไม่ดี สัมพันธภาพเกิดขึ้น
ได้ถ้ามีการสื่อสาร ช่วยเพิ่มพลังความสามารถ
จัดการความขัดแย้ง
ผลประโยชน์
ฝ่ ายหนึ่งทาตามความต้องการของตน ให้
ตอบสนอง ต้องยอมแพ้ ใช้การแบ่งปันแทนที่ใช้
กระบวนการจัดการความขัดแย้ง เกิดได้ทั้ง พื้นที่
เงิน ทรัพยากร
ข้อมูล
แปลข้อมูลผิด ไม่มั่นใจในข้อมูล มีความเห็น
ต่างกัน
แก้ไขได้ง่ายแก้ไขได้ยาก
1
KING Institute
PeaceWar
IRMilitary Power
MOD
MOF
รมต.กห. ผบ.เหล่าทัพ กรมชายแดน หน่วยงานในพื้นที่ ประชาชน
Gov
รูปธรรม นามธรรม
การยึดครอง ทวีป ประเทศ เมือง พื้นที่ เฉพาะจุด
Peace Model
เขตแดนทางกายภาพ เขตแดนสายสัมพันธ์
เขตแดนทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ภาษา ศาสนาฯลฯ
คนไทยถูกสอนให้เชื่อเรื่องเขตแดนทางกายภาพมากกว่าเขตแดนสาย
สัมพันธ์
เขตแดนของกลุ่มประเทศอาเชียนจะลบเลือน
ประเทศในยุโรปมีความขัดแย้งเรื่องเขตแดนแต่จบด้วยการร่วมมือทาง
เศรษฐกิจ
87
88
ทิศทางของสถานการณ์โลกในอนาคต
สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง
ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุกภูมิภาค
ผลประโยชน์ของประเทศทับซ้อนกันมากขึ้น
ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ
บทบาทการรักษาสันติภาพถูกใช้กว้างขวางเพื่อผลประโยชน์ด้านอื่นๆ
ไม่มีประเทศใดสามารถทัดเทียมถ่วงดุลกับมหาอานาจของโลก
ประเทศต่างๆรวมกลุ่มความร่วมมือเพื่อต่อรองและถ่วงดุล
ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง
ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
สถานการณ์ด้านความมั่นคง
แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการ
สู้รบด้วยอาวุธ
ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความ
แตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมี
มาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
มีมาตราการป้ องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความ
ขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทาง
การเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มี
ผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
“Nothing contained in the present charter shall
authorize the UN to intervene in matters which
are essentially within the domestic jurisdiction
of any state or shall require the member to
submit such matters to settlement under the
present charter; But this principle shall not
prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.kpi.ac.th
ความขัดแย้งระหว่างรัฐ : สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
กรณีรัฐคู่กรณีไม่ยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาว่าความขัดแย้งดังกล่าวเป็น
ภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติ
– การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace)
– การกระทาในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression)
– จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับให้เกิดสันติภาพภายใต้กฎบัตรฯ หมวดที่ ๗
โดยสหประชาชาติอาจเข้าดาเนินการเอง หรืออนุมัติอานาจให้องค์กรภูมิภาค
เข้าดาเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดที่ ๘ Article 53 ข้อ 1
• ผลประโยชน์ของชาติทับซ้อน
• ปัญหาเขตแดน
• อิทธิพลจากภายนอก
• ความแตกต่างของการปกครอง
• ความขัดแย้งของปัจเจกบุคคลที่ถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน์
การก้าวข้ามนาชาติไทยไปสู่ความสันติสุข
• คนไทยต้องศึกษาประวัติศาสตร์ให้รู้ความเป็นมาของชาติไทย
• ลดทัศนคติที่มองเพื่อนบ้านเป็นศัตรู
• อยู่กับความจริง(Truth) ให้อภัยยกโทษให้กัน
(Forgiveness) ประนีประนอมคืนดีต่อกัน
(Reconciliation) เพื่อสร้างความปรองดองในภูมิภาค
• สงครามมิใช่ทางออกของปัญหา
• สันติมิใช่ทางเลือกในการจัดการปัญหา แต่เป็นทางเดียวที่จะ
จัดการปัญหาได้
1
Peace Country
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
Indicator
Internal Peace 60%
External Peace 40%
Perceptions of criminality in society 4
Number of internal security officers and police per 100,000 people 3
Number of homicides per 100,000 people 4
Number of jailed population per 100,000 people 3
Ease of access to weapons of minor destruction 3
Level of organized conflict (internal) 5
Likelihood of violent demonstrations 3
Level of violent crime 4
Political instability 4
Level of disrespect for human rights (Political Terror Scale) 4
Volume of transfers of major conventional weapons, as recipient
(Imports) per 100,000 people 2
1
Indicator
Potential for terrorist acts 1
Number of deaths from organized conflict (internal) 5
Military expenditure as a percentage of GDP 2
Funding for UN peacekeeping missions 2
Aggregate number of heavy weapons per 100,000 people 3
Volume of transfers of major conventional weapons as supplier
(exports) per 100,000 people 3
Military capability/sophistication 2
Number of displaced people as a percentage of the population 4
Relations with neighboring countries 5
Number of external and internal conflicts fought: 2003-08 5
Estimated number of deaths from organized conflict (external) 5
1
Rank Country Score
1 Iceland 1.148
2 New Zealand 1.279
3 Japan 1.287
4 Denmark 1.289
5 Czech Republic 1.320
6 Austria 1.337
7 Finland 1.352
8 Canada 1.355
9 Norway 1.356
10 Slovenia 1.358
11 Ireland 1.370
12 Qatar 1.398
13 Sweden 1.401
14 Belgium 1.413
15 Germany 1.416
16 Switzerland 1.421
17 Portugal 1.453
18 Australia 1.455
19 Malaysia 1.467
20 Hungary 1.495
21 Uruguay 1.521
22 Poland 1.545
23 Slovakia 1.576
24 Singapore 1.585
25 Netherlands 1.628
1
Rank Country Score
26 United Kingdom 1.631
27 Taiwan 1.638
28 Spain 1.641
29 Kuwait 1.667
30 Vietnam 1.670
31 Costa Rica 1.681
32 Laos 1.687
33 United Arab Emirates 1.690
34 Bhutan 1.693
35 Botswana 1.695
36 France 1.697
37 Croatia 1.699
38 Chile 1.710
39 Malawi 1.740
40 Romania 1.742
41 Oman 1.743
42 Ghana 1.752
43 Lithuania 1.760
44 Tunisia 1.765
45 Italy 1.775
46 Latvia 1.793
47 Estonia 1.798
48 Mozambique 1.809
49 Panama 1.812
50 South Korea 1.829
51 Burkina Faso 1.832
52 Zambia 1.833
Rank Country Score
53 Bulgaria 1.845
54 Namibia 1.850
55 Argentina 1.852
56 Tanzania 1.858
57 Mongolia 1.880
58 Morocco 1.887
59 Moldova 1.892
60 Bosnia and Hercegovina 1.893
61 Sierra Leone 1.904
62 The Gambia 1.910
63 Albania 1.912
64 Jordan 1.918
65 Greece 1.947
66 Paraguay 1.954
67 Cuba 1.964
68 Indonesia 1.979
69 Ukraine 1.995
69 Swaziland 1.995
71 Cyprus 2.013
72 Nicaragua 2.021
73 Egypt 2.023
74 Brazil 2.040
75 Equatorial Guinea 2.041
76 Bolivia 2.045
77 Senegal 2.047
78 Macedonia 2.048
79 Trinidad and Tobago 2.051
80 China 2.054
81 Gabon 2.059
82 United States of America 2.063
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
Rank Country Score
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
1
Respect for human rights
Political in stability
Organized crime
Violent demonstrations
Ease of access to weapons
Violent crimes
Hospitality to foreigners
Depth of regional integration
Relations with neighbors
Internal
Conflict
Global Peace
Index
Good
Governance
Internal
Integration
Wealth
Health
External Driver
Internal
Driver
ตัวชี้วัดการสร้างสังคมสันติสุข
1
การให้การต้อนรับชาวต่างชาติ
(Hospitality to foreigners)
การรวมกลุ่มในภูมิภาคอย่างลุ่มลึก
(Depth of regional integration)
การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศ
เพื่อนบ้าน
(Relations with neighbors)
รู้สึกว่าเป็ นประชาชนอาเซียน(ปี 2008)
1 LAOS 96.0%
2. Cambodia 92.7%
3. Vietnam 91.7%
4. Malaysia 86.8%
8. THAILAND 67.0%
9. Myanmar 59.5%
2. Laos 84.5%
4. THAILAND 68.0%
5. Malaysia 65.9%
7. Cambodia 58.8%
10. Myanmar 9.6%
คุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหน
อยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหน
1. Laos 100%
2. Cambodia 99.6%
5. Malaysia 92.9%
7. THAILAND 87.5%
10. Myanmar 77.8%
1 TV 78.4% 10 Family 18.2%
2 School 73.4% 11 Tourist 13.3%
3 News Paper 70.7% 12 Cinema 12.1%
4 Book 65.0% 13 Song 9.2%
5 Internet 49.9% 14 Work 6.1%
6 Radio 40.3%
7 Sport 34.1%
8 Advertising 31.6%
9 Peer 27.6%
รู้เกี่ยวกับอาเซียนจากที่ใด

More Related Content

Similar to King peace ssss3

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2kokoyadi
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3kokoyadi
 
การสูญเสียดินแดงของไทย
การสูญเสียดินแดงของไทยการสูญเสียดินแดงของไทย
การสูญเสียดินแดงของไทยKamonchanok VrTen Poppy
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 

Similar to King peace ssss3 (20)

Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3
 
การสูญเสียดินแดงของไทย
การสูญเสียดินแดงของไทยการสูญเสียดินแดงของไทย
การสูญเสียดินแดงของไทย
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

King peace ssss3