SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
กลุ่ม ที่ 8
   บทที่ 3 เรื่อ งคอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล
                  จัด ทำำ โดย
นำงสำวนำ้ำ ผึง ขำวสะอำด
             ้                      เลขที่ 3
นำงสำวกนิษ ฐำ มีฤ กษ์               เลขที่ 4
นำงสำวรัต นำวดี            วงษ์ธ ัญ กรณ์    เลขที่ 7
นำงสำวยลดำ สุท ธิป ระภำ             เลขที่ 10
นำงสำวกำญจนำภรณ์ ยอดชมญำณ เลขที่ 11
        ชั้น มัธ ยมศึก ษำปีท ี่ 4/10
                     เสนอ
         อำจำรย์ อำรีย ์ บุญ รัก ษำ
      โรงเรีย นจอมสุร ำงค์อ ุป ถัม ภ์
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคล

3. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล
3.1 องค์ป ระกอบของคอมพิว เตอร์

          คอมพิวเตอร์ (computer) เป็นอุปกรณ์ทประกอบด้วยวงจร
                                                ี่
อิเล็กทรอนิกส์และไอซี (Integrated Circuit : IC) ต่ำงๆ มำกมำย ซึ่งสำมำรถ
จดจำำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทำงตรรกศำสตร์คำำนวณ
ทำงคณิตศำสตร์ สำมำรถใช้ช่วยในกำรออกแบบและสร้ำงงำนกรำฟิกได้
อีกทั้งยังตอบสนองควำมต้องกำรด้ำนอื่นๆ ได้อย่ำงหลำกหลำย

          คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐำน 5 หน่วย ได้แก่
หน่วยรับเข้ำ (input unit) หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing
Unit : CPU) หน่วยควำมจำำ (memory unit) หน่วยส่งออก (output unit) และ
หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) แต่ละหน่วยทำำหน้ำที่ประสำนกัน
รูปที3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
     ่
•  3.2 หลัก กำรทำำ งำนของคอมพิว เตอร์

•           กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะเริ่มจำกผู้ใช้ป้อนข้อมูล
  ผ่ำนทำงอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้ำ (input device) เช่น คีย์บอร์ด
  เมำส์ ข้อมูลจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญำณดิจิทัล ซึ่งประกอบ
  ด้วย 0 และ 1 แล้วส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผลกลำง เพื่อ
  ประมวลผลตำมคำำสั่ง ในระหว่ำงกำรประมวลผล หำกมีคำำสั่งให้
  นำำผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลไปจัดเก็บในหน่วยควำมจำำ ข้อมูล
  ดังกล่ำวจะถูกส่งไปยังแรม (Random Access Memory : Ram) ซึ่ง
  ทำำหน้ำที่เก็บข้อมูลจำกกำรประมวลผลเป็นกำรชั่วครำว ขณะ
  เดียวกัน อำจมีคำำสั่งให้นำำผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลดังกล่ำวไป
  แสดงผลผ่ำนทำงอุปกรณ์ของหน่วยส่งออก เช่น จอภำพ หรือ
  เครื่องพิมพ์ นอกจำกนี้เรำสำมำรถบันทึกข้อมูลที่อยู่ในแรมลงใน
  อุปกรณ์ของหน่วยเก็บข้อมูล เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี เพื่อนำำ
  ข้อมูลดังกล่ำวกลับมำใช้อีกในอนำคต โดยกำรอ่ำนข้อมูลที่
  บันทึกในสื่อดังกล่ำวผ่ำนทำงเครื่องขับหรือไดร์ฟ (drive) กำรส่ง
รูปที3.2 กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์
     ่
3.2.1 ซีพ ีย ู และกำรประมวลผลข้อ มูล
          ซีพ ีย ู (Central Processing Unit : CPU) มี
ลักษณะเป็นชิป (chip) ที่ติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ด
ภำยในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งชิปดังกล่ำวเป็นสำร
กึ่งตัวนำำขนำดเล็ก ภำยในบรรจุวงจรอิเล็กรอนิกส์
ต่ำงๆ ไว้มำกมำย โดยวงจรจะประกอบด้วย
ทรำนซิสเตอร์ขนำดเล็กเป็นจำำนวนมำก บำงครั้งจึง
                 รูปที่3.3 ตัวอย่ำงของซีพียู
เรียกชิปต่ำงๆ ว่ำ ไอซี
• วงรอบกำรทำำ งำนของคำำ สั่ง (machine cycle)
         กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะต้องทำำตำมโปรแกรมที่
  กำำหนดไว้ในหน่วยควำมจำำ โดยโปรแกรมเกิดจำกกำรนำำคำำสั่ง
  มำต่อเรียงกัน เมื่อคอมพิวเตอร์ทำำงำน หน่วยควบคุมทำำกำรอ่ำน
  คำำสังต่ำงๆ เข้ำมำประมวลผลในซีพียู โดยวงรอบของกำรทำำคำำ
       ่
  สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนกำรทำำงำนพื้นฐำน 4 ขั้นตอน
  ดังนี้
            1. ขั้น ตอนกำรรับ เข้ำ ข้อ มูล (fetch) เริ่มแรกหน่วย
  ควบคุมรับรหัสคำำสั่งและข้อมูลที่จะประมวลผลจำกหน่วยควำมจำำ
            2. ขั้น ตอนกำรถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคำำสั่งเข้ำ
  มำอยู่ในซีพียูแล้ว หน่วยควบคุมจะถอดรหัสคำำสั่งแล้วส่งคำำสัง  ่
  และข้อมูลไปยังหน่วยคำำนวณและตรรกะ
            3. ขั้น ตอนกำรทำำ งำน (execute) หน่วยคำำนวณและ
  ตรรกะทำำกำรคำำนวณโดยใช้ข้อมูลทีได้รับมำถอดรหัสคำำสั่ง และ
                                       ่
  ทรำบแล้วว่ำต้องทำำอะไร ซีพียูก็จะทำำตำมคำำสั่งนั้น
            4. ขั้น ตอนกำรเก็บ (store) หลังจำกทำำคำำสั่งก็จะเก็บ
  ผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในหน่วยควำมจำำ
            
• ซีพ ีย ูย ุค เก่ำ  กำรทำำคำำสั่งแต่ละคำำสั่งจะต้องทำำวงรอบคำำสั่งให้
  จบก่อน จำกนั้นจึงทำำวงรอบคำำสั่งของคำำสั่งต่อไป สำำหรับซีพียู
  ในยุคปัจจุบันได้มีกำรพัฒนำให้ทำำงำนได้เร็วขึ้น โดยมีกำรแบ่ง
  วงรอบคำำสั่งนี้เป็นวงรอบย่อยๆ อีก มีกำรนำำเทคนิคกำรทำำงำน
  แบบสำยท่อ (pipeline) มำใช้ โดยขณะที่ทำำวงรอบคำำสั่งแรกอยู่
  ก็มีกำรอ่ำนรหัสคำำสั่งของคำำสั่งถัดไปเข้ำมำด้วย ซึ่งจะทำำให้กำร
  ทำำงำนโดยรวมของซีพยูเร็วขึ้นมำก
                             ี
•
•           หน่ว ยควบคุม  (control unit) เป็นหน่วยที่ทำำหน้ำที่
  ประสำนงำน และควบคุมกำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์ ควบคุมให้
  อุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลไปที่หน่วยควำมจำำ ติดต่อกับอุปกรณ์
  แสดงผลเพื่อสั่งให้นำำข้อมูลจำกหน่วยควำมจำำไปยังอุปกรณ์
  แสดงผล โดยหน่วยควบคุมของคอมพิวเตอร์จะแปลควำมหมำย
  ของคำำสั่งในโปรแกรมของผุ้ใช้ และควบคุมให้อุปกรณ์ต่ำงๆ
  ทำำงำนตำมคำำสั่งนั้นๆ
            หน่ว ยคำำ นวณและตรรกะ หรือ เอแอล
  ยู (Arithmetic-Logic Unit : ALU) เป็นหน่วยที่ทำำหน้ำที่ในกำร
  คำำนวณต่ำงๆ ทำงคณิตศำสตร์ ได้แก่ กำรบวก ลบ คูณ หำร
  และเปรียบเทียบทำงตรรกะ เพื่อทำำกำรตัดสินใจ เช่น กำรเปรียบ
  เทียบข้อมูล กำรเปรียบเทียบว่ำจริงหรือเท็จ
            กำรทำำงำนของเอแอลยู จะรับข้อมูลจำกหน่วยควำมจำำ
รูปที่ 3.4 หน่วยควำมจำำแบบแฟลซที่
อยู่บนเมนบอร์ด
• 3.2.2 หน่ว ยควำมจำำ และกำรจัด เก็บ ข้อ มูล
            หน่วยควำมจำำ (memory unit) เป็นส่วนประกอบที่สำำคัญ
  บนเมนบอร์ดที่ทำำงำนร่วมกับซีพียูโดยตรง หน่วยควำมจำำแบ่ง
  ออกเป็น 2 ชนิด คือ
            1) หน่ว ยควำมจำำ แบบไม่ส ำมำรถลบเลือ น
  ได้ (non volatile memory) เป็นหน่วยควำมจำำที่สำมำรถเก็บข้อ
  มุลได้ แม้ว่ำไม่มีกระแสไฟฟ้ำหล่อเลียง ตัวอย่ำงของหน่วยควำม
                                      ้
  จำำชนิดนี้ เชี่น รอม และหน่วยควำมจำำแบบแฟรซ
            - รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยควำมจำำ
  แบบอ่ำนได้อย่ำงเดียวไม่สำมำรถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้
            - หน่วยควำมจำำแบบแฟรซ (flash memory) เป็นหน่วย
  ควำมจำำที่สำมำรถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้
            ในเครื่องคอมพิวเตอร์มีกำรใช้รอมในกำรเก็บไบออส
  (Basic Input Output System : BIOS) ไบออสทำำหน้ำที่เก็บข้อมูล
  โปรแกรมและคำำสั่งพืนฐำนที่สำำคัญในกำรเริ่มต้นกระบวนกำร
                        ้
  บูต (boot) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันได้เปลียนมำใช้
                                                       ่
2) หน่ว ยควำมจำำ แบบลบเลือ นได้ (volatile memory) เป็น
หน่วยควำมจำำที่ต้องใช้กระแสไฟฟ้ำหล่อเลี้ยงเพื่อเก็บข้อมูล หำกเกิด
ไฟฟ้ำดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำำสั่งจะสูญหำยไป หน่วยควำมจำำชนิดนี้
เช่น แรม
          แรม (Random Access Memory : RAM) สำมำรถแบ่งออก
เป็น 2 ประเภท คือ
          1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัว
ซีพยูทำำหน้ำที่เป็นหน่วยควำมจำำภำยในซีพียูที่เรียกว่ำหน่วยควำมจำำ
    ี
แคช ซึ่งจะมีควำมเร็วสูงกว่ำไดนำมิกแรม
          2. ไดนำมิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วย
ควำมจำำทีใช้ในกำรจดจำำข้อมูลและโปรแกรมต่ำงๆ ที่อยู่ระหว่ำงกำร
            ่
ประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยควำมจำำที่มีอยู่ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมำกที่สุด เนืองจำกรำคำไม่แพงและมี
                                           ่
ควำมจุสูง
รูปที่3.5 ก เอสแรม 
รูปที่3.5 ข ดีแรม
ในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้าต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดง
ผลการบวกตัวเลขสองจำานวน ซีพียูจะต้องติดต่อกับแรมที่ใช้เก็บชุดคำาสั่ง
และข้อมูลต่างๆ ไว้




       รูปที่3.6 แสดงผลชุดคำาสั่งทีผ่านการประมวลผลจากซีพียู
                                   ่
• 3.2.3 ระบบบัส กับ การทำา งานร่ว มกัน ของคอมพิว เตอร์
  และอุป กรณ์ต ่า งๆ
            ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีเมนบอร์ดที่สามารถติดตั้ง
  อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู หน่วยความจำาและฮาร์ดดิสก์ โดยการ
  ส่งข้อมูลและคำาสั่งระหว่างอุปกรณ์ จะอยู่ในรูปของสัญญาณ
  ไฟฟ้าที่ถกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลที่เรียกว่าบัส (bus)  
           ู




                       รูปที่3.7 ระบบบัส
•           ขนาดของบัส (bus width) กำาหนดโดยจำานวนบิตที่
  คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ในหนึ่งครั้ง ตัวอย่าง
  เช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 32 บิต บัส
  ขนาด 64 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 64 บิต เป็นต้น
  บัสที่มีจำานวนบิตมากจะทำาให้การรับส่งข้อมูลของระบบ
  คอมพิวเตอร์ทำาได้เร็วขึ้น
            การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็นจำานวนครั้งที่รับส่ง
  ข้อมูลได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น
  บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี้สามารถรับส่ง
  ข้อมูลได้หนึ่งล้านครั้งต่อวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบใน
  ปัจจุบันจะมีค่าความเร็วบัสเป็น 667,800,1066 หรือ 1333 
  MHz ถ้าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความว่าสามารถรับส่ง
  ข้อมูลได้เร็ว ก็จะทำาให้เวลาการทำางานของโปรแกรมเร็ว
 
•3.3 การเลือ กซื้อ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ใ ห้เ หมาะสมกับ
งาน
          เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้
สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทำาได้งาย มีให้เลือก
                                               ่
หลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนำา
คอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทำางานด้านใด เนื่องจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้กบงานทุกประเภท หรือใช้งาน
                               ั
เฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ จะถูกลง แต่ผุ้
ใช้ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อ
ให้คุ้มค่ากับจำานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซ้อเครื่อง
คอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
•           - งานเอกสาร หรือ งานในสำา นัก งาน  เป็นการใช้
  คอมพิวเตอร์สำาหรับจัดการด้านเอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ ทำา
  การ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อ
  สื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น
  ซอฟต์แวร์ประมวลคำา และซอฟต์แวร์ตารางทำางาน เครื่อง
  คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้ไม่จำาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มี
  ความเร็วสูง คือประมาณ1GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่าง
  น้อย 1GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17-
  19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมอง
  จอภาพตลอดเวลา
            - งานกราฟิก  เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สำาหรับการ
  ตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียนใช้งานกราฟิกหลายๆ
  โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟต์แวร์กราฟิกในการสร้างชิ้น
  งาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนำาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์
  ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจำานวนมาก
  ที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลือนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงาน
                            ่
  ประเภทนี้จำาเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึง
  ค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไป ใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้น
  ไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลจำานวน
  มาก
•           - งานออกแบบที่ต อ งแสดงผลเป็น  3 มิต ิ เป็นการ
                               ้
  ใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์
  สร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น (animation) ตัดต่อวีดทัศน์ ตัดต่อเพลง
                                                  ิ
  เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิกสูง และงานประเภทนี้ต้องการเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคำานวณ และแสดงภาพ
  ความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียที่มีความเร็วสูงไม่
                                                ู
  น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดจอแสดงผลที่
  สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพ
  ขนาดไม่ตำ่ากว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสำารองไฟเนื่องจาก
  การทำางานประเภทนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องใช้เวลาในการ
  ประมวลผลนาน ถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกใน
  การเริมงานใหม่
            ่
• 3.4 การเลือ กซ้อ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ และอุป กรณ์
            สำาหรับผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มา
  ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
  จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชือถือได้
                                                       ่
  เนื่องจากผู้ผลิตได้เลือกอุปกรณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมมาประกอบ
  เป็นเครืองคอมพิวเตอร์อยูแล้ว 
              ่                  ่
รูปที่3.8 ตัวอย่างชุดเซ็ตคอมพิวเตอร์
 
      สำาหรับผู้ใช้ที่ต้องการเลือกซื้อชิ้นส่วนต่างๆ มา
ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ต้องการหรือ
เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ซีพยู เมนบอร์ด
                                            ี
และแรม อุปกรณ์เหล่านี้มีการปรับเปลียนเทคโนโลยี
                                          ่
รูปที3.9 อุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์
     ่
• ปัจ จัย ในการพิจ ารณาเลือ กซื้อ ซีพ ีย ู
            1) บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้น
  นำา 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel Corporation) และบริษัทเอ
  เอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มี
  การผลิตซีพียูทแบ่งตามจำานวนของแกนประมวลผล (Processing 
                    ี่
  core)
• 2) ความเร็วของซีพยู ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับความถี่
                       ี
  สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่คอยกำาหนดจังหวะ
  การทำางานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณ
  ดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้าน
  ครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ (gigahertz) หรือพันล้านครั้ง
  ต่อวินาที
            3) หน่วยความจำาแคช (cache) ในซีพียูมีหน่วยความจำา
  แคช ซึ่งเป็นหน่วยความจำาความเร็วสูงเพื่อให้การทำางานเร็วขึ้น
  เนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจำาเป็นที่ต้องมีหน่วย
  ความจำาแคช เป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทำางานร่วมกัน
  ได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณาเลือกซื้อซีพียูที่มีความจุของหน่วย
  ความจำาแคชมาก
            4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่าง
  ซีพียูและอุปกรณ์อื่นๆ ควรพิจารณาซีพียูที่มีความเร็วบัสสูงและ
  สอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อน เช่น เมนบอร์ด และแรม
                                       ื่
หน่วยความจำาแคช
ตารางที 3.2 การเลือกใช้ซพียให้
       ่                ี ู
เหมาะสมกับงาน
•           3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard) หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์
  บอร์ด หรือโมโบ (motherboard : mobo) เป็นแผงวงจรหลักของ
  คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปจะประกอบด้วยช่องสำาหรับติดตั้งซีพียู
  ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสำาหรับติดตั้งหน่วยความจำา สายสัญญาณ
  และบัสต่างๆ ขั้วต่อสำาหรับ
• เชื่อมต่ออุปกรณ์เสรามภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟและ
  พอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และ คีย์บอร์ด 
• โดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุด
  คอมพิวเตอร์สำาเร็จ อาจระบุเฉพาะชนิด หรือจำานวนของ
  พอร์ต และสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่งเป็น
  ส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น ตัวอย่างชนิด
  ของพอร์ตและสล็อตทีระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์
                       ่
  สำาเร็จ 

                                   รูปที3.12 ตัวอย่าง
                                        ่
                                   ชนิดพอร์ตและ
                                   สล็อต
รูปที่3.13 ตัวอย่างรายละเอียดเมนบอร์ด
รูปที่3.14 พอร์ตเชื่อมต่อ
อุปกรณ์ภายนอกแบบต่างๆ
ตารางที 3.3
       ่
ตารางที 3.4
       ่
•           3.4.3 แรม ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนำามาใช้งรานกับพีซี มักจะ
  เป็นแรมชนิดดีดีอาร์เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous 
  Dynamic RAM : DDR SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้
  ตรงกับสล็อตหน่วยความจำาบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
  ทั่วไปควรให้ความสำาคัญในลำาดับต่อมาคือ ขนาดความจุ และความเร็ว
  ซึ่งเป็นปัจจัยสำาคัญที่ต้องนำามาพิจารณาด้วย




                รูปที3.15 ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะ
                     ่
รูปที่3.16 ตัวอย่างของแรมชนิดต่างๆ
• ปัจ จัย ในการพิจ ารณาเลือ กซือ แรม
                                  ้
            1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซือ     ้
  ให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจำาบนเมนบอร์ด แรมทีใช้   ่
  ในพีซี เช่น DDR , DDR2และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิด
  จะมีตำาแหน่งรอยบากทีแตกต่างกัน เพื่อให้สามารถ
                         ่
  เสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง
            2) ความจุ ปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่
  ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน
                                           ี่
  ด้านกราฟิกหรือมัลติมเดียระดับสูง จะใช้แรมทีมความจุ
                       ี                      ่ ี
  สูงขึ้นตามไปด้วย สำาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
  มักจะติดตั้งแรมความจุ 1 GB ขึ้นไป
•           บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสำาหรับติดตั้ง
  แรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้อง
  เป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของ
  พีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทังหมด ้




            รูปที3.17 การติดตั้งแรมบนเมนบอร์ด
                 ่
•           3) ความเร็ว ของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง
  จำานวนครั้งที่สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที
  โดยมีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มี
  ความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผุ้ใช้งานต้องเลือกความเร็ว
  ของแรมให้สอดคล้องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย
  ตัวอย่างเช่น ถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด (FSB) ทำางานด้วย
  ความเร็ว 1,066 MHz แต่นำาแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มา
  ใช้งานจะได้สามารถทำางานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้
  ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้กับการ
  ที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถงจุดหมาย
                             ึ
            ในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการ
  จำาแนกรุ่นของแรม เช่น PC2-5400 คือ แรมชนิด DDR2 – 
  667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400 
  MB/s หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่ง
  วินาที (คำานวณจาก 667 MHz X 8 ไบต์) 
รูปที3.18 ระบบบัสบนเมนบอร์ด
     ่
•           3.4.4 ฮาร์ด ดิส ก์ (hard disk) เป็นอุปกร์ในการเก็บข้อมูล
  ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซีโดยทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว
  สำาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้วนั้นนิยมใช้กับโน๊
  ตบุ๊ก 




                         รูปที่3.19 ฮาร์ดิสก์
•           การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กบปัจจัยหลาย
                                                  ั
  อย่างด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และความเร็ว
  รอบของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำาให้ฮาร์ดดิสก์มีราคาที่แตก
  ต่างกัน 




         รูปที3.20 การระบุคุณลักษณะของฮาร์ดิสก์
              ่
• ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์
            1) การเชื่อ มต่อ  มาตรฐานการเชื่อมต่อของ
  ฮาร์ดดิสก์ทใช้งานอยูบนพีซีในปัจจุบัน ใช้
                ี่            ่
  มาตรฐาน EIDE และ SATA ทังนีขึ้นอยู่กบเมนบอร์ดว่า
                                 ้ ้         ั
  รองรับการเชื่อมต่อแบบใด
            2) ความจุข ้อ มูล  มีหน่วยเป็น กิกะไบท์
  (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่งขนาดความจุข้อมูลของ
  ฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กบความต้องการของผู้ใช้งาน
                            ั
            3) ความเร็ว รอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุน
  ของฮาร์ดดิสก์เพือให้หัวอ่าน-เขียน เข้าถึงข้อมูล
                          ่
  ฮาร์ดดิสก์ทมความเร็วรอบสูงจะทำาให้มอัตราเร็วในการ
                   ี่ ี                    ี
  รับส่งข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมี
  ความเร็วรอบอยูที่ 7,200 รอบต่อนาที (rpm)
                        ่
•  
รูปที3.21 การเชื่อมต่อ
     ่
แบบSATA และ EIDE
•           3.4.5 การ์ด แสดงผล (display card, graphics 
  card หรือ  video card) ทำาหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลมาเป็น
  สัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ดแสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ด
  หรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว
            การที่ผุ้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผลเนื่องจาก
  ต้องการใช้กบงานที่ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด
                   ั
  ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสำาเร็จที่ผู้ขายจัดให้อาจไม่สามารรถแสดงผล
  ภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับปัจจัยในการ
  พิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น ชิปประมวลผล กราฟิก
  การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจำาบนก




               รูปที3.22 การระบุคุณลักษณะของการ์ด
                    ่
               แสดงผล
ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล
          1) ชิป ประมวลผลกราฟิก หรือ จีพ ีย ู (graphic 
processing unit : GPU) เป็นอุปกรณ์พเศษทีเพิ่มความเร็วในการแสดง
                                          ิ     ่
ผลโดยลดภาระซีพียูในการคำานวณข้อมูลที่จะส่งไปที่จอภาพ
ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพสามมิติ
อาจใช้ชิปของบริษัท nVIDIA รุ่น
GForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000
          2) การเชื่อ มต่อ  มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และ
บัส AGP โดย PCI Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้
ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มีประสิทธิภาพรองลงมา
          3) ความจุข องหน่ว ยความจำา บนการ์ด  หน่วยความจำาบน
การ์ด (Video RAM) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอ
คอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำามาก จะทำาให้แสดงภาพ
มัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจำาบน
ตัวการ์ด เช่น DDR3 512 MB
          3.4.6 ออปติค ัล ดิส ก์ไ ดร์ฟ (optical disk drive) ที่ใช้กนใน
                                                                   ั
ปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุก
รูปที่3.23 การระบุค่า
ความเร็วของการเขียน
รูปที่3.24 เคสของเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบต่างๆ
          3.4.8 จอภาพ (monitor) ที่พบจะมีอยู่สองประเภทคือ จอซีอาร์ที
(Cathode Ray Tube : CRT) และจอแอลซีดี (Liquid Crystal Display : 
LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดีเป็นที่นิยมมากเนื่องจากมีราคาถูก ถนอม
สายตา ประหยัดพลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัดวางน้อย
 




                รูปที่3.25 คุณลักษณะของจอภาพ
ปัจ จัย ในการเลือ กซื้อ จอภาพ  เช่น
          - ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จำานวนจุด
หรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความละเอียดสูงจะทำาให้ภาพคมชัด
มากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็น
จอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนว
ตั้ง1050 จุด
          - ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น
จอ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว
          นอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง
(brightness) และความเปรียบเทียบต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การ
แสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัวประสานงาน
ระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ด
แสดงผลนี้ จอภาพโดยทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics 
Array : VGA) ซึ่งเป็นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล
จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface : 
• 3.5 การรับ ประกัน อุป กรณ์ค อมพิว เตอร์
            อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกัน
  อายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีระยะ
  เวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกัน
  ตลอดอายุการใช้งาน (life time) และฮาร์ดดิสก์
  อาจรับประกัน 1-5 ปี โดยอายุของการรับประกัน
  ที่นานขึ้น อาจมีผลทำาให้ราคาสูงขึ้น บน
  อุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์รับประกันติดอยู่
  บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการฉีกขาด การรับ
  ประกันจะสินสุดลงทันที ดังนันจึงควรระมัดระวัง
               ้              ้
  เมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
• 3.6 ข้อ แนะนำา การดูแ ลและบำา รุง รัก ษาเครื่อ งคอมพิว เตอร์
  เบื้อ งต้น
         1. ไม่ควรเปิดฝาคอมพิวเตอร์โดยไม่จำาเป็น เนื่องจากอาจมี
  โลหะที่นำาไฟฟ้าเข้าไปในเครืองทำาให้เกิดการลัดวงจร หรือมีฝุ่น
                                 ่
  เข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทำาให้วงจร
  คอมพิวเตอร์ทำางานผิดพลาดได้
         2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง
  เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ้น
         3. ไม่ควรตั้งคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่าง
  เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้
         4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็ก หรือ
  ลำาโพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะทำาให้การแสดงภาพ
  ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง
         5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชาก ควรมีเครื่องสำารอง
  ไฟยูพเอส (Uninterruptible power supply : UPS)
            ี
         6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่อง เพื่อถนอมอายุ
  การใช้งานเครือง การทำางานในโหมดนี้จะทำาให้ฮาร์ดดิสก์และ
                    ่
  ซีพียูทำางานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กำาหนด
• 3.7 การแก้ป ัญ หาเบื้อ งต้น ของพีซ ี
            เครื่องคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นอุปกรณ์ที่ทนต่อการใช้งาน
  ถ้าหากใช้งานเครื่องอย่างถูกวิธีตามคำาแนะนำาที่กล่าวมา แต่
  อย่างไรก็ตามมีบางปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งผู้ใช้สามารถแก้ไข
  เบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง เช่น
            1. เครื่องหยุดทำางานขณะใช้งานอยู่ 
            สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกำาลังไฟฟ้าไม่พอ
  อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กบคอมพิวเตอร์เป็นจำานวนมาก
                                     ั
            การแก้ไ ข นำาอุปกรณ์ที่ไม่จำาเป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ออกไป หรือเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟที่มีกำาลังไฟฟ้ามาก
  ขึ้น
            2. เปิดเครื่องแล้วปรากฏข้อความว่า “DISK BOOT 
  fAILURE, INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER”
            สาเหตุ เครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์ หรือระบบปฏิบัติการบน
  ฮาร์ดดิสก์เสียหาย
            การแก้ไ ข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์
  ในตำาแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบน
  ฮาร์ดดิสก์
            3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้
            สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก
            การแก้ไ ข ให้ใช้แผ่นซีดีทำาความสะอาดหัวอ่าน โดย
  ใส่แผ่นซีดีสำาหรับทำาความสะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาด

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 

What's hot (12)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 

Viewers also liked

กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
Change management
Change managementChange management
Change managementmehak1990
 
AOS STUDLEY Corporate flipbook eng
AOS STUDLEY Corporate flipbook engAOS STUDLEY Corporate flipbook eng
AOS STUDLEY Corporate flipbook engJUAN MOSQUERA
 
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATE
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATEAOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATE
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATEJUAN MOSQUERA
 
Occupancy Cost Index 2012 AOS Studley
Occupancy Cost Index 2012 AOS StudleyOccupancy Cost Index 2012 AOS Studley
Occupancy Cost Index 2012 AOS StudleyJUAN MOSQUERA
 
Press kit AOS Studley 2013
Press kit AOS Studley 2013Press kit AOS Studley 2013
Press kit AOS Studley 2013JUAN MOSQUERA
 
ข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรมข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรมSopa Ranong
 
Memtracer
MemtracerMemtracer
Memtracerswkim79
 
Ssd 성능시험 cubrid mysql
Ssd 성능시험 cubrid mysqlSsd 성능시험 cubrid mysql
Ssd 성능시험 cubrid mysqlswkim79
 
A basílica da estrela lisboa - portugal
A basílica da estrela   lisboa - portugalA basílica da estrela   lisboa - portugal
A basílica da estrela lisboa - portugalManuel Ferreira
 
Lisboa
LisboaLisboa
Lisboa20014
 
Evolucion de los procesadores
Evolucion de los procesadoresEvolucion de los procesadores
Evolucion de los procesadoresacosta94
 
Refrigeracion de un procesador
Refrigeracion de un procesadorRefrigeracion de un procesador
Refrigeracion de un procesadoralejoandm
 

Viewers also liked (20)

กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
Aqa 2130-w-trb-swa2
Aqa 2130-w-trb-swa2Aqa 2130-w-trb-swa2
Aqa 2130-w-trb-swa2
 
Change management
Change managementChange management
Change management
 
AOS STUDLEY Corporate flipbook eng
AOS STUDLEY Corporate flipbook engAOS STUDLEY Corporate flipbook eng
AOS STUDLEY Corporate flipbook eng
 
Variseal gb en
Variseal gb enVariseal gb en
Variseal gb en
 
Aoscope n°7 ENG
Aoscope n°7 ENGAoscope n°7 ENG
Aoscope n°7 ENG
 
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATE
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATEAOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATE
AOS STUDLEY 7 KEYS TO COST REDUCTION IN REAL ESTATE
 
Occupancy Cost Index 2012 AOS Studley
Occupancy Cost Index 2012 AOS StudleyOccupancy Cost Index 2012 AOS Studley
Occupancy Cost Index 2012 AOS Studley
 
Press kit AOS Studley 2013
Press kit AOS Studley 2013Press kit AOS Studley 2013
Press kit AOS Studley 2013
 
ข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรมข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรม
 
Memtracer
MemtracerMemtracer
Memtracer
 
Uka
UkaUka
Uka
 
Ssd 성능시험 cubrid mysql
Ssd 성능시험 cubrid mysqlSsd 성능시험 cubrid mysql
Ssd 성능시험 cubrid mysql
 
A basílica da estrela lisboa - portugal
A basílica da estrela   lisboa - portugalA basílica da estrela   lisboa - portugal
A basílica da estrela lisboa - portugal
 
Lisboa
LisboaLisboa
Lisboa
 
Evolucion de los procesadores
Evolucion de los procesadoresEvolucion de los procesadores
Evolucion de los procesadores
 
Refrigeracion de un procesador
Refrigeracion de un procesadorRefrigeracion de un procesador
Refrigeracion de un procesador
 
Mundo Animal
Mundo AnimalMundo Animal
Mundo Animal
 
Blog da História
Blog da HistóriaBlog da História
Blog da História
 
Ejercitémonos 2 correcion
Ejercitémonos  2 correcionEjercitémonos  2 correcion
Ejercitémonos 2 correcion
 

Similar to งานโฟม

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลparinee
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลnoooom
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทBabymook Juku
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมnoooom
 

Similar to งานโฟม (20)

Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบท
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อมหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ อ้อม
 

งานโฟม

  • 1. กลุ่ม ที่ 8 บทที่ 3 เรื่อ งคอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล จัด ทำำ โดย นำงสำวนำ้ำ ผึง ขำวสะอำด ้ เลขที่ 3 นำงสำวกนิษ ฐำ มีฤ กษ์ เลขที่ 4 นำงสำวรัต นำวดี วงษ์ธ ัญ กรณ์ เลขที่ 7 นำงสำวยลดำ สุท ธิป ระภำ เลขที่ 10 นำงสำวกำญจนำภรณ์ ยอดชมญำณ เลขที่ 11 ชั้น มัธ ยมศึก ษำปีท ี่ 4/10 เสนอ อำจำรย์ อำรีย ์ บุญ รัก ษำ โรงเรีย นจอมสุร ำงค์อ ุป ถัม ภ์
  • 2. บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล 3. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล 3.1 องค์ป ระกอบของคอมพิว เตอร์           คอมพิวเตอร์ (computer) เป็นอุปกรณ์ทประกอบด้วยวงจร ี่ อิเล็กทรอนิกส์และไอซี (Integrated Circuit : IC) ต่ำงๆ มำกมำย ซึ่งสำมำรถ จดจำำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทำงตรรกศำสตร์คำำนวณ ทำงคณิตศำสตร์ สำมำรถใช้ช่วยในกำรออกแบบและสร้ำงงำนกรำฟิกได้ อีกทั้งยังตอบสนองควำมต้องกำรด้ำนอื่นๆ ได้อย่ำงหลำกหลำย           คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐำน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้ำ (input unit) หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยควำมจำำ (memory unit) หน่วยส่งออก (output unit) และ หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) แต่ละหน่วยทำำหน้ำที่ประสำนกัน
  • 4. •  3.2 หลัก กำรทำำ งำนของคอมพิว เตอร์ •           กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะเริ่มจำกผู้ใช้ป้อนข้อมูล ผ่ำนทำงอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้ำ (input device) เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ ข้อมูลจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญำณดิจิทัล ซึ่งประกอบ ด้วย 0 และ 1 แล้วส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผลกลำง เพื่อ ประมวลผลตำมคำำสั่ง ในระหว่ำงกำรประมวลผล หำกมีคำำสั่งให้ นำำผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลไปจัดเก็บในหน่วยควำมจำำ ข้อมูล ดังกล่ำวจะถูกส่งไปยังแรม (Random Access Memory : Ram) ซึ่ง ทำำหน้ำที่เก็บข้อมูลจำกกำรประมวลผลเป็นกำรชั่วครำว ขณะ เดียวกัน อำจมีคำำสั่งให้นำำผลลัพธ์จำกกำรประมวลผลดังกล่ำวไป แสดงผลผ่ำนทำงอุปกรณ์ของหน่วยส่งออก เช่น จอภำพ หรือ เครื่องพิมพ์ นอกจำกนี้เรำสำมำรถบันทึกข้อมูลที่อยู่ในแรมลงใน อุปกรณ์ของหน่วยเก็บข้อมูล เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี เพื่อนำำ ข้อมูลดังกล่ำวกลับมำใช้อีกในอนำคต โดยกำรอ่ำนข้อมูลที่ บันทึกในสื่อดังกล่ำวผ่ำนทำงเครื่องขับหรือไดร์ฟ (drive) กำรส่ง
  • 6. 3.2.1 ซีพ ีย ู และกำรประมวลผลข้อ มูล           ซีพ ีย ู (Central Processing Unit : CPU) มี ลักษณะเป็นชิป (chip) ที่ติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ด ภำยในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งชิปดังกล่ำวเป็นสำร กึ่งตัวนำำขนำดเล็ก ภำยในบรรจุวงจรอิเล็กรอนิกส์ ต่ำงๆ ไว้มำกมำย โดยวงจรจะประกอบด้วย ทรำนซิสเตอร์ขนำดเล็กเป็นจำำนวนมำก บำงครั้งจึง รูปที่3.3 ตัวอย่ำงของซีพียู เรียกชิปต่ำงๆ ว่ำ ไอซี
  • 7.
  • 8. • วงรอบกำรทำำ งำนของคำำ สั่ง (machine cycle) กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะต้องทำำตำมโปรแกรมที่ กำำหนดไว้ในหน่วยควำมจำำ โดยโปรแกรมเกิดจำกกำรนำำคำำสั่ง มำต่อเรียงกัน เมื่อคอมพิวเตอร์ทำำงำน หน่วยควบคุมทำำกำรอ่ำน คำำสังต่ำงๆ เข้ำมำประมวลผลในซีพียู โดยวงรอบของกำรทำำคำำ ่ สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนกำรทำำงำนพื้นฐำน 4 ขั้นตอน ดังนี้           1. ขั้น ตอนกำรรับ เข้ำ ข้อ มูล (fetch) เริ่มแรกหน่วย ควบคุมรับรหัสคำำสั่งและข้อมูลที่จะประมวลผลจำกหน่วยควำมจำำ           2. ขั้น ตอนกำรถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคำำสั่งเข้ำ มำอยู่ในซีพียูแล้ว หน่วยควบคุมจะถอดรหัสคำำสั่งแล้วส่งคำำสัง ่ และข้อมูลไปยังหน่วยคำำนวณและตรรกะ           3. ขั้น ตอนกำรทำำ งำน (execute) หน่วยคำำนวณและ ตรรกะทำำกำรคำำนวณโดยใช้ข้อมูลทีได้รับมำถอดรหัสคำำสั่ง และ ่ ทรำบแล้วว่ำต้องทำำอะไร ซีพียูก็จะทำำตำมคำำสั่งนั้น           4. ขั้น ตอนกำรเก็บ (store) หลังจำกทำำคำำสั่งก็จะเก็บ ผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในหน่วยควำมจำำ           
  • 9. • ซีพ ีย ูย ุค เก่ำ  กำรทำำคำำสั่งแต่ละคำำสั่งจะต้องทำำวงรอบคำำสั่งให้ จบก่อน จำกนั้นจึงทำำวงรอบคำำสั่งของคำำสั่งต่อไป สำำหรับซีพียู ในยุคปัจจุบันได้มีกำรพัฒนำให้ทำำงำนได้เร็วขึ้น โดยมีกำรแบ่ง วงรอบคำำสั่งนี้เป็นวงรอบย่อยๆ อีก มีกำรนำำเทคนิคกำรทำำงำน แบบสำยท่อ (pipeline) มำใช้ โดยขณะที่ทำำวงรอบคำำสั่งแรกอยู่ ก็มีกำรอ่ำนรหัสคำำสั่งของคำำสั่งถัดไปเข้ำมำด้วย ซึ่งจะทำำให้กำร ทำำงำนโดยรวมของซีพยูเร็วขึ้นมำก ี • •           หน่ว ยควบคุม  (control unit) เป็นหน่วยที่ทำำหน้ำที่ ประสำนงำน และควบคุมกำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์ ควบคุมให้ อุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลไปที่หน่วยควำมจำำ ติดต่อกับอุปกรณ์ แสดงผลเพื่อสั่งให้นำำข้อมูลจำกหน่วยควำมจำำไปยังอุปกรณ์ แสดงผล โดยหน่วยควบคุมของคอมพิวเตอร์จะแปลควำมหมำย ของคำำสั่งในโปรแกรมของผุ้ใช้ และควบคุมให้อุปกรณ์ต่ำงๆ ทำำงำนตำมคำำสั่งนั้นๆ           หน่ว ยคำำ นวณและตรรกะ หรือ เอแอล ยู (Arithmetic-Logic Unit : ALU) เป็นหน่วยที่ทำำหน้ำที่ในกำร คำำนวณต่ำงๆ ทำงคณิตศำสตร์ ได้แก่ กำรบวก ลบ คูณ หำร และเปรียบเทียบทำงตรรกะ เพื่อทำำกำรตัดสินใจ เช่น กำรเปรียบ เทียบข้อมูล กำรเปรียบเทียบว่ำจริงหรือเท็จ           กำรทำำงำนของเอแอลยู จะรับข้อมูลจำกหน่วยควำมจำำ
  • 11. • 3.2.2 หน่ว ยควำมจำำ และกำรจัด เก็บ ข้อ มูล           หน่วยควำมจำำ (memory unit) เป็นส่วนประกอบที่สำำคัญ บนเมนบอร์ดที่ทำำงำนร่วมกับซีพียูโดยตรง หน่วยควำมจำำแบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด คือ           1) หน่ว ยควำมจำำ แบบไม่ส ำมำรถลบเลือ น ได้ (non volatile memory) เป็นหน่วยควำมจำำที่สำมำรถเก็บข้อ มุลได้ แม้ว่ำไม่มีกระแสไฟฟ้ำหล่อเลียง ตัวอย่ำงของหน่วยควำม ้ จำำชนิดนี้ เชี่น รอม และหน่วยควำมจำำแบบแฟรซ           - รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยควำมจำำ แบบอ่ำนได้อย่ำงเดียวไม่สำมำรถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้           - หน่วยควำมจำำแบบแฟรซ (flash memory) เป็นหน่วย ควำมจำำที่สำมำรถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้           ในเครื่องคอมพิวเตอร์มีกำรใช้รอมในกำรเก็บไบออส (Basic Input Output System : BIOS) ไบออสทำำหน้ำที่เก็บข้อมูล โปรแกรมและคำำสั่งพืนฐำนที่สำำคัญในกำรเริ่มต้นกระบวนกำร ้ บูต (boot) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันได้เปลียนมำใช้ ่
  • 12. 2) หน่ว ยควำมจำำ แบบลบเลือ นได้ (volatile memory) เป็น หน่วยควำมจำำที่ต้องใช้กระแสไฟฟ้ำหล่อเลี้ยงเพื่อเก็บข้อมูล หำกเกิด ไฟฟ้ำดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำำสั่งจะสูญหำยไป หน่วยควำมจำำชนิดนี้ เช่น แรม           แรม (Random Access Memory : RAM) สำมำรถแบ่งออก เป็น 2 ประเภท คือ           1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัว ซีพยูทำำหน้ำที่เป็นหน่วยควำมจำำภำยในซีพียูที่เรียกว่ำหน่วยควำมจำำ ี แคช ซึ่งจะมีควำมเร็วสูงกว่ำไดนำมิกแรม           2. ไดนำมิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วย ควำมจำำทีใช้ในกำรจดจำำข้อมูลและโปรแกรมต่ำงๆ ที่อยู่ระหว่ำงกำร ่ ประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยควำมจำำที่มีอยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมำกที่สุด เนืองจำกรำคำไม่แพงและมี ่ ควำมจุสูง
  • 15. ในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้าต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดง ผลการบวกตัวเลขสองจำานวน ซีพียูจะต้องติดต่อกับแรมที่ใช้เก็บชุดคำาสั่ง และข้อมูลต่างๆ ไว้ รูปที่3.6 แสดงผลชุดคำาสั่งทีผ่านการประมวลผลจากซีพียู ่
  • 16. • 3.2.3 ระบบบัส กับ การทำา งานร่ว มกัน ของคอมพิว เตอร์ และอุป กรณ์ต ่า งๆ           ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีเมนบอร์ดที่สามารถติดตั้ง อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู หน่วยความจำาและฮาร์ดดิสก์ โดยการ ส่งข้อมูลและคำาสั่งระหว่างอุปกรณ์ จะอยู่ในรูปของสัญญาณ ไฟฟ้าที่ถกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลที่เรียกว่าบัส (bus)   ู รูปที่3.7 ระบบบัส
  • 17. •           ขนาดของบัส (bus width) กำาหนดโดยจำานวนบิตที่ คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ในหนึ่งครั้ง ตัวอย่าง เช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 32 บิต บัส ขนาด 64 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 64 บิต เป็นต้น บัสที่มีจำานวนบิตมากจะทำาให้การรับส่งข้อมูลของระบบ คอมพิวเตอร์ทำาได้เร็วขึ้น           การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็นจำานวนครั้งที่รับส่ง ข้อมูลได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี้สามารถรับส่ง ข้อมูลได้หนึ่งล้านครั้งต่อวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบใน ปัจจุบันจะมีค่าความเร็วบัสเป็น 667,800,1066 หรือ 1333  MHz ถ้าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความว่าสามารถรับส่ง ข้อมูลได้เร็ว ก็จะทำาให้เวลาการทำางานของโปรแกรมเร็ว
  • 18.   •3.3 การเลือ กซื้อ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ใ ห้เ หมาะสมกับ งาน           เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้ สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทำาได้งาย มีให้เลือก ่ หลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนำา คอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทำางานด้านใด เนื่องจากเครื่อง คอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้กบงานทุกประเภท หรือใช้งาน ั เฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ จะถูกลง แต่ผุ้ ใช้ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อ ให้คุ้มค่ากับจำานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซ้อเครื่อง คอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
  • 19. •           - งานเอกสาร หรือ งานในสำา นัก งาน  เป็นการใช้ คอมพิวเตอร์สำาหรับจัดการด้านเอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ ทำา การ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อ สื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำา และซอฟต์แวร์ตารางทำางาน เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้ไม่จำาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มี ความเร็วสูง คือประมาณ1GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่าง น้อย 1GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17- 19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมอง จอภาพตลอดเวลา           - งานกราฟิก  เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สำาหรับการ ตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียนใช้งานกราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟต์แวร์กราฟิกในการสร้างชิ้น งาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนำาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจำานวนมาก ที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลือนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงาน ่ ประเภทนี้จำาเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึง ค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไป ใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้น ไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลจำานวน มาก
  • 20. •           - งานออกแบบที่ต อ งแสดงผลเป็น  3 มิต ิ เป็นการ ้ ใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น (animation) ตัดต่อวีดทัศน์ ตัดต่อเพลง ิ เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิกสูง และงานประเภทนี้ต้องการเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคำานวณ และแสดงภาพ ความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียที่มีความเร็วสูงไม่ ู น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดจอแสดงผลที่ สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพ ขนาดไม่ตำ่ากว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสำารองไฟเนื่องจาก การทำางานประเภทนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องใช้เวลาในการ ประมวลผลนาน ถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกใน การเริมงานใหม่ ่ • 3.4 การเลือ กซ้อ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ และอุป กรณ์           สำาหรับผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มา ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชือถือได้ ่ เนื่องจากผู้ผลิตได้เลือกอุปกรณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมมาประกอบ เป็นเครืองคอมพิวเตอร์อยูแล้ว  ่ ่
  • 23. • ปัจ จัย ในการพิจ ารณาเลือ กซื้อ ซีพ ีย ู           1) บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้น นำา 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel Corporation) และบริษัทเอ เอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มี การผลิตซีพียูทแบ่งตามจำานวนของแกนประมวลผล (Processing  ี่ core)
  • 24. • 2) ความเร็วของซีพยู ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับความถี่ ี สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่คอยกำาหนดจังหวะ การทำางานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณ ดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้าน ครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ (gigahertz) หรือพันล้านครั้ง ต่อวินาที           3) หน่วยความจำาแคช (cache) ในซีพียูมีหน่วยความจำา แคช ซึ่งเป็นหน่วยความจำาความเร็วสูงเพื่อให้การทำางานเร็วขึ้น เนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจำาเป็นที่ต้องมีหน่วย ความจำาแคช เป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทำางานร่วมกัน ได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณาเลือกซื้อซีพียูที่มีความจุของหน่วย ความจำาแคชมาก           4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่าง ซีพียูและอุปกรณ์อื่นๆ ควรพิจารณาซีพียูที่มีความเร็วบัสสูงและ สอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อน เช่น เมนบอร์ด และแรม ื่
  • 26. ตารางที 3.2 การเลือกใช้ซพียให้ ่ ี ู เหมาะสมกับงาน
  • 27. •           3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard) หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์ บอร์ด หรือโมโบ (motherboard : mobo) เป็นแผงวงจรหลักของ คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปจะประกอบด้วยช่องสำาหรับติดตั้งซีพียู ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสำาหรับติดตั้งหน่วยความจำา สายสัญญาณ และบัสต่างๆ ขั้วต่อสำาหรับ • เชื่อมต่ออุปกรณ์เสรามภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟและ พอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และ คีย์บอร์ด 
  • 28. • โดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุด คอมพิวเตอร์สำาเร็จ อาจระบุเฉพาะชนิด หรือจำานวนของ พอร์ต และสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่งเป็น ส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น ตัวอย่างชนิด ของพอร์ตและสล็อตทีระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์ ่ สำาเร็จ  รูปที3.12 ตัวอย่าง ่ ชนิดพอร์ตและ สล็อต
  • 33. •           3.4.3 แรม ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนำามาใช้งรานกับพีซี มักจะ เป็นแรมชนิดดีดีอาร์เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous  Dynamic RAM : DDR SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้ ตรงกับสล็อตหน่วยความจำาบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ทั่วไปควรให้ความสำาคัญในลำาดับต่อมาคือ ขนาดความจุ และความเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสำาคัญที่ต้องนำามาพิจารณาด้วย รูปที3.15 ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะ ่
  • 35. • ปัจ จัย ในการพิจ ารณาเลือ กซือ แรม ้           1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซือ ้ ให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจำาบนเมนบอร์ด แรมทีใช้ ่ ในพีซี เช่น DDR , DDR2และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิด จะมีตำาแหน่งรอยบากทีแตกต่างกัน เพื่อให้สามารถ ่ เสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง           2) ความจุ ปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่ ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน ี่ ด้านกราฟิกหรือมัลติมเดียระดับสูง จะใช้แรมทีมความจุ ี ่ ี สูงขึ้นตามไปด้วย สำาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มักจะติดตั้งแรมความจุ 1 GB ขึ้นไป
  • 36. •           บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสำาหรับติดตั้ง แรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้อง เป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของ พีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทังหมด ้ รูปที3.17 การติดตั้งแรมบนเมนบอร์ด ่
  • 37. •           3) ความเร็ว ของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง จำานวนครั้งที่สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มี ความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผุ้ใช้งานต้องเลือกความเร็ว ของแรมให้สอดคล้องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด (FSB) ทำางานด้วย ความเร็ว 1,066 MHz แต่นำาแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มา ใช้งานจะได้สามารถทำางานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้กับการ ที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถงจุดหมาย ึ           ในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการ จำาแนกรุ่นของแรม เช่น PC2-5400 คือ แรมชนิด DDR2 –  667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400  MB/s หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่ง วินาที (คำานวณจาก 667 MHz X 8 ไบต์) 
  • 39. •           3.4.4 ฮาร์ด ดิส ก์ (hard disk) เป็นอุปกร์ในการเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซีโดยทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สำาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้วนั้นนิยมใช้กับโน๊ ตบุ๊ก  รูปที่3.19 ฮาร์ดิสก์
  • 40. •           การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กบปัจจัยหลาย ั อย่างด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และความเร็ว รอบของฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำาให้ฮาร์ดดิสก์มีราคาที่แตก ต่างกัน  รูปที3.20 การระบุคุณลักษณะของฮาร์ดิสก์ ่
  • 41. • ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์           1) การเชื่อ มต่อ  มาตรฐานการเชื่อมต่อของ ฮาร์ดดิสก์ทใช้งานอยูบนพีซีในปัจจุบัน ใช้ ี่ ่ มาตรฐาน EIDE และ SATA ทังนีขึ้นอยู่กบเมนบอร์ดว่า ้ ้ ั รองรับการเชื่อมต่อแบบใด           2) ความจุข ้อ มูล  มีหน่วยเป็น กิกะไบท์ (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่งขนาดความจุข้อมูลของ ฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กบความต้องการของผู้ใช้งาน ั           3) ความเร็ว รอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุน ของฮาร์ดดิสก์เพือให้หัวอ่าน-เขียน เข้าถึงข้อมูล ่ ฮาร์ดดิสก์ทมความเร็วรอบสูงจะทำาให้มอัตราเร็วในการ ี่ ี ี รับส่งข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมี ความเร็วรอบอยูที่ 7,200 รอบต่อนาที (rpm) ่ •  
  • 42. รูปที3.21 การเชื่อมต่อ ่ แบบSATA และ EIDE
  • 43. •           3.4.5 การ์ด แสดงผล (display card, graphics  card หรือ  video card) ทำาหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลมาเป็น สัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ดแสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ด หรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว           การที่ผุ้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผลเนื่องจาก ต้องการใช้กบงานที่ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด ั ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสำาเร็จที่ผู้ขายจัดให้อาจไม่สามารรถแสดงผล ภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับปัจจัยในการ พิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น ชิปประมวลผล กราฟิก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจำาบนก รูปที3.22 การระบุคุณลักษณะของการ์ด ่ แสดงผล
  • 44. ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล           1) ชิป ประมวลผลกราฟิก หรือ จีพ ีย ู (graphic  processing unit : GPU) เป็นอุปกรณ์พเศษทีเพิ่มความเร็วในการแสดง ิ ่ ผลโดยลดภาระซีพียูในการคำานวณข้อมูลที่จะส่งไปที่จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพสามมิติ อาจใช้ชิปของบริษัท nVIDIA รุ่น GForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000           2) การเชื่อ มต่อ  มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และ บัส AGP โดย PCI Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้ ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มีประสิทธิภาพรองลงมา           3) ความจุข องหน่ว ยความจำา บนการ์ด  หน่วยความจำาบน การ์ด (Video RAM) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอ คอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำามาก จะทำาให้แสดงภาพ มัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจำาบน ตัวการ์ด เช่น DDR3 512 MB           3.4.6 ออปติค ัล ดิส ก์ไ ดร์ฟ (optical disk drive) ที่ใช้กนใน ั ปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุก
  • 48. ปัจ จัย ในการเลือ กซื้อ จอภาพ  เช่น           - ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จำานวนจุด หรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความละเอียดสูงจะทำาให้ภาพคมชัด มากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็น จอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนว ตั้ง1050 จุด           - ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น จอ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว           นอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรียบเทียบต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การ แสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัวประสานงาน ระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ด แสดงผลนี้ จอภาพโดยทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics  Array : VGA) ซึ่งเป็นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface : 
  • 49. • 3.5 การรับ ประกัน อุป กรณ์ค อมพิว เตอร์           อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกัน อายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีระยะ เวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกัน ตลอดอายุการใช้งาน (life time) และฮาร์ดดิสก์ อาจรับประกัน 1-5 ปี โดยอายุของการรับประกัน ที่นานขึ้น อาจมีผลทำาให้ราคาสูงขึ้น บน อุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์รับประกันติดอยู่ บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการฉีกขาด การรับ ประกันจะสินสุดลงทันที ดังนันจึงควรระมัดระวัง ้ ้ เมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
  • 50. • 3.6 ข้อ แนะนำา การดูแ ลและบำา รุง รัก ษาเครื่อ งคอมพิว เตอร์ เบื้อ งต้น        1. ไม่ควรเปิดฝาคอมพิวเตอร์โดยไม่จำาเป็น เนื่องจากอาจมี โลหะที่นำาไฟฟ้าเข้าไปในเครืองทำาให้เกิดการลัดวงจร หรือมีฝุ่น ่ เข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทำาให้วงจร คอมพิวเตอร์ทำางานผิดพลาดได้        2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ้น        3. ไม่ควรตั้งคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่าง เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้        4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็ก หรือ ลำาโพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะทำาให้การแสดงภาพ ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง        5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชาก ควรมีเครื่องสำารอง ไฟยูพเอส (Uninterruptible power supply : UPS) ี        6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่อง เพื่อถนอมอายุ การใช้งานเครือง การทำางานในโหมดนี้จะทำาให้ฮาร์ดดิสก์และ ่ ซีพียูทำางานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กำาหนด
  • 51. • 3.7 การแก้ป ัญ หาเบื้อ งต้น ของพีซ ี           เครื่องคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นอุปกรณ์ที่ทนต่อการใช้งาน ถ้าหากใช้งานเครื่องอย่างถูกวิธีตามคำาแนะนำาที่กล่าวมา แต่ อย่างไรก็ตามมีบางปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งผู้ใช้สามารถแก้ไข เบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง เช่น           1. เครื่องหยุดทำางานขณะใช้งานอยู่            สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกำาลังไฟฟ้าไม่พอ อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กบคอมพิวเตอร์เป็นจำานวนมาก ั           การแก้ไ ข นำาอุปกรณ์ที่ไม่จำาเป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ออกไป หรือเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟที่มีกำาลังไฟฟ้ามาก ขึ้น           2. เปิดเครื่องแล้วปรากฏข้อความว่า “DISK BOOT  fAILURE, INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER”           สาเหตุ เครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์ หรือระบบปฏิบัติการบน ฮาร์ดดิสก์เสียหาย           การแก้ไ ข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์ ในตำาแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบน ฮาร์ดดิสก์           3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้           สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก           การแก้ไ ข ให้ใช้แผ่นซีดีทำาความสะอาดหัวอ่าน โดย ใส่แผ่นซีดีสำาหรับทำาความสะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาด