SlideShare a Scribd company logo
1 of 263
Download to read offline
ก
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม
นางสาวธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ปีการศึกษา 2560
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ข
ชื่อ : นางสาวธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง
ชื่อวิทยานิพนธ์ : รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม
สาขาวิชา : การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรธนา เทพจิต
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรประภา มโนมัทธ์
ปีการศึกษา : 2560
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการศึกษาศักยภาพที่พึงประสงค์ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม ในภาคอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 2) ก่าหนดรูปแบบการพัฒนา
ศักยภาพที่ปรึกษาทางด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม 3) น่าเสนอคู่มือ
การพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรมการวิจัยครั้งนี้
เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณประชากรของการ
วิจัย มี 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มผู้ตอบ
แบบสอบถาม ได้แก่บริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 ใน
เขตพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร และ
สมุทรปราการ จ่านวน 318 ตัวอย่าง ค่านวณโดยใช้อัตราส่วน 15% ของประชากรแต่ละจังหวัด
ได้จ่านวนตัวอย่างทั้งหมด 48 บริษัท โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายกลุ่มที่ 3 คือผู้ทรงคุณวุฒิใน
การสนทนากลุ่ม เพื่อให้ความเห็นชอบรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม ผู้วิจัยได้น่าแบบสอบถามไปให้ผู้เกี่ยวข้องกับการท่ามาตรฐานระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม ISO14001 ของแต่ละบริษัทเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 355
คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม
และการประชุมกลุ่มย่อยผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า ทุกรายการลักษณะของที่ปรึกษาด้าน
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมมีความคาดหวังในระดับสูง
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าวิธีการถ่ายทอดความรู้ของที่ปรึกษาให้กับผู้รับบริการที่มีความชัดเจน
และง่ายต่อการเข้าใจมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมาคือ ความรู้เฉพาะทางของที่ปรึกษาทางด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม แสดงให้เห็นว่า ความรู้และทักษะเป็นสิ่งส่าคัญต่อการให้บริการ ผลการ
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส่ารวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) เพื่อก่าหนดรูปแบบการ
พัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม พบว่าทุกองค์ประกอบ
มีค่าความผันแปรมากกว่า 1 สามารถจ่าแนกองค์ประกอบหลักได้ 5 ด้าน รวมทั้งหมด 32 ปัจจัย
ได้แก่ (1) ด้านความรู้ มี 5 องค์ประกอบ (2) ด้านทักษะมี 2 องค์ประกอบ (3) ด้านคุณลักษณะมี
2 องค์ประกอบ (4) ด้านจรรยาบรรณมี 1 องค์ประกอบ (5) ด้านเทคนิคในการพัฒนามี
2 องค์ประกอบ จากนั้นได้จัดท่าเป็นคู่มือพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ค
ภาคอุตสาหกรรม และได้น่าไปทดลองใช้กับที่ปรึกษา จ่านวน 32 คน พบว่าที่ปรึกษามีความรู้เพิ่มขึ้น
อย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
(วิทยานิพนธ์มีจ่านวนทั้งสิ้น 257 หน้า)
ค่าส่าคัญ : ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษา ศักยภาพ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ง
Name : Miss Thidawan Amjang
Thesis Title : A Potential Development Model of Environmental Management
System Consultants in the Industrial Sector
Major Field : Industrial Business and Human Resource Development
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Thesis Advisor : Assistant Professor Dr.Suwattana Thepchit
Co-advisor : Assistant Professor Dr.Siraprapa Manomat
Academic Year : 2017
Abstract
This research aims to study the desired potentiality of environmental
management system consultants in an industrial sector with 3 main objectives
(1) studying characteristics of environmental management system consultants being
expected by industrial entrepreneurs (2) designing a potential development model
for industrial environmental management system consultants (3) proposing a handbook
on potential development of industrial environmental management system consultants.
A mixed research methodology of qualitative and quantitative was employed.
The research population included 3 groups of people: group 1-environmental
management experts; group 2-questionnaire respondents i.e. companies of certified
environmental standards ISO14001 located within region 6 which comprised of 318
samples from provinces of Bangkok, Nonthaburi, PathumThani, NakornPathom,
SamutSakhon, and SamutSongkhram and through a proportion of 15% of each
provincial population and a simple random method resulting in 48 sampling
companies; group 3-the scholars. A group discussion was conducted on the
consensus of the potential development model for environmental management
system consultants. The questionnaire was later submitted to each company’s
related persons who were involved in the environmental standard management,
ISO 14001, in which a total of 355 responses was obtained. The data collecting tools
was a structural in-depth interview, questionnaire, and group discussions. The findings
reveal the sample groups’ opinions that all characteristics lists of environmental
management system consultants are the ones being highly expected by industrial
entrepreneurs. Upon considering on each aspect, it is found that the one of consultants’
knowledge transferring method of clear and easy to comprehend to the service
receivers gets the highest mean, followed by their abilities in being an expert in the
field. These show that the consultants’ knowledge and skills are crucial in providing
services. The exploratory factor analysis (EFA) used for setting the potential model
shows that all elements demonstrate the variance value of more than 1. The main
จ
elements can be categorized into 5 aspects with 32 factors: (1) knowledge of 5
elements (2) skills of 2 elements (3) characteristics of 2 elements (4) ethics of 1
element (5) development technique of 2 elements. The potential development
handbook is later formed and tried with 32 industrial environmental management
system consultants in which the result shows that they gain knowledge at a
statistical significant level of .05.
(Total 257 pages)
Keywords : Environmental Management System, Consultant, Potential
Advisor
ฉ
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส่าเร็จลุล่วงได้โดยได้รับความอนุเคราะห์และกรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.สุวรรธนา เทพจิต ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรประภา
มโนมัธย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ที่ได้ให้ทั้งความรู้ ให้ค่าปรึกษาแนะน่าทั้งส่วนที่เป็นงานวิจัย และ
ส่วนที่เป็นวิชาความรู้ในสายอาชีพ พร้อมทั้งตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนท่าให้งานวิจัยมี
ความสมบูรณ์
ผู้วิจัยขอขอบคุณคณะกรรมการสอบ อาจารย์ประจ่าภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ
ทรัพยากรมนุษย์ทุกท่านที่ให้ทั้งวิชาความรู้ และให้ความอนุเคราะห์สนับสนุนช่วยเหลือส่าหรับ
การศึกษาในครั้งนี้
นอกจากนั้น ผู้วิจัยยังได้รับความกรุณาจากนักวิชาการจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
ประยุกต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
และจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีปทุม สถาบันไทยเยอรมัน ศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญจากภาคเอกชน
อาทิ สมาคมหอการค้าไทย ที่ปรึกษาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอิสระที่สละเวลาในการให้สัมภาษณ์
และ ให้ความเห็นในกระบวนการต่าง ๆ ของการท่าวิจัยในครั้งนี้
สุดท้าย ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัวที่คอยให้ก่าลังใจและสนับสนุน
รวมถึงเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ เพื่อนร่วมรุ่น MIE ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณลักษณ์
เหล่าทวีทรัพย์ ดร.เธียรศักดิ์ ชูชีพ เพื่อนร่วมรุ่น AS ดร.วนิดา เลิศพิพัฒนานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.นุชรินทร์ ทิพยวรรณากร และเพื่อน ๆ XDBR ทุกท่านที่เป็นก่าลังใจส่าคัญ ให้การช่วยเหลือและ
สนับสนุนตลอดมา ท่าให้เกิดวิทยานิพนธ์ที่มีคุณค่า ผู้วิจัยหวังว่าวิทยานิพนธ์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
ส่วนรวมและประเทศชาติต่อไป
ธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง
ช
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4
1.3 ขอบเขตของการวิจัย 4
1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 6
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9
2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 9
2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theories) 16
2.3 แนวคิดและทฤษฏีด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรฐานสากล ISO
14001 22
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของบุคลากรที่มีอาชีพเป็นที่ปรึกษา 34
2.5 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 41
บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัย 47
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 47
3.2 ขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย 48
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 49
3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 49
3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 51
บทที่ 4 ผลการวิจัย 53
4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก 53
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม 55
4.3 สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสํารวจ 95
4.4 สรุปผลการวิเคราะห์จากการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 97
4.5 วิเคราะห์ผลการนําคู่มือไปทดลองใช้ 103
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 105
5.1 สรุปผลการวิจัย 105
5.2 อภิปรายผล 106
5.3 ข้อเสนอแนะ 111
บรรณานุกรม 113
ซ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก ก 119
แบบสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อการวิจัย 120
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 124
แบบประเมินความสอดคล้องของแบบสอบถาม 134
แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 143
ภาคผนวก ข 157
ผลการวิเคราะห์กลุ่มประชากรและตัวอย่าง 158
ผลการหาค่าความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถาม 160
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทํา Try-Out แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 168
ผลการวิเคราะห์ค่าความเหมาะสมของรูปแบบที่ได้จากการวิจัย 175
ผลการวิเคราะห์สถิติ t-test จากการใช้คู่มือ 188
ภาคผนวก ค 191
หนังสือขอความอนุเคราะห์ให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าสัมภาษณ์เชิงลึก 192
หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถาม 199
หนังสือเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่ม 204
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่ม 213
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 215
ภาคผนวก ง 217
คู่มือพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 218
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร Environmental Management System 234
ข้อสอบก่อนและหลังการอบรม 255
ประวัติผู้วิจัย 257
ฌ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
4-1 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 55
4-2 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ 55
4-3 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม
วุฒิการศึกษาสูงสุด 55
4-4 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม
ประสบการณ์ทํางาน 56
4-5 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามประสบการณ์
ในการจัดทําระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 56
4-6 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 57
4-7 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้เฉพาะด้านทางเทคนิคของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 58
4-8 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้ทางด้านมาตรฐานและการให้การรับรอง
ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 59
4-9 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษา ความรู้ด้านกระบวนการ และมาตรฐานของการได้รับ
การรับรองมาตรฐานสากลของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้รับบริการ
พึงประสงค์ (Knowledge) 60
4-10ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้ทั่วไปของหลักการบริหารงานระเบียบวิธี
และเทคนิค ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์
(Knowledge) 61
4-11ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษา ความรู้ด้านความรู้ทางด้านองค์กรที่ให้คําปรึกษา
ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 62
4-12ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษา
ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรมของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Skills) 62
4-13ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ คุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษา
(ด้านแรงจูงใจ อุปนิสัย บทบาททางสังคม ทัศนคติ และค่านิยม) ของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Attributes) 64
ญ
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
4-14ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ จรรยาบรรณของที่ปรึกษา
ที่มีต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการต่อตนเอง และสังคม ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Ethics) 65
4-15ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญของเทคนิควิธีในการพัฒนา
ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 66
4-16การวัดความเหมาะสมของปัจจัยสําคัญ ที่เป็นลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังด้วย KMO and
Bartlett’s Test 67
4-17ค่าความร่วมกัน (Communalities) ของลักษณะที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 68
4-18ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยสําคัญ ลักษณะของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังจัดการ
สิ่งแวดล้อม 69
4-19ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดลักษณะของ
ที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง
เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 69
4-20การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของ
ที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ด้วย KMO and
Bartlett’s Test 70
4-21ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการ
ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 71
4-22ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความรู้ที่จําเป็น
ในการให้บริการของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ
พึงประสงค์ 73
4-23ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความรู้
ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 74
4-24การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 78
4-25ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 78
4-26ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของทักษะ
ที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 80
ฎ
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
4-27ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความสําคัญ
ของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ
พึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 81
4-28การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 83
4-29ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 83
4-30ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของคุณลักษณะ
ที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 85
4-31ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความสําคัญ
ของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ
พึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 86
4-32การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 88
4-33ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 89
4-34ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของจรรยาบรรณ
ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 89
4-35ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัย
ความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 90
4-36การวัดความเหมาะสมของเทคนิควิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วย KMO and Bartlett’s Test 91
4-37ค่าความร่วมกัน (Communalities) ของเทคนิควิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 92
4-38ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยของเทคนิควิธีในการพัฒนา
ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 93
4-39ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยของเทคนิค
วิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 94
4-40สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสํารวจ 96
4-41รายละเอียดของรูปแบบพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ที่ได้ทําการปรับปรุงหลังจากประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 98
4-42ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังอบรมของที่ปรึกษา 103
ฏ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1-1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 6
2-1 ทฤษฎีที่เป็นรากฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 10
2-2 ความสัมพันธ์ของวงจร PDCA กับกรอบของมาตรฐานสากล 23
2-3 แนวคิดของความสามารถของที่ปรึกษาระบบบริหารงานคุณภาพ 39
4-1 รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ในภาคอุตสาหกรรม 97
1
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
การเติบโตและขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมทําให้ความต้องการปัจจัยการผลิตที่มาจาก
ทรัพยากรธรรมชาติขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การฟื้นฟูและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติทดแทน
การนําไปใช้ไม่สามารถดําเนินการได้อย่างสมบูรณ์ส่งผลกระทบให้เกิดความขาดแคลนปัจจัยการผลิต
ที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามองค์กรธุรกิจ
อุตสาหกรรมพยายามแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมโดยการกําหนดงบประมาณเพื่อการฟื้นฟูและ
รักษาสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันหน่วยงานรัฐและประชาสังคมได้ก้าวเข้ามามีส่วนร่วมต่อกลไกการดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แม้ว่าทุกภาคส่วนได้ให้ตระหนักและร่วมกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้เกิดความ
สมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แต่ผลการศึกษาของการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ระบุว่า ความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติลดลงอย่างต่อเนื่องทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ อาทิ
การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับศักยภาพ การขยายตัวของเมืองและการพัฒนาพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่มี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นการบริหารจัดการน้ําที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ การปล่อยน้ําเสียออกจากชุมชนหรือจาก
โรงงาน นอกจากนี้ผลการศึกษาดังกล่าวได้นําเสนอว่าปัญหามลพิษที่สําคัญที่ต้องเตรียมการรับมือและ
เร่งแก้ไขในพื้นที่วิกฤติ ได้แก่ ปัญหาโอโซน (O3) ในเขตเมือง และสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ใน
เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง (มาบตาพุด) พื้นที่อุตสาหกรรมอื่น ปัญหาการขยายตัวของสินค้า
อิเล็กทรอนิกส์และความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทําให้มีปริมาณการใช้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น ปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้นได้ส่งผลให้เกิดอุบัติภัยและการเจ็บป่วยอันเนื่องจาก
สารเคมี
นอกเหนือปัญหาโดยตรงที่เป็นผลจากกระบวนการผลิตและสินค้าอุตสาหกรรม รายงานฉบับ
ดังกล่าวได้นําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบเชิงสังคมได้แก่ การทําลายระบบนิเวศอันเนื่องจากการนํา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อพัฒนาด้านต่าง ๆ ในประเทศไม่ว่าจะเป็นด้านอุตสาหกรรม
ด้านเกษตรกรรม โดยไม่ได้คํานึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทําให้ระบบนิเวศเกิดความแปรปรวน
สําหรับสาเหตุของปัญหาน่าจะเกิดจากการขาดการบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม การกําหนดมาตรการและกลไกการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็น
แบบแยกส่วน และเน้นการแก้ไขมากกว่าการป้องกัน และกลไกทางกฎหมายในการจัดการมลพิษ
ไม่เอื้อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
มลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งความบกพร่องดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและ
มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันผู้ประกอบการต่างได้รับแรงกดดันด้านธุรกิจและมุ่งมั่นต่อ
การยกระดับการผลิตเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันและละเลยต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม จนกระทั้งเกิด
 
2
เป็นปัญหาระดับโลกและได้ประชาคมโลกได้รวมตัวกําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
โดยการผูกโยงกับต้นทุนการดําเนินงาน อาทิ ภาษีคาร์บอนจากสินค้านําเข้าในประเทศสหรัฐอเมริกา
ค่าธรรมเนียมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคขนส่งและการบินของสหภาพยุโรป และมีเรื่องของ
พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น อนุสัญญารอตเตอร์ดัม (Rotterdam
Convention) ว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสําหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมี
ป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ อนุสัญญาบาเซล (Basel
Convention) ว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของเสียและการกําจัด อนุสัญญา
สตอกโฮล์ม (Stockholm Convention) ว่าด้วยสารพิษที่ตกค้างยาวนาน (Persistance Organic
Pollutants หรือ POPs) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิธี
สารเกียวโต เป็นต้น หากผู้ประกอบการไม่สามารถปรับตัวและพัฒนาองค์กรให้ทันต่อกติกาด้าน
สิ่งแวดล้อม อาจจะได้รับผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ
แรงกดดันดังกล่าวเป็นประเด็นท้าทายต่อประเทศอุตสาหกรรมใหม่และเป็นอุปสรรคสําคัญของ
การเคลื่อนย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรมสําคัญของโลกมาสู่ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียอย่างไรก็ดี
ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียยังคงมีปัจจัยสนับสนุนเชิงบวกต่อการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม อาทิ
การมีเครือข่ายของห่วงโซ่การผลิตภายในภูมิภาค ต้นทุนการผลิตที่มีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน
นอกจากนี้ขนาดของตลาดของผู้บริโภคสินค้าอุตสาหกรรมในภูมิภาคกําลังเกิดการขยายตัวอย่าง
ต่อเนื่องเพราะมีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การเปิดเสรีทางการค้า ทําให้เกิดการเคลื่อนย้าย
ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นปัจจัยการผลิตของภาคอุตสาหกรรม จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมการผลิตของ
ไทยยังคงมีปัจจัยภายนอกที่เอื้อต่อการขยายตัว ทําให้ผู้ประกอบการมุ่งลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อควบคุมต้นทุนการผลิตด้วยการเตรียมความพร้อมในการพัฒนากระบวนการการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมโดยเฉพาะกระบวนการผลิตที่จะก่อให้เกิดมลพิษ โดยการพัฒนาและการใช้ประโยชน์
ปัจจัยการผลิตที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติโดยการป้องกันผลกระทบและการรักษาความสมดุลของ
ระบบนิเวศ การจัดการปัญหามลพิษต่าง ๆ ปัญหาสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่
มีถิ่นฐานในเขตอุตสาหกรรม (แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 : 14-22)
กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ได้แสดงบทบาทสนับสนุนให้ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมของไทย
มีทิศทางด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อกฎระเบียบและมาตรการระดับโลกเพื่อให้สามารถ
แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้ในเชิงระบบและมีความยั่งยืน โดยการประกาศแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
การดําเนินการผลิตต่าง ๆ อาทิ การกําหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กําหนดวิธีการควบคุม
การปล่อยของเสีย มลพิษ หรือ สิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีข้อกําหนดของผู้ควบคุมดูแล
ผู้ปฏิบัติงานประจําและหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสําหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อม
เป็นพิษ การทําฉลากเขียว ฉลากคาร์บอน การดําเนินการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean
Development Mechanism) นอกจากนี้ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้พัฒนา
กระบวนทัศน์ทางความคิดด้านการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการ
กระตุ้นให้ผู้ประกอบการขอรับการรับรองคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ โรงงานสีเขียวหรือ ISO
3
14000 เป็นแนวทางสากลที่องค์การค้าโลกได้นําเสนอให้ผู้ประกอบการปรับใช้เพื่อเพิ่มโอกาสทาง
การค้าและลดปัญหาทางการค้าระหว่างประเทศ ช่วยลดต้นทุนในระยะยาวและไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
สถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมจํานวนมากเล็งเห็นประโยชน์และโอกาสทางธุรกิจจาก
การได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมว่าสามารถนํามาใช้เพื่อเพิ่มโอกาสทางการค้าและ
สร้างภาพพจน์ที่ดี ให้กับองค์กร ทั้งนี้สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้พยายาม
ส่งเสริมและผลักดันให้ผู้ประกอบการได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพโดยประกาศใช้ “อนุกรม
มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม มอก. ISO 14000” เป็นแนวทางขอการรับรองระบบการจัดการ
สิ่งแวดล้อม คือ มาตรฐาน ISO 14001 (ศิริพงษ์, 2550 : 271-274) อย่างไรก็ดีผลการวิจัยของบุษกร
(2557) ระบุว่า ปัญหาอุปสรรคของการของการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของ
องค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม ประกอบด้วย บุคลากรขาดความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการขอ
การรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม ขั้นตอนการขอการรับรองมีความยุ่งยาก ขาดข้อมูลข่าวสารและ
การเข้าถึงแหล่งข้อมูลมีความยุ่งยาก สําหรับแนวทางแก้ไขปัญหา ได้แก่ ผู้ประกอบการควรได้รับ
การสนับสนุนด้านการให้คําปรึกษาและการจัดระบบดําเนินงาน
ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทยกระทรวงการคลัง ระบุว่าปัจจุบันระบบการให้คําปรึกษาธุรกิจโดย
ส่วนใหญ่ดําเนินการในรูปแบบบริษัท และมีบริษัทที่ปรึกษาที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงการคลังในสาขา
การให้คําปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม จํานวน 226 บริษัท นอกจากนี้ข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจ (2544)
ได้นําเสนอว่าผู้ประกอบการธุรกิจให้คําปรึกษาส่วนใหญ่มีจุดอ่อนทางด้านการขาดบุคลากรที่มีความรู้
ความชํานาญในการบริการให้คําปรึกษาและประสบการณ์ ที่ตรงกับลักษณะงานการให้บริการให้
คําปรึกษา การใช้ทีมงานที่ปรึกษาจากภายนอกองค์กรในการร่วมดําเนินงานการให้คําปรึกษาควบคุม
ปฏิบัติงานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและบุคลากรที่ปรึกษาได้รับงานมากเกินไป ทําให้พบความ
ผิดพลาดในการทํางานบ่อยครั้ง
สํานักพัฒนาหน่วยบริการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้พยายามแก้ไขปัญหาการ
ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืนโดยการจัดทําสมรรถนะร่วมที่ปรึกษา
อุตสาหกรรม หรือ I3C (Industrial Consultant’s Common Competency) เป็นระบบสมรรถนะ
ที่แสดงความพร้อมของที่ปรึกษาอุตสาหกรรม สมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม ประกอบด้วย
หมวดสมรรถนะ 5 หมวด ได้แก่ ทักษะคุณสมบัติเฉพาะตน ความสามารถในการให้บริการ ความรู้
ทั่วไป และจรรยาบรรณ อย่างไรก็ดีระบบสมรรถนะที่ปรึกษาดังกล่าวมิได้มีการดําเนินการศึกษา
เจาะลึกถึงสมรรถนะระดับหน้าที่ (Functional Competencies)
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Office : ILO) ได้กําหนดแนวทางใน
การพัฒนาอาชีพที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการโดยระบุคุณลักษณะของที่ปรึกษาด้านการบริหาร
จัดการไว้ 2 ส่วนที่จะต้องมีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด คือ ด้านความรู้ความสามารถทาง
สติปัญญา และคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติที่สําคัญ 7 ด้านคือ 1) ความสามารถทาง
สติปัญญา สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็ว ช่างสังเกต ประเมินผลได้ดี มีเหตุผล 2) ความสามารถใน
การเข้าใจผู้อื่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ เช่น รับฟังและเคารพผู้อื่น มีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นได้ง่าย
ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และน่าเชื่อถือ 3) ความสามารถในการสื่อสาร การสร้างแรงจูงใจ 4) วุฒิภาวะ
ทางอารมณ์และการแสดงออก สามารถควบคุมตัวเองได้ในทุกสถานการณ์ ไม่อคติ ปรับตัวได้ในแต่ละ
สภาวะ และมีความมั่นคงในการแสดงออก 5) ความกระตือรือร้นและความคิดสร้างสรรค์ โดยเฉพาะ
4
ความมั่นใจในตัวเอง กล้าคิด กล้าทํา ในระดับที่เหมาะสม 6) จรรยาบรรณและการยึดมั่นทําในสิ่งที่
ถูกต้อง รวมถึงการให้การช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจ 7) สุขภาพอนามัย ที่พร้อมในการทํางาน
อย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ยังได้กําหนดคุณสมบัติทางการศึกษาของที่ปรึกษาด้านการบริการจัดการ
ขั้นพื้นฐานคือระดับปริญญาตรี หรือ ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์
ทํางานไม่น้อยกว่า 5-10 ปี และมีประสบการณ์ในการทํางานด้านที่ปรึกษามาแล้ว สําหรับแนวทาง
การพัฒนาที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการนั้น ได้มีการกําหนดสมรรถนะของที่ปรึกษา ตามแนวคิด
ของ Boyatzis (1982) ประกอบด้วย ลักษณะนิสัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ความถนัด ความรู้ และทักษะ
โดยมีรูปแบบการพัฒนาและฝึกอบรมที่หลากหลาย สําหรับผู้ที่เริ่มต้นในการเป็นที่ปรึกษาจะต้องทํา
การประเมินความรู้ความสามารถเบื้องต้นในแต่ละบุคคลเพื่อวางแผนการพัฒนา การฝึกปฏิบัติตาม
กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย การโค้ชโดยผู้เชี่ยวชาญในการลงพื้นที่ปฏิบัติจริง หลังจากนั้น ก็จะมี
แผนการพัฒนายกระดับความสามารถ โดยการเพิ่มความรู้ความสามารถ เช่น มอบหมายให้ทํางาน
ใหม่ๆเพิ่ม การยกระดับทักษะและกระบวนการให้คําปรึกษาให้หลากหลายขึ้น การสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ การทําวิจัยและพัฒนาในเรื่องต่าง ๆ เป็นต้น
จากเหตุผลดังกล่าวทําให้ผู้วิจัยเกิดแรงบันดาลใจในการที่จะศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของที่
ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังแนวทาง
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เป็นผู้มีสมรรถนะระดับหน้าที่และศักยภาพที่พึงประสงค์โดยดําเนินการ
วิจัย เรื่อง “การศึกษารูปแบบการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาค
อุตสาหกรรม”โดยมีความคาดหวังว่าผลการศึกษาจะเป็นจุดเริ่มต้นและกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน
อุตสาหกรรมไทยสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมาตรฐาน และเพิ่มความ
แข็งแกร่งของวิชาชีพที่ปรึกษา ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษาที่ทํางานภายใต้องค์กรในนามนิติบุคคล หรือที่
ปรึกษาอิสระ ให้เกิดความทัดเทียมและมีความสามารถในระดับสากล สามารถรองรับการขยายตัวของ
อุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีความยั่งยืน
1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
1.2.1 เพื่อศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้ประกอบการใน
ภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง
1.2.2 เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาทางด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ภาคอุตสาหกรรม
1.2.3 เพื่อนําเสนอคู่มือการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ภาคอุตสาหกรรม
1.3 ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการ
ในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังเพื่อนํามาสร้างรูปแบบการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษา โดยได้ออกแบบ
ให้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกําหนดขอบเขตการวิจัยไว้ ดังนี้
1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหาประกอบด้วย แนวคิดด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดทฤษฏี
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทั้งความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ความรู้ด้าน
5
อุตสาหกรรม ด้านทักษะ ด้านคุณลักษณะของบุคคลที่ทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และแนวคิดในด้าน
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วยมาตรฐานสากล ISO 14001
1.3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ ศึกษาเฉพาะอุตสาหกรรม ในเขตพื้นที่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร และ
เขตปริมณฑล ซึ่งได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดปทุมธานี
1.3.3 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.3.3.1 กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่ง
ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาครัฐ และเอกชน ที่มีประสบการณ์ใน
การทํางานด้านการให้คําปรึกษา ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป โดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
เพื่อให้ได้ข้อมูลปัญหาและอุปสรรคตลอดจนแนวทางการพัฒนาศักยภาพ ของที่ปรึกษา รวม 7 คน
1.3.3.2 กลุ่มที่.2.กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม ประชากรคือบริษัทที่ได้รับการรับรอง
มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ในเขตพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล ซึ่งได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด
สมุทรปราการ ข้อมูลจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สืบค้น
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2560 ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 375 บริษัท และจํานวนตัวอย่างของประชากร คือ 48
ตัวอย่าง (หน่วยวิเคราะห์ระดับองค์กร โดยคัดเลือกผู้ตอบแบบสอบถามในฐานะผู้แทนองค์กรละ 10
คน รวมไม่น้อยกว่า 400 คน)
1.3.3.3 กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิในการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อ
ให้ความเห็นชอบรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการบริหารงานสิ่งแวดล้อม
โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักวิชาการ จํานวน 3 คน กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา ด้านระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อมจํานวน 4 คน และกลุ่มผู้บริหารด้านทรัพยากรมนุษย์ จํานวน 2 คน
รวมไม่น้อยกว่า 9 คน
1.3.2 ขอบเขตด้านระยะเวลาผู้วิจัยกําหนดกรอบเวลาในการดําเนินการวิจัย เริ่มตั้งแต่
ภาคการศึกษาที่ 2/2558 ถึงภาคการศึกษาที่ 2/2560
1.3.3 กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้วิจัยกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนา
ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านการระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ดังนี้
1.3.3.1 ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัย ศึกษาตามแนวทางของมาตรฐานของ
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม สากล ISO 14001
1.3.3.2 ด้านศักยภาพของที่ปรึกษา ผู้วิจัย ศึกษาด้านความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรม และ ทักษะต่าง ๆ ที่มีความจําเป็นใน
การเป็นที่ปรึกษา ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 รวมถึงคุณลักษณะบุคคลที่เป็นที่
ปรึกษาตามทฤษฏีของ David C. McClelland
1.3.3.3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยศึกษา รูปแบบในการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ แบบองค์รวม คือ การพัฒนาบุคคล (Individual Development) การพัฒนาวิชาชีพ (Career
Development) และการพัฒนาองค์การ (Organization Development)
6
1.4 นิยา
1.4
ให้ความรู
การสร้าง
เมื่อพบปั
1.4
การจัดกา
ที่องค์กร
แหล่งกํา
และข้อกํ
1.4
ที่สําคัญ
หน้าที่ได้
ทางด้านอ
1.4
จรรยาบร
1.5 ประ
1.5
ศักยภาพ
ความสาม
ามศัพท์เฉพา
.1 ที่ปรึกษา
รู้ด้านระบบก
งระบบ การนํ
ปัญหา หรือ ข้อ
.2 ระบบการ
ารกับมลพิษท
รเป็นผู้กระทํา
เนิดจนครบวัฎ
ําหนดที่เกี่ยวข
.3 การพัฒนา
ซึ่งทําให้ผู้ปร
้อย่างเป็นมาต
อุตสาหกรรมท
.4 รูปแบบกา
รรณ ในการป
ะโยชน์ของกา
.1 องค์กรภา
พที่ปรึกษาด้า
มารถในการต
ภา
าะ
ระบบการจั
ารจัดการสิ่งแ
นําไปปฏิบัติ ก
อบกพร่อง
รจัดการสิ่งแว
ทางด้านสิ่งแว
า หรือที่องค์
ฎจักรชีวิตของ
ข้อง รวมถึงพั
าศักยภาพ หม
ระกอบอาชีพที
ตรฐาน ซึ่งปร
ทักษะในการเ
ารพัฒนาศักย
ปฏิบัติงานของ
ารวิจัย
าครัฐ และเอก
านระบบการจ
ตอบสนองควา
พที่ 1-1 กรอ
ัดการสิ่งแวด
แวดล้อม แก่ผู้
การตรวจสอบ
วดล้อม หมาย
ดล้อมที่เกิดขึ้
กรมีอิทธิพลต
งสิ่งนั้น โดยเน้
ันธสัญญาต่าง
มายถึง การพัฒ
ที่ปรึกษาด้าน
ะกอบด้วย คว
เป็นที่ปรึกษา
ยภาพ หมายถึ
ที่ปรึกษาด้าน
กชน หรือ ที่ป
จัดการสิ่งแวด
มต้องการของ
อบแนวคิดใน
ล้อม หมายถึ
ผู้ประกอบการ
บและติดตามผ
ยถึง มาตรฐาน
้นจากผลิตภัณ
ต่อการเกิด โ
น้นการปฏิบัติใ
ง ๆ ที่มีระหว่า
ฒนาองค์ประ
นระบบการจัด
วามรู้เฉพาะด้
และคุณลักษ
ถึง แนวทางใน
นระบบการจัด
ปรึกษาอิสระ ส
ดล้อม เพื่อเพิ
งภาคอุตสาหก
การวิจัย
ถึง ผู้ให้คําปรึ
รอุตสาหกรรม
ผลการนําไปป
นสากล ISO
ณฑ์ กระบวนก
โดยมีการจัดก
ให้สอดคล้อง
างองค์กรกับผู้
กอบที่เป็นคว
ดการสิ่งแวดล้
ด้านระบบการ
ษณะที่พึงประส
นการพัฒนาค
ดการสิ่งแวดล้อ
สามารถนําไป
พิ่มความสาม
กรรม
รึกษาแนะนําแ
ม ตั้งแต่เริ่มต้น
ปฏิบัติ และก
14001 ที่มี
การผลิต หรือ
การอย่างเป็น
กับข้อกําหนด
ผู้มีส่วนได้ส่วน
ามสามารถแล
ล้อม มีความส
รจัดการสิ่งแวด
สงค์ของการเป็
ความรู้ ทักษะ
อม
ปเป็นแนวทาง
ารถในการแข
และฝึกอบรม
นการวางแผน
การดําเนินการ
มีแนวทางของ
อกิจกรรมใด ๆ
นระบบ ตั้งแต
ดของกฎหมาย
นเสีย
ละคุณลักษณะ
สามารถปฏิบัติ
ดล้อม ความรู
ป็นที่ปรึกษา
ะ คุณลักษณะ
งในการพัฒนา
ข่งขันใน และ
ม
น
ร
ง
ๆ
ต่
ย
ะ
ติ
รู้
ะ
า
ะ
7
1.5.2 องค์กรหรือบุคลากรที่สนใจสามารถนํารูปแบบและคู่มือการพัฒนาศักยภาพ ที่ปรึกษา
ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมไปขยายผล ในการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านอื่น ๆ ได้อีก เช่น
ด้านการระบบบริหารงานคุณภาพ ด้านการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นต้น
1.5.3 สถานศึกษาภาครัฐ และเอกชน สามารถนําไปเป็นแนวทางในการวางแผนการพัฒนา
บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่อไป
9
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งต่างประเทศ และ
ในประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหาในเรื่องเกี่ยวกับ วรรณกรรม แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยเพื่อเป็น
กรอบความคิดหลัก ในการดําเนินการการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย
2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.1.1 แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.1.2 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.1.3 แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ (Competency)
2.1.5 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์
2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theories)
2.2.1 ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory)
2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้สําหรับผู้ใหญ่ (Adult Learning)
2.2.3 ทฤษฏีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom’s Taxonomy)
2.3 แนวคิดและทฤษฏีด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรฐานสากล ISO 14001
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของบุคลากรที่มีอาชีพเป็นที่ปรึกษา
2.5 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.1.1 แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ได้มีนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญ ให้คํานิยามไว้
หลากหลาย อาทิเช่น Johns (1989) มีความเห็นว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีความสําคัญใน
กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ และถือเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน ระหว่างการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ
Swanson (1995) ได้ให้ความหมายของ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์เป็นกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้เกิดการพัฒนาให้มนุษย์ได้แสดงออกมาถึงความเชี่ยวชาญ โดยผ่าน
การพัฒนาองค์กร และการพัฒนาอบรมบุคลากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงผลการดําเนินงาน
Nadler (1970) ให้ความหมายของ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า เป็นกลุ่มหนึ่งของกิจกรรม
ในองค์กรที่จะต้องดําเนินการด้วยการกําหนดช่วงเวลาและมีการออกแบบเพื่อทําให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Jones (1981) ให้ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า เป็นการเพิ่มความสามารถที่
เกี่ยวกับการทํางานของบุคคลอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการบรรลุความสําเร็จทั้งขององค์กรและ
เป้าหมายของตัวบุคคล
 
10
De
เป็นกิจก
บุคลากร
อนาคต
ผู้วิ
อย่างเป็น
2.1
กา
ของการพ
ดังภาพที่
ภาพที่
ปร
Theory)
ต้องอยู่ภ
1.
องค์กร ซึ
ทางด้าน
บุคลากร
ให้สอดค
ท
ส่งผลให้
ดําเนินก
ทดแทน
: ROI แล้
เป็
คํานึงถึงข
esimone, W
รรมหนึ่งที่ถูก
รในองค์กร ให้
วิจัย สรุปได้ว่
นระบบเพื่อให้
.2 ทฤษฏีที่เกี
ารพัฒนาทรัพ
พัฒนาทรัพยา
ที่ 2-1
2-1 ทฤษฎีที
ระกอบด้วย ท
) ทฤษฏีด้านจิ
ายใต้กรอบขอ
. ทฤษฏีทางด้
ซึ่งเป็นตัวชี้วั
เศรษฐศาสต
แล้วได้ผลตอ
ล้องกับทิศทา
1.1 ทฤษฏี
ฤษฎีนี้กล่าวถึ
้เราต้องพิจาร
ารใด ๆ ที่อา
โดยการตัดสิน
ล้วพิจารณาว่า
1.2 ทฤษฎี
ป็นทฤษฏีที่มุ่ง
ข้อได้เปรียบใน
Werner and
กวางแผนอย่าง
ห้มีโอกาสในก
ว่า การพัฒนา
ห้เกิดการพัฒน
กี่ยวข้องกับกา
พยากรมนุษย์
ากรมนุษย์โดย
ที่เป็นรากฐานข
ทฤษฏีทางด้า
จิตวิทยา (Psy
องจริยธรรม (
ด้านเศรษฐศาส
ัดความอยู่รอ
ร์มาวิเคราะห์
อบแทนตรงตา
างขององค์กร
การใช้ทรัพยา
ถึง ความจํากั
รณาอย่างรอบ
าจเผชิญกับปั
นใจต้องคาดก
าการเลือกใช้ท
ฎีการใช้ทรัพยา
งเน้นผลตอบแ
นการแข่งขันอ
Harris (200
งเป็นระบบ โด
ารเรียนรู้ทักษ
าทรัพยากรมน
นาเปลี่ยนแปล
ารพัฒนาทรัพ
ได้ใช้ทฤษฏีห
ยนําเสนอออก
ของการพัฒน
นเศรษฐศาสต
ychological
(Ethics)
สตร์ (Econo
อดขององค์กร
ห์ตัวเลขทางก
ามวัตถุประสง
ซึ่งมีทฤษฏีทา
ากรที่มีอยู่อย่า
กัดของทุกๆสิ่
บคอบว่า จะใ
ญหาทรัพยา
การณ์ถึงผลตอ
ทรัพยากรนั้นจ
ากรอย่างยั่งยื
แทนที่ได้รับใน
อย่างยั่งยืน (S
02 : 3) ให้คว
ดยองค์กรออก
ษะที่จําเป็น ส
นุษย์ถือเป็นก
ลงความรู้ความ
ยากรมนุษย์
หลัก 3 กลุ่มท
กมาในรูปของ
นาทรัพยากรม
ตร์ (Econom
Theory)แล
mic Theor
รการพัฒนาท
ารเงิน หรือ ท
งค์ขององค์กรห
างเศรษฐศาสต
างจํากัด (Sca
สิ่ง ไม่ว่าจะเป็
ใช้ทรัพยากร
กรไม่เพียงพ
อบแทนจากกา
จะคุ้มค่ากับกา
น (Sustaina
นเป้าหมายระ
Sustainable
วามหมาย การ
กแบบขึ้นเพื่อ
สําหรับการดํา
ระบวนการที่
มสามารถของ
ทฤษฏีมาประ
งโต๊ะสามขา
นุษย์ (Swans
mic Theory
ะทั้งสามทฤษ
y) ถือว่าเป็น
ทรัพยากรมนุ
ทางด้านต้นทุ
หรือไม่ เพื่อจ
ตร์หลัก 3 ทฤ
are Resource
ปนความจํากัด
อย่างไรให้เกิ
อ ก็ต้องตัดสิ
ารลงทุน หรือ
ารลงทุนหรือไ
ble Resourc
ะยะยาว ดังนั้น
Advantage
รพัฒนาทรัพย
อการเตรียมคว
าเนินงานในปั
ต้องออกแบบ
บุคคลและอง
กอบกันเป็นท
(Three-leg
son and Ho
y) ทฤษฏีระ
ษฎีนั้นเมื่อบูรณ
นพื้นฐานของก
นุษย์จึงต้องมีก
ทุน กําไร ที่ใช้ใ
ะได้พัฒนาปรั
ฤษฎีที่เกี่ยวข้อ
e Theory)
ดของเงินวัสด
ดประโยชน์สู
นใจเลือกทรั
Return On
ไม่
ce Theory)
นการลงทุนที่
e) โดยการใช้เ
ยากรมนุษย์ว่า
วามพร้อมของ
ปัจจุบันและใน
บและวางแผน
งค์กร
ทฤษฏีพื้นฐาน
gged Stool
olton, 1991)
ะบบ (System
ณาการกันแล้ว
การขับเคลื่อน
การนําทฤษฏี
ช้ในการพัฒนา
รับปรุงกลยุทธ
อง คือ
ดุ เวลา อื่น ๆ
สูงสุดหากการ
ัพยากรอื่นมา
Investmen
เกิดขึ้นจึงต้อง
้เทคโนโลยีเข้า
า
ง
น
น
น
l)
m
ว
น
ฏี
า
ธ์
ๆ
ร
า
t
ง
า
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา

More Related Content

Similar to งานวิจัยจิตวิทยา

Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2BTNHO
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education DrDanai Thienphut
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)DrDanai Thienphut
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55kvcthidarat
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 

Similar to งานวิจัยจิตวิทยา (20)

Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
.3
 .3  .3
.3
 
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
 
Alternative energy
Alternative energyAlternative energy
Alternative energy
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Sahavitayakarn51
Sahavitayakarn51Sahavitayakarn51
Sahavitayakarn51
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Co p km_310314_jj_chonprathan
Co p km_310314_jj_chonprathanCo p km_310314_jj_chonprathan
Co p km_310314_jj_chonprathan
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 

งานวิจัยจิตวิทยา

  • 1.
  • 2. ก รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม นางสาวธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีการศึกษา 2560 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 3. ข ชื่อ : นางสาวธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง ชื่อวิทยานิพนธ์ : รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม สาขาวิชา : การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรธนา เทพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรประภา มโนมัทธ์ ปีการศึกษา : 2560 บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการศึกษาศักยภาพที่พึงประสงค์ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ในภาคอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 2) ก่าหนดรูปแบบการพัฒนา ศักยภาพที่ปรึกษาทางด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม 3) น่าเสนอคู่มือ การพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรมการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณประชากรของการ วิจัย มี 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถาม ได้แก่บริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 ใน เขตพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร และ สมุทรปราการ จ่านวน 318 ตัวอย่าง ค่านวณโดยใช้อัตราส่วน 15% ของประชากรแต่ละจังหวัด ได้จ่านวนตัวอย่างทั้งหมด 48 บริษัท โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายกลุ่มที่ 3 คือผู้ทรงคุณวุฒิใน การสนทนากลุ่ม เพื่อให้ความเห็นชอบรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ผู้วิจัยได้น่าแบบสอบถามไปให้ผู้เกี่ยวข้องกับการท่ามาตรฐานระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ISO14001 ของแต่ละบริษัทเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 355 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และการประชุมกลุ่มย่อยผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า ทุกรายการลักษณะของที่ปรึกษาด้าน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมมีความคาดหวังในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าวิธีการถ่ายทอดความรู้ของที่ปรึกษาให้กับผู้รับบริการที่มีความชัดเจน และง่ายต่อการเข้าใจมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมาคือ ความรู้เฉพาะทางของที่ปรึกษาทางด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม แสดงให้เห็นว่า ความรู้และทักษะเป็นสิ่งส่าคัญต่อการให้บริการ ผลการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส่ารวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) เพื่อก่าหนดรูปแบบการ พัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม พบว่าทุกองค์ประกอบ มีค่าความผันแปรมากกว่า 1 สามารถจ่าแนกองค์ประกอบหลักได้ 5 ด้าน รวมทั้งหมด 32 ปัจจัย ได้แก่ (1) ด้านความรู้ มี 5 องค์ประกอบ (2) ด้านทักษะมี 2 องค์ประกอบ (3) ด้านคุณลักษณะมี 2 องค์ประกอบ (4) ด้านจรรยาบรรณมี 1 องค์ประกอบ (5) ด้านเทคนิคในการพัฒนามี 2 องค์ประกอบ จากนั้นได้จัดท่าเป็นคู่มือพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
  • 4. ค ภาคอุตสาหกรรม และได้น่าไปทดลองใช้กับที่ปรึกษา จ่านวน 32 คน พบว่าที่ปรึกษามีความรู้เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (วิทยานิพนธ์มีจ่านวนทั้งสิ้น 257 หน้า) ค่าส่าคัญ : ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษา ศักยภาพ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
  • 5. ง Name : Miss Thidawan Amjang Thesis Title : A Potential Development Model of Environmental Management System Consultants in the Industrial Sector Major Field : Industrial Business and Human Resource Development King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Thesis Advisor : Assistant Professor Dr.Suwattana Thepchit Co-advisor : Assistant Professor Dr.Siraprapa Manomat Academic Year : 2017 Abstract This research aims to study the desired potentiality of environmental management system consultants in an industrial sector with 3 main objectives (1) studying characteristics of environmental management system consultants being expected by industrial entrepreneurs (2) designing a potential development model for industrial environmental management system consultants (3) proposing a handbook on potential development of industrial environmental management system consultants. A mixed research methodology of qualitative and quantitative was employed. The research population included 3 groups of people: group 1-environmental management experts; group 2-questionnaire respondents i.e. companies of certified environmental standards ISO14001 located within region 6 which comprised of 318 samples from provinces of Bangkok, Nonthaburi, PathumThani, NakornPathom, SamutSakhon, and SamutSongkhram and through a proportion of 15% of each provincial population and a simple random method resulting in 48 sampling companies; group 3-the scholars. A group discussion was conducted on the consensus of the potential development model for environmental management system consultants. The questionnaire was later submitted to each company’s related persons who were involved in the environmental standard management, ISO 14001, in which a total of 355 responses was obtained. The data collecting tools was a structural in-depth interview, questionnaire, and group discussions. The findings reveal the sample groups’ opinions that all characteristics lists of environmental management system consultants are the ones being highly expected by industrial entrepreneurs. Upon considering on each aspect, it is found that the one of consultants’ knowledge transferring method of clear and easy to comprehend to the service receivers gets the highest mean, followed by their abilities in being an expert in the field. These show that the consultants’ knowledge and skills are crucial in providing services. The exploratory factor analysis (EFA) used for setting the potential model shows that all elements demonstrate the variance value of more than 1. The main
  • 6. จ elements can be categorized into 5 aspects with 32 factors: (1) knowledge of 5 elements (2) skills of 2 elements (3) characteristics of 2 elements (4) ethics of 1 element (5) development technique of 2 elements. The potential development handbook is later formed and tried with 32 industrial environmental management system consultants in which the result shows that they gain knowledge at a statistical significant level of .05. (Total 257 pages) Keywords : Environmental Management System, Consultant, Potential Advisor
  • 7. ฉ กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส่าเร็จลุล่วงได้โดยได้รับความอนุเคราะห์และกรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรธนา เทพจิต ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรประภา มโนมัธย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ที่ได้ให้ทั้งความรู้ ให้ค่าปรึกษาแนะน่าทั้งส่วนที่เป็นงานวิจัย และ ส่วนที่เป็นวิชาความรู้ในสายอาชีพ พร้อมทั้งตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนท่าให้งานวิจัยมี ความสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอขอบคุณคณะกรรมการสอบ อาจารย์ประจ่าภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ ทรัพยากรมนุษย์ทุกท่านที่ให้ทั้งวิชาความรู้ และให้ความอนุเคราะห์สนับสนุนช่วยเหลือส่าหรับ การศึกษาในครั้งนี้ นอกจากนั้น ผู้วิจัยยังได้รับความกรุณาจากนักวิชาการจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีปทุม สถาบันไทยเยอรมัน ศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญจากภาคเอกชน อาทิ สมาคมหอการค้าไทย ที่ปรึกษาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอิสระที่สละเวลาในการให้สัมภาษณ์ และ ให้ความเห็นในกระบวนการต่าง ๆ ของการท่าวิจัยในครั้งนี้ สุดท้าย ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา และครอบครัวที่คอยให้ก่าลังใจและสนับสนุน รวมถึงเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ เพื่อนร่วมรุ่น MIE ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณลักษณ์ เหล่าทวีทรัพย์ ดร.เธียรศักดิ์ ชูชีพ เพื่อนร่วมรุ่น AS ดร.วนิดา เลิศพิพัฒนานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุชรินทร์ ทิพยวรรณากร และเพื่อน ๆ XDBR ทุกท่านที่เป็นก่าลังใจส่าคัญ ให้การช่วยเหลือและ สนับสนุนตลอดมา ท่าให้เกิดวิทยานิพนธ์ที่มีคุณค่า ผู้วิจัยหวังว่าวิทยานิพนธ์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวมและประเทศชาติต่อไป ธิดาวัลย์ อ่่าแจ้ง
  • 8. ช สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ข บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง กิตติกรรมประกาศ จ สารบัญตาราง ฌ สารบัญภาพ ฏ บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 4 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 6 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9 2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 9 2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theories) 16 2.3 แนวคิดและทฤษฏีด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรฐานสากล ISO 14001 22 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของบุคลากรที่มีอาชีพเป็นที่ปรึกษา 34 2.5 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 41 บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัย 47 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 47 3.2 ขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย 48 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 49 3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 49 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 51 บทที่ 4 ผลการวิจัย 53 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก 53 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม 55 4.3 สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสํารวจ 95 4.4 สรุปผลการวิเคราะห์จากการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 97 4.5 วิเคราะห์ผลการนําคู่มือไปทดลองใช้ 103 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 105 5.1 สรุปผลการวิจัย 105 5.2 อภิปรายผล 106 5.3 ข้อเสนอแนะ 111 บรรณานุกรม 113
  • 9. ซ สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก ก 119 แบบสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อการวิจัย 120 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 124 แบบประเมินความสอดคล้องของแบบสอบถาม 134 แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 143 ภาคผนวก ข 157 ผลการวิเคราะห์กลุ่มประชากรและตัวอย่าง 158 ผลการหาค่าความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถาม 160 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทํา Try-Out แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 168 ผลการวิเคราะห์ค่าความเหมาะสมของรูปแบบที่ได้จากการวิจัย 175 ผลการวิเคราะห์สถิติ t-test จากการใช้คู่มือ 188 ภาคผนวก ค 191 หนังสือขอความอนุเคราะห์ให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าสัมภาษณ์เชิงลึก 192 หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถาม 199 หนังสือเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่ม 204 รายนามผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่ม 213 หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 215 ภาคผนวก ง 217 คู่มือพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 218 เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร Environmental Management System 234 ข้อสอบก่อนและหลังการอบรม 255 ประวัติผู้วิจัย 257
  • 10. ฌ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 4-1 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 55 4-2 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ 55 4-3 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม วุฒิการศึกษาสูงสุด 55 4-4 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตาม ประสบการณ์ทํางาน 56 4-5 จํานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจําแนกตามประสบการณ์ ในการจัดทําระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 56 4-6 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 57 4-7 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้เฉพาะด้านทางเทคนิคของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 58 4-8 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้ทางด้านมาตรฐานและการให้การรับรอง ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 59 4-9 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษา ความรู้ด้านกระบวนการ และมาตรฐานของการได้รับ การรับรองมาตรฐานสากลของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้รับบริการ พึงประสงค์ (Knowledge) 60 4-10ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษา ด้านความรู้ทั่วไปของหลักการบริหารงานระเบียบวิธี และเทคนิค ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 61 4-11ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ศักยภาพ ความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษา ความรู้ด้านความรู้ทางด้านองค์กรที่ให้คําปรึกษา ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Knowledge) 62 4-12ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ ทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษา ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรมของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Skills) 62 4-13ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ คุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษา (ด้านแรงจูงใจ อุปนิสัย บทบาททางสังคม ทัศนคติ และค่านิยม) ของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Attributes) 64
  • 11. ญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4-14ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญ จรรยาบรรณของที่ปรึกษา ที่มีต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการต่อตนเอง และสังคม ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ (Ethics) 65 4-15ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความสําคัญของเทคนิควิธีในการพัฒนา ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 66 4-16การวัดความเหมาะสมของปัจจัยสําคัญ ที่เป็นลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังด้วย KMO and Bartlett’s Test 67 4-17ค่าความร่วมกัน (Communalities) ของลักษณะที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 68 4-18ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยสําคัญ ลักษณะของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังจัดการ สิ่งแวดล้อม 69 4-19ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดลักษณะของ ที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 69 4-20การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของ ที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ด้วย KMO and Bartlett’s Test 70 4-21ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการ ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 71 4-22ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความรู้ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ พึงประสงค์ 73 4-23ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความรู้ ที่จําเป็น ในการให้บริการของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 74 4-24การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 78 4-25ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 78 4-26ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของทักษะ ที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 80
  • 12. ฎ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4-27ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความสําคัญ ของทักษะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ พึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 81 4-28การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 83 4-29ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 83 4-30ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของคุณลักษณะ ที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 85 4-31ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยความสําคัญ ของคุณลักษณะที่สําคัญของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการ พึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 86 4-32การวัดความเหมาะสมของความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ ด้วย KMO and Bartlett’s Test 88 4-33ค่าความร่วมกัน (Communalities) ความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 89 4-34ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยความสําคัญของจรรยาบรรณ ของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์ 89 4-35ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัย ความสําคัญของจรรยาบรรณของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้รับบริการพึงประสงค์เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 90 4-36การวัดความเหมาะสมของเทคนิควิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วย KMO and Bartlett’s Test 91 4-37ค่าความร่วมกัน (Communalities) ของเทคนิควิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 92 4-38ค่าสถิติสําหรับแต่ละปัจจัยทั้งก่อนและหลังการสกัดปัจจัยของเทคนิควิธีในการพัฒนา ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 93 4-39ค่าน้ําหนักปัจจัย (Factor Loading) ของแต่ละตัวแปรที่มีค่าสูงสุดในปัจจัยของเทคนิค วิธีในการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม เมื่อทําการหมุนแกนแล้ว 94 4-40สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสํารวจ 96 4-41รายละเอียดของรูปแบบพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ได้ทําการปรับปรุงหลังจากประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 98 4-42ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังอบรมของที่ปรึกษา 103
  • 13. ฏ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1-1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 6 2-1 ทฤษฎีที่เป็นรากฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 10 2-2 ความสัมพันธ์ของวงจร PDCA กับกรอบของมาตรฐานสากล 23 2-3 แนวคิดของความสามารถของที่ปรึกษาระบบบริหารงานคุณภาพ 39 4-1 รูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ในภาคอุตสาหกรรม 97
  • 14. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา การเติบโตและขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมทําให้ความต้องการปัจจัยการผลิตที่มาจาก ทรัพยากรธรรมชาติขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การฟื้นฟูและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติทดแทน การนําไปใช้ไม่สามารถดําเนินการได้อย่างสมบูรณ์ส่งผลกระทบให้เกิดความขาดแคลนปัจจัยการผลิต ที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติและเกิดปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามองค์กรธุรกิจ อุตสาหกรรมพยายามแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมโดยการกําหนดงบประมาณเพื่อการฟื้นฟูและ รักษาสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันหน่วยงานรัฐและประชาสังคมได้ก้าวเข้ามามีส่วนร่วมต่อกลไกการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แม้ว่าทุกภาคส่วนได้ให้ตระหนักและร่วมกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้เกิดความ สมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แต่ผลการศึกษาของการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม ระบุว่า ความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติลดลงอย่างต่อเนื่องทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ อาทิ การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับศักยภาพ การขยายตัวของเมืองและการพัฒนาพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นการบริหารจัดการน้ําที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ การปล่อยน้ําเสียออกจากชุมชนหรือจาก โรงงาน นอกจากนี้ผลการศึกษาดังกล่าวได้นําเสนอว่าปัญหามลพิษที่สําคัญที่ต้องเตรียมการรับมือและ เร่งแก้ไขในพื้นที่วิกฤติ ได้แก่ ปัญหาโอโซน (O3) ในเขตเมือง และสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ใน เขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง (มาบตาพุด) พื้นที่อุตสาหกรรมอื่น ปัญหาการขยายตัวของสินค้า อิเล็กทรอนิกส์และความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทําให้มีปริมาณการใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น ปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้นได้ส่งผลให้เกิดอุบัติภัยและการเจ็บป่วยอันเนื่องจาก สารเคมี นอกเหนือปัญหาโดยตรงที่เป็นผลจากกระบวนการผลิตและสินค้าอุตสาหกรรม รายงานฉบับ ดังกล่าวได้นําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบเชิงสังคมได้แก่ การทําลายระบบนิเวศอันเนื่องจากการนํา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อพัฒนาด้านต่าง ๆ ในประเทศไม่ว่าจะเป็นด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม โดยไม่ได้คํานึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทําให้ระบบนิเวศเกิดความแปรปรวน สําหรับสาเหตุของปัญหาน่าจะเกิดจากการขาดการบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การกําหนดมาตรการและกลไกการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็น แบบแยกส่วน และเน้นการแก้ไขมากกว่าการป้องกัน และกลไกทางกฎหมายในการจัดการมลพิษ ไม่เอื้อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา มลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความบกพร่องดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันผู้ประกอบการต่างได้รับแรงกดดันด้านธุรกิจและมุ่งมั่นต่อ การยกระดับการผลิตเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันและละเลยต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม จนกระทั้งเกิด  
  • 15. 2 เป็นปัญหาระดับโลกและได้ประชาคมโลกได้รวมตัวกําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยการผูกโยงกับต้นทุนการดําเนินงาน อาทิ ภาษีคาร์บอนจากสินค้านําเข้าในประเทศสหรัฐอเมริกา ค่าธรรมเนียมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคขนส่งและการบินของสหภาพยุโรป และมีเรื่องของ พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น อนุสัญญารอตเตอร์ดัม (Rotterdam Convention) ว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสําหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมี ป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ อนุสัญญาบาเซล (Basel Convention) ว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของเสียและการกําจัด อนุสัญญา สตอกโฮล์ม (Stockholm Convention) ว่าด้วยสารพิษที่ตกค้างยาวนาน (Persistance Organic Pollutants หรือ POPs) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิธี สารเกียวโต เป็นต้น หากผู้ประกอบการไม่สามารถปรับตัวและพัฒนาองค์กรให้ทันต่อกติกาด้าน สิ่งแวดล้อม อาจจะได้รับผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ แรงกดดันดังกล่าวเป็นประเด็นท้าทายต่อประเทศอุตสาหกรรมใหม่และเป็นอุปสรรคสําคัญของ การเคลื่อนย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรมสําคัญของโลกมาสู่ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียอย่างไรก็ดี ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียยังคงมีปัจจัยสนับสนุนเชิงบวกต่อการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม อาทิ การมีเครือข่ายของห่วงโซ่การผลิตภายในภูมิภาค ต้นทุนการผลิตที่มีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน นอกจากนี้ขนาดของตลาดของผู้บริโภคสินค้าอุตสาหกรรมในภูมิภาคกําลังเกิดการขยายตัวอย่าง ต่อเนื่องเพราะมีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การเปิดเสรีทางการค้า ทําให้เกิดการเคลื่อนย้าย ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นปัจจัยการผลิตของภาคอุตสาหกรรม จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมการผลิตของ ไทยยังคงมีปัจจัยภายนอกที่เอื้อต่อการขยายตัว ทําให้ผู้ประกอบการมุ่งลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อควบคุมต้นทุนการผลิตด้วยการเตรียมความพร้อมในการพัฒนากระบวนการการผลิตสินค้า อุตสาหกรรมโดยเฉพาะกระบวนการผลิตที่จะก่อให้เกิดมลพิษ โดยการพัฒนาและการใช้ประโยชน์ ปัจจัยการผลิตที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติโดยการป้องกันผลกระทบและการรักษาความสมดุลของ ระบบนิเวศ การจัดการปัญหามลพิษต่าง ๆ ปัญหาสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ มีถิ่นฐานในเขตอุตสาหกรรม (แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574 : 14-22) กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ได้แสดงบทบาทสนับสนุนให้ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมของไทย มีทิศทางด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อกฎระเบียบและมาตรการระดับโลกเพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้ในเชิงระบบและมีความยั่งยืน โดยการประกาศแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การดําเนินการผลิตต่าง ๆ อาทิ การกําหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กําหนดวิธีการควบคุม การปล่อยของเสีย มลพิษ หรือ สิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีข้อกําหนดของผู้ควบคุมดูแล ผู้ปฏิบัติงานประจําและหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสําหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อม เป็นพิษ การทําฉลากเขียว ฉลากคาร์บอน การดําเนินการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism) นอกจากนี้ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้พัฒนา กระบวนทัศน์ทางความคิดด้านการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการ กระตุ้นให้ผู้ประกอบการขอรับการรับรองคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ โรงงานสีเขียวหรือ ISO
  • 16. 3 14000 เป็นแนวทางสากลที่องค์การค้าโลกได้นําเสนอให้ผู้ประกอบการปรับใช้เพื่อเพิ่มโอกาสทาง การค้าและลดปัญหาทางการค้าระหว่างประเทศ ช่วยลดต้นทุนในระยะยาวและไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม สถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมจํานวนมากเล็งเห็นประโยชน์และโอกาสทางธุรกิจจาก การได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมว่าสามารถนํามาใช้เพื่อเพิ่มโอกาสทางการค้าและ สร้างภาพพจน์ที่ดี ให้กับองค์กร ทั้งนี้สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้พยายาม ส่งเสริมและผลักดันให้ผู้ประกอบการได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพโดยประกาศใช้ “อนุกรม มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม มอก. ISO 14000” เป็นแนวทางขอการรับรองระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม คือ มาตรฐาน ISO 14001 (ศิริพงษ์, 2550 : 271-274) อย่างไรก็ดีผลการวิจัยของบุษกร (2557) ระบุว่า ปัญหาอุปสรรคของการของการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของ องค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม ประกอบด้วย บุคลากรขาดความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการขอ การรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม ขั้นตอนการขอการรับรองมีความยุ่งยาก ขาดข้อมูลข่าวสารและ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลมีความยุ่งยาก สําหรับแนวทางแก้ไขปัญหา ได้แก่ ผู้ประกอบการควรได้รับ การสนับสนุนด้านการให้คําปรึกษาและการจัดระบบดําเนินงาน ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทยกระทรวงการคลัง ระบุว่าปัจจุบันระบบการให้คําปรึกษาธุรกิจโดย ส่วนใหญ่ดําเนินการในรูปแบบบริษัท และมีบริษัทที่ปรึกษาที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงการคลังในสาขา การให้คําปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม จํานวน 226 บริษัท นอกจากนี้ข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจ (2544) ได้นําเสนอว่าผู้ประกอบการธุรกิจให้คําปรึกษาส่วนใหญ่มีจุดอ่อนทางด้านการขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความชํานาญในการบริการให้คําปรึกษาและประสบการณ์ ที่ตรงกับลักษณะงานการให้บริการให้ คําปรึกษา การใช้ทีมงานที่ปรึกษาจากภายนอกองค์กรในการร่วมดําเนินงานการให้คําปรึกษาควบคุม ปฏิบัติงานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและบุคลากรที่ปรึกษาได้รับงานมากเกินไป ทําให้พบความ ผิดพลาดในการทํางานบ่อยครั้ง สํานักพัฒนาหน่วยบริการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้พยายามแก้ไขปัญหาการ ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืนโดยการจัดทําสมรรถนะร่วมที่ปรึกษา อุตสาหกรรม หรือ I3C (Industrial Consultant’s Common Competency) เป็นระบบสมรรถนะ ที่แสดงความพร้อมของที่ปรึกษาอุตสาหกรรม สมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม ประกอบด้วย หมวดสมรรถนะ 5 หมวด ได้แก่ ทักษะคุณสมบัติเฉพาะตน ความสามารถในการให้บริการ ความรู้ ทั่วไป และจรรยาบรรณ อย่างไรก็ดีระบบสมรรถนะที่ปรึกษาดังกล่าวมิได้มีการดําเนินการศึกษา เจาะลึกถึงสมรรถนะระดับหน้าที่ (Functional Competencies) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Office : ILO) ได้กําหนดแนวทางใน การพัฒนาอาชีพที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการโดยระบุคุณลักษณะของที่ปรึกษาด้านการบริหาร จัดการไว้ 2 ส่วนที่จะต้องมีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด คือ ด้านความรู้ความสามารถทาง สติปัญญา และคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติที่สําคัญ 7 ด้านคือ 1) ความสามารถทาง สติปัญญา สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็ว ช่างสังเกต ประเมินผลได้ดี มีเหตุผล 2) ความสามารถใน การเข้าใจผู้อื่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ เช่น รับฟังและเคารพผู้อื่น มีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นได้ง่าย ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และน่าเชื่อถือ 3) ความสามารถในการสื่อสาร การสร้างแรงจูงใจ 4) วุฒิภาวะ ทางอารมณ์และการแสดงออก สามารถควบคุมตัวเองได้ในทุกสถานการณ์ ไม่อคติ ปรับตัวได้ในแต่ละ สภาวะ และมีความมั่นคงในการแสดงออก 5) ความกระตือรือร้นและความคิดสร้างสรรค์ โดยเฉพาะ
  • 17. 4 ความมั่นใจในตัวเอง กล้าคิด กล้าทํา ในระดับที่เหมาะสม 6) จรรยาบรรณและการยึดมั่นทําในสิ่งที่ ถูกต้อง รวมถึงการให้การช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจ 7) สุขภาพอนามัย ที่พร้อมในการทํางาน อย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ยังได้กําหนดคุณสมบัติทางการศึกษาของที่ปรึกษาด้านการบริการจัดการ ขั้นพื้นฐานคือระดับปริญญาตรี หรือ ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์ ทํางานไม่น้อยกว่า 5-10 ปี และมีประสบการณ์ในการทํางานด้านที่ปรึกษามาแล้ว สําหรับแนวทาง การพัฒนาที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการนั้น ได้มีการกําหนดสมรรถนะของที่ปรึกษา ตามแนวคิด ของ Boyatzis (1982) ประกอบด้วย ลักษณะนิสัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ความถนัด ความรู้ และทักษะ โดยมีรูปแบบการพัฒนาและฝึกอบรมที่หลากหลาย สําหรับผู้ที่เริ่มต้นในการเป็นที่ปรึกษาจะต้องทํา การประเมินความรู้ความสามารถเบื้องต้นในแต่ละบุคคลเพื่อวางแผนการพัฒนา การฝึกปฏิบัติตาม กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย การโค้ชโดยผู้เชี่ยวชาญในการลงพื้นที่ปฏิบัติจริง หลังจากนั้น ก็จะมี แผนการพัฒนายกระดับความสามารถ โดยการเพิ่มความรู้ความสามารถ เช่น มอบหมายให้ทํางาน ใหม่ๆเพิ่ม การยกระดับทักษะและกระบวนการให้คําปรึกษาให้หลากหลายขึ้น การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ การทําวิจัยและพัฒนาในเรื่องต่าง ๆ เป็นต้น จากเหตุผลดังกล่าวทําให้ผู้วิจัยเกิดแรงบันดาลใจในการที่จะศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของที่ ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังแนวทาง การพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เป็นผู้มีสมรรถนะระดับหน้าที่และศักยภาพที่พึงประสงค์โดยดําเนินการ วิจัย เรื่อง “การศึกษารูปแบบการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาค อุตสาหกรรม”โดยมีความคาดหวังว่าผลการศึกษาจะเป็นจุดเริ่มต้นและกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมไทยสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมาตรฐาน และเพิ่มความ แข็งแกร่งของวิชาชีพที่ปรึกษา ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษาที่ทํางานภายใต้องค์กรในนามนิติบุคคล หรือที่ ปรึกษาอิสระ ให้เกิดความทัดเทียมและมีความสามารถในระดับสากล สามารถรองรับการขยายตัวของ อุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีความยั่งยืน 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ผู้ประกอบการใน ภาคอุตสาหกรรมคาดหวัง 1.2.2 เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาทางด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน ภาคอุตสาหกรรม 1.2.3 เพื่อนําเสนอคู่มือการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน ภาคอุตสาหกรรม 1.3 ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะของที่ปรึกษาด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ผู้ประกอบการ ในภาคอุตสาหกรรมคาดหวังเพื่อนํามาสร้างรูปแบบการพัฒนาศักยภาพของที่ปรึกษา โดยได้ออกแบบ ให้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกําหนดขอบเขตการวิจัยไว้ ดังนี้ 1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหาประกอบด้วย แนวคิดด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดทฤษฏี ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทั้งความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ความรู้ด้าน
  • 18. 5 อุตสาหกรรม ด้านทักษะ ด้านคุณลักษณะของบุคคลที่ทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และแนวคิดในด้าน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วยมาตรฐานสากล ISO 14001 1.3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ ศึกษาเฉพาะอุตสาหกรรม ในเขตพื้นที่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร และ เขตปริมณฑล ซึ่งได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดปทุมธานี 1.3.3 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.3.3.1 กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่ง ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในภาครัฐ และเอกชน ที่มีประสบการณ์ใน การทํางานด้านการให้คําปรึกษา ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป โดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เพื่อให้ได้ข้อมูลปัญหาและอุปสรรคตลอดจนแนวทางการพัฒนาศักยภาพ ของที่ปรึกษา รวม 7 คน 1.3.3.2 กลุ่มที่.2.กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม ประชากรคือบริษัทที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ในเขตพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ซึ่งได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด สมุทรปราการ ข้อมูลจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สืบค้น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2560 ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 375 บริษัท และจํานวนตัวอย่างของประชากร คือ 48 ตัวอย่าง (หน่วยวิเคราะห์ระดับองค์กร โดยคัดเลือกผู้ตอบแบบสอบถามในฐานะผู้แทนองค์กรละ 10 คน รวมไม่น้อยกว่า 400 คน) 1.3.3.3 กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิในการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อ ให้ความเห็นชอบรูปแบบการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านระบบการบริหารงานสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักวิชาการ จํานวน 3 คน กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา ด้านระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อมจํานวน 4 คน และกลุ่มผู้บริหารด้านทรัพยากรมนุษย์ จํานวน 2 คน รวมไม่น้อยกว่า 9 คน 1.3.2 ขอบเขตด้านระยะเวลาผู้วิจัยกําหนดกรอบเวลาในการดําเนินการวิจัย เริ่มตั้งแต่ ภาคการศึกษาที่ 2/2558 ถึงภาคการศึกษาที่ 2/2560 1.3.3 กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้วิจัยกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนา ศักยภาพของที่ปรึกษาด้านการระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1.3.3.1 ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัย ศึกษาตามแนวทางของมาตรฐานของ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม สากล ISO 14001 1.3.3.2 ด้านศักยภาพของที่ปรึกษา ผู้วิจัย ศึกษาด้านความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรม และ ทักษะต่าง ๆ ที่มีความจําเป็นใน การเป็นที่ปรึกษา ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 รวมถึงคุณลักษณะบุคคลที่เป็นที่ ปรึกษาตามทฤษฏีของ David C. McClelland 1.3.3.3 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยศึกษา รูปแบบในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ แบบองค์รวม คือ การพัฒนาบุคคล (Individual Development) การพัฒนาวิชาชีพ (Career Development) และการพัฒนาองค์การ (Organization Development)
  • 19. 6 1.4 นิยา 1.4 ให้ความรู การสร้าง เมื่อพบปั 1.4 การจัดกา ที่องค์กร แหล่งกํา และข้อกํ 1.4 ที่สําคัญ หน้าที่ได้ ทางด้านอ 1.4 จรรยาบร 1.5 ประ 1.5 ศักยภาพ ความสาม ามศัพท์เฉพา .1 ที่ปรึกษา รู้ด้านระบบก งระบบ การนํ ปัญหา หรือ ข้อ .2 ระบบการ ารกับมลพิษท รเป็นผู้กระทํา เนิดจนครบวัฎ ําหนดที่เกี่ยวข .3 การพัฒนา ซึ่งทําให้ผู้ปร ้อย่างเป็นมาต อุตสาหกรรมท .4 รูปแบบกา รรณ ในการป ะโยชน์ของกา .1 องค์กรภา พที่ปรึกษาด้า มารถในการต ภา าะ ระบบการจั ารจัดการสิ่งแ นําไปปฏิบัติ ก อบกพร่อง รจัดการสิ่งแว ทางด้านสิ่งแว า หรือที่องค์ ฎจักรชีวิตของ ข้อง รวมถึงพั าศักยภาพ หม ระกอบอาชีพที ตรฐาน ซึ่งปร ทักษะในการเ ารพัฒนาศักย ปฏิบัติงานของ ารวิจัย าครัฐ และเอก านระบบการจ ตอบสนองควา พที่ 1-1 กรอ ัดการสิ่งแวด แวดล้อม แก่ผู้ การตรวจสอบ วดล้อม หมาย ดล้อมที่เกิดขึ้ กรมีอิทธิพลต งสิ่งนั้น โดยเน้ ันธสัญญาต่าง มายถึง การพัฒ ที่ปรึกษาด้าน ะกอบด้วย คว เป็นที่ปรึกษา ยภาพ หมายถึ ที่ปรึกษาด้าน กชน หรือ ที่ป จัดการสิ่งแวด มต้องการของ อบแนวคิดใน ล้อม หมายถึ ผู้ประกอบการ บและติดตามผ ยถึง มาตรฐาน ้นจากผลิตภัณ ต่อการเกิด โ น้นการปฏิบัติใ ง ๆ ที่มีระหว่า ฒนาองค์ประ นระบบการจัด วามรู้เฉพาะด้ และคุณลักษ ถึง แนวทางใน นระบบการจัด ปรึกษาอิสระ ส ดล้อม เพื่อเพิ งภาคอุตสาหก การวิจัย ถึง ผู้ให้คําปรึ รอุตสาหกรรม ผลการนําไปป นสากล ISO ณฑ์ กระบวนก โดยมีการจัดก ให้สอดคล้อง างองค์กรกับผู้ กอบที่เป็นคว ดการสิ่งแวดล้ ด้านระบบการ ษณะที่พึงประส นการพัฒนาค ดการสิ่งแวดล้อ สามารถนําไป พิ่มความสาม กรรม รึกษาแนะนําแ ม ตั้งแต่เริ่มต้น ปฏิบัติ และก 14001 ที่มี การผลิต หรือ การอย่างเป็น กับข้อกําหนด ผู้มีส่วนได้ส่วน ามสามารถแล ล้อม มีความส รจัดการสิ่งแวด สงค์ของการเป็ ความรู้ ทักษะ อม ปเป็นแนวทาง ารถในการแข และฝึกอบรม นการวางแผน การดําเนินการ มีแนวทางของ อกิจกรรมใด ๆ นระบบ ตั้งแต ดของกฎหมาย นเสีย ละคุณลักษณะ สามารถปฏิบัติ ดล้อม ความรู ป็นที่ปรึกษา ะ คุณลักษณะ งในการพัฒนา ข่งขันใน และ ม น ร ง ๆ ต่ ย ะ ติ รู้ ะ า ะ
  • 20. 7 1.5.2 องค์กรหรือบุคลากรที่สนใจสามารถนํารูปแบบและคู่มือการพัฒนาศักยภาพ ที่ปรึกษา ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมไปขยายผล ในการพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาด้านอื่น ๆ ได้อีก เช่น ด้านการระบบบริหารงานคุณภาพ ด้านการบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นต้น 1.5.3 สถานศึกษาภาครัฐ และเอกชน สามารถนําไปเป็นแนวทางในการวางแผนการพัฒนา บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่อไป
  • 21. 9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งต่างประเทศ และ ในประเทศ ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหาในเรื่องเกี่ยวกับ วรรณกรรม แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยเพื่อเป็น กรอบความคิดหลัก ในการดําเนินการการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย 2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.1.1 แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.1.2 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.1.3 แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ (Competency) 2.1.5 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ 2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theories) 2.2.1 ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) 2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้สําหรับผู้ใหญ่ (Adult Learning) 2.2.3 ทฤษฏีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom’s Taxonomy) 2.3 แนวคิดและทฤษฏีด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรฐานสากล ISO 14001 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพของบุคลากรที่มีอาชีพเป็นที่ปรึกษา 2.5 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฏีด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.1.1 แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ได้มีนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญ ให้คํานิยามไว้ หลากหลาย อาทิเช่น Johns (1989) มีความเห็นว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีความสําคัญใน กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ และถือเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน ระหว่างการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ Swanson (1995) ได้ให้ความหมายของ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์เป็นกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้เกิดการพัฒนาให้มนุษย์ได้แสดงออกมาถึงความเชี่ยวชาญ โดยผ่าน การพัฒนาองค์กร และการพัฒนาอบรมบุคลากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงผลการดําเนินงาน Nadler (1970) ให้ความหมายของ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า เป็นกลุ่มหนึ่งของกิจกรรม ในองค์กรที่จะต้องดําเนินการด้วยการกําหนดช่วงเวลาและมีการออกแบบเพื่อทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Jones (1981) ให้ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ว่า เป็นการเพิ่มความสามารถที่ เกี่ยวกับการทํางานของบุคคลอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการบรรลุความสําเร็จทั้งขององค์กรและ เป้าหมายของตัวบุคคล  
  • 22. 10 De เป็นกิจก บุคลากร อนาคต ผู้วิ อย่างเป็น 2.1 กา ของการพ ดังภาพที่ ภาพที่ ปร Theory) ต้องอยู่ภ 1. องค์กร ซึ ทางด้าน บุคลากร ให้สอดค ท ส่งผลให้ ดําเนินก ทดแทน : ROI แล้ เป็ คํานึงถึงข esimone, W รรมหนึ่งที่ถูก รในองค์กร ให้ วิจัย สรุปได้ว่ นระบบเพื่อให้ .2 ทฤษฏีที่เกี ารพัฒนาทรัพ พัฒนาทรัพยา ที่ 2-1 2-1 ทฤษฎีที ระกอบด้วย ท ) ทฤษฏีด้านจิ ายใต้กรอบขอ . ทฤษฏีทางด้ ซึ่งเป็นตัวชี้วั เศรษฐศาสต แล้วได้ผลตอ ล้องกับทิศทา 1.1 ทฤษฏี ฤษฎีนี้กล่าวถึ ้เราต้องพิจาร ารใด ๆ ที่อา โดยการตัดสิน ล้วพิจารณาว่า 1.2 ทฤษฎี ป็นทฤษฏีที่มุ่ง ข้อได้เปรียบใน Werner and กวางแผนอย่าง ห้มีโอกาสในก ว่า การพัฒนา ห้เกิดการพัฒน กี่ยวข้องกับกา พยากรมนุษย์ ากรมนุษย์โดย ที่เป็นรากฐานข ทฤษฏีทางด้า จิตวิทยา (Psy องจริยธรรม ( ด้านเศรษฐศาส ัดความอยู่รอ ร์มาวิเคราะห์ อบแทนตรงตา างขององค์กร การใช้ทรัพยา ถึง ความจํากั รณาอย่างรอบ าจเผชิญกับปั นใจต้องคาดก าการเลือกใช้ท ฎีการใช้ทรัพยา งเน้นผลตอบแ นการแข่งขันอ Harris (200 งเป็นระบบ โด ารเรียนรู้ทักษ าทรัพยากรมน นาเปลี่ยนแปล ารพัฒนาทรัพ ได้ใช้ทฤษฏีห ยนําเสนอออก ของการพัฒน นเศรษฐศาสต ychological (Ethics) สตร์ (Econo อดขององค์กร ห์ตัวเลขทางก ามวัตถุประสง ซึ่งมีทฤษฏีทา ากรที่มีอยู่อย่า กัดของทุกๆสิ่ บคอบว่า จะใ ญหาทรัพยา การณ์ถึงผลตอ ทรัพยากรนั้นจ ากรอย่างยั่งยื แทนที่ได้รับใน อย่างยั่งยืน (S 02 : 3) ให้คว ดยองค์กรออก ษะที่จําเป็น ส นุษย์ถือเป็นก ลงความรู้ความ ยากรมนุษย์ หลัก 3 กลุ่มท กมาในรูปของ นาทรัพยากรม ตร์ (Econom Theory)แล mic Theor รการพัฒนาท ารเงิน หรือ ท งค์ขององค์กรห างเศรษฐศาสต างจํากัด (Sca สิ่ง ไม่ว่าจะเป็ ใช้ทรัพยากร กรไม่เพียงพ อบแทนจากกา จะคุ้มค่ากับกา น (Sustaina นเป้าหมายระ Sustainable วามหมาย การ กแบบขึ้นเพื่อ สําหรับการดํา ระบวนการที่ มสามารถของ ทฤษฏีมาประ งโต๊ะสามขา นุษย์ (Swans mic Theory ะทั้งสามทฤษ y) ถือว่าเป็น ทรัพยากรมนุ ทางด้านต้นทุ หรือไม่ เพื่อจ ตร์หลัก 3 ทฤ are Resource ปนความจํากัด อย่างไรให้เกิ อ ก็ต้องตัดสิ ารลงทุน หรือ ารลงทุนหรือไ ble Resourc ะยะยาว ดังนั้น Advantage รพัฒนาทรัพย อการเตรียมคว าเนินงานในปั ต้องออกแบบ บุคคลและอง กอบกันเป็นท (Three-leg son and Ho y) ทฤษฏีระ ษฎีนั้นเมื่อบูรณ นพื้นฐานของก นุษย์จึงต้องมีก ทุน กําไร ที่ใช้ใ ะได้พัฒนาปรั ฤษฎีที่เกี่ยวข้อ e Theory) ดของเงินวัสด ดประโยชน์สู นใจเลือกทรั Return On ไม่ ce Theory) นการลงทุนที่ e) โดยการใช้เ ยากรมนุษย์ว่า วามพร้อมของ ปัจจุบันและใน บและวางแผน งค์กร ทฤษฏีพื้นฐาน gged Stool olton, 1991) ะบบ (System ณาการกันแล้ว การขับเคลื่อน การนําทฤษฏี ช้ในการพัฒนา รับปรุงกลยุทธ อง คือ ดุ เวลา อื่น ๆ สูงสุดหากการ ัพยากรอื่นมา Investmen เกิดขึ้นจึงต้อง ้เทคโนโลยีเข้า า ง น น น l) m ว น ฏี า ธ์ ๆ ร า t ง า