SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
หลักการที่เกี่ยวกับคลื่น
3.
หลักของฮอยเกนส์ กล่าวว่า “
ทุก ๆ จุดบนหน้าคลื่นเดียวกัน
อาจถือว่าเป็นแหล่งกาเนิดคลื่น
ชุดใหม่ ที่แผ่ออกไปทุกทิศทาง
ด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ”
หลักการของฮอยเกนส์
แหล่งกาเนิดคลื่น
สันคลื่น
สันคลื่น
สันคลื่น
ท้องคลื่น
ท้องคลื่น
หน้าคลื่น
ความยาวคลื่น
หลักการซ้อนทับ เมื่อคลื่น 2 คลื่น
เคลื่อนที่มาซ้อนทับกันในตัวกลางหนึ่ง ๆ
คลื่นรวมจะมีการกระจัดของตัวกลาง
ที่แต่ละตาแหน่ง ณ เวลาหนึ่ง ๆ
เท่ากับผลบวกของการกระจัดของตัวกลาง
ที่เกิดจากตาแหน่งและเวลานั้น ๆ
หลักการการซ้อนทับ
แอมพลิจูดเท่ากัน แอมพลิจูดไม่เท่ากัน
แอมพลิจูดเท่ากัน แอมพลิจูดไม่เท่ากัน
การซ้อนทับแบบเสริม
การซ้อนทับแบบหักล้าง
หลักการที่เกี่ยวกับคลื่น
3.
หลักการซ้อนทับ เมื่อคลื่น 2 คลื่น
เคลื่อนที่มาซ้อนทับกันในตัวกลางหนึ่ง ๆ
คลื่นรวมจะมีการกระจัดของตัวกลาง
ที่แต่ละตาแหน่ง ณ เวลาหนึ่ง ๆ
เท่ากับผลบวกของการกระจัดของตัวกลาง
ที่เกิดจากตาแหน่งและเวลานั้น ๆ
หลักการการซ้อนทับ
แอมพลิจูดเท่ากัน แอมพลิจูดไม่เท่ากัน
แอมพลิจูดเท่ากัน แอมพลิจูดไม่เท่ากัน
การซ้อนทับแบบเสริม
การซ้อนทับแบบหักล้าง
หลักการที่เกี่ยวกับคลื่น
3.
พฤติกรรมของคลื่น
การสะท้อนของคลื่น
𝜃𝑖
𝜃𝑟
เส้นปกติ
รังสีสะท้อน
รังสีตกกระทบ
คลื่นเคลื่อนที่มาถึงขอบเขตของตัวกลาง
เมื่อกระทบรอยต่อของตัวกลาง พบว่า เกิดคลื่น
สะท้อนออกจากรอยต่อกลับมาตัวกลางเดิม คลื่นที่
เข้าหารอยต่อ เรียกว่า คลื่นตกกระทบ คลื่นที่ออก
จาก รอยต่อ เรียกว่า คลื่นสะท้อน
กฎการสะท้อน
1. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน รอยต่อขอบเขตตัวกลาง
และเส้นปกติอยู่ในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน
รอยต่อขอบเขตตัวกลาง
พฤติกรรมของคลื่น
การหักเหของคลื่น
𝜃𝑖
𝜃𝑟
รังสีคลื่นหักเห
แนวรอยต่อระหว่างตัวกลาง
เส้นแนวฉาก
รังสีคลื่นตกกระทบ
เมื่อคลื่นกระทบรอยต่อของตัวกลาง
คลื่นส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับไปในตัวกลางเดิม
อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนที่ผ่านไปในอีกตัวกลางหนึ่ง
เรียกว่า คลื่นหักเห หรือ คลื่นที่ผ่านไป สามารถ
คานวณได้ตามกฎของสเนลล์
กฎการหักเห
sin 𝜃1
sin 𝜃2
=
𝑣1
𝑣2
พฤติกรรมของคลื่น
การแทรกสอดของคลื่น
เมื่อคลื่นสองขบวนเคลื่อนที่มาพบ
กันเกิดการแทรกสอดกัน ถ้าคลื่นจาก
แหล่งกาเนิด 𝑠1และ 𝑠2 มีความถี่เท่ากัน
เฟสตรงกัน แอมพลิจูดเท่ากัน เมื่อแทรก
สอดกันเกิดตาแหน่งที่รวมกันแบบเสริม
เรียกว่า ปฏิบัพ และ แบบหักล้าง เรียกว่า
บัพ
พฤติกรรมของคลื่น
การเลี้ยวเบนของคลื่น
การเลี้ยวเบนของคลื่น เกิดขึ้นเมื่อคลื่น
เคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางหรือผ่านช่องแคบ
ของสิ่งกีดขวาง คลื่นจะเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
อ้อมขอบของสิ่งกีดขวางไปด้านหลัง โดยทิศทาง
แอมพลิจูดเปลี่ยน แต่ λ และ f เท่าเดิม
พฤติกรรมของคลื่น

More Related Content

More from matdavitmatseng1

PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfmatdavitmatseng1
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfmatdavitmatseng1
 
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfPurple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfmatdavitmatseng1
 
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfCopy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfmatdavitmatseng1
 
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdfmatdavitmatseng1
 

More from matdavitmatseng1 (10)

1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
 
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfPurple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
 
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfCopy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
 
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf
1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf
 

Copy-of-2.คลื่น.pdf