SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
ใบความรู้ 1
ความหมายและความสาคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย
นแบบอัตนัย
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
การวัดและประเมินผลกับกระบวนการจัดการเรียนรู้
ถือเป็นสิ่งสาคัญที่ต้องปฏิบัติควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ซึ่งการวัดและประเมินผลที่ดีต้องอยู่บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ คือ
1. การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ครูผู้สอนควรเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึก
ข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยดาเนินการอย่างต่อเนื่องตลอ
ดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน นับตั้งแต่ก่อนการจัดการเรียนรู้
ระหว่างการจัดการเรียนรู้ และหลังการจัดการเรียนรู้
ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับพฤติกรรมที่ต้องการวัด
ซึ่งผลที่ได้เมื่อนาตีค่าเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดในตัวชี้วัดของมาตรฐา
นสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแล้ว
ครูต้องนาไปใช้ในการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับความก้าวหน้า จุดเด่น
จุดที่ต้องปรับปรุงให้แก่ผู้เรียน
รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสะท้อนให้ทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนของตน
และพัฒนาการของผู้เรียน ดังแผนภาพ
ประเมินระหว่างเรียน
-
ตรวจสอบผลการพัฒนา/ความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้เรียน
- เน้นการประเมินตามสภาพจริง
- ใช้เทคนิคการประเมินที่หลากหลาย : การสังเกต สัมภาษณ์
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
แฟ้มสะสมงานและแบบทดสอบ
2
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สัมพันธ์กับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ มีคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึก
ษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรู้ยังสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร
ประเมินก่อนเรียน
-
ตรวจสอบความพร้อม/ควา
มรู้พื้นฐาน
- เครื่องมือ :
ข้อสอบวินิจฉัย
แบบสารวจ
รายการ แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
-
นาผลการประเมินไปวางแ
ผนแก้ไข
ปรับปรุงและพัฒนาศักยภา
พ
รายบุคคล/รายกลุ่ม
ประเมินหลังเรียน
-
ตรวจสอบผลสาเร็จการเรี
ยนรู้ของ
ผู้เรียนหลังแผนการจัดกา
รเรียนรู้
- ใช้วิธีการ/เครื่องมือ
ที่เป็นมาตรฐาน
-
นาผลการประเมินไปวางแ
ผนแก้ไข
และพัฒนานาไปสู่การวิจัย
ในชั้นเรียน
และวิจัยทางการศึกษา
คุณภาพผู้เรียน
-
มาตรฐานการเรียน
รู้/ตัวชี้วัด
8
กลุ่มสาระการเรียน
รู้
-
สมรรถนะสาคัญข
องผู้เรียน
-
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
- การอ่านคิด
วิเคราะห์
และเขียน
-
กิจกรรมพัฒนาผู้เรี
ยน
มาตรฐานการเ
รียนรู้
3
คุณภาพผู้เรี
ยน
ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร
รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ นาไปใช้ในการกาหนดเนื้อหา
จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้
และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เ
รียน ประกอบด้วย
ตัวชี้วัดชั้นปี :
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละชั้นปี
ในระดับการศึกษาภาคบังคับ
ตัวชี้วัดช่วงชั้น :
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด เป็นสิ่งที่คาดหวังให้เกิดการเรียนรู้ที่ค่อนข้างเจาะจง
เป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้และสร้างภาระงานการประเมิน
ครูผู้สอนจะกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการประเมินได้เพราะจะได้ภาพที่บ่งชี้ชัดเจนว่าผู้เรียนควรรู้อะไร
และทาอะไรได้
องค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
การอ่าน
คิดวิเคราะห์
และเขียน
มาตรฐานการเรีย
นรู้
8
กลุ่มสาระการเรีย
นรู้
4
จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา
ทศวรรษที่สอง
เพื่อการขับเคลื่อนหลักสูตร การจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผล
จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนเพื่อการขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึก
ษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552
– 2561) ให้ประสบผลสาเร็จตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน
โดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกันดาเนินการ
กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะความสา
มารถ และคุณลักษณะ ดังนี้
ทักษะ
ความสามารถ
คุณลักษณะ
กิจกรรมพัฒนาผู้เ
รียนคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
จุดเน้นการพัฒนาคุณภ
าพผู้เรียน
5
จุดเน้นตามช่
วงวัย
คุณลักษณะตาม
หลักสูตร
รักชาติ
ศาสน์
กษัตริย์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
ใฝ่ เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพี
ยง
มุ่งมั่นในการ
ทางาน
รักความเป็นไท
ย
มีจิตสาธารณะ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรีย
นรู้
มีทักษะการคิดขั้นสูงทักษะ
ชีวิต
ทักษะการสื่อสารอย่างสร้า
งสรรค์ตามช่วงวัย
อ่านคล่อง เขียนคล่อง
คิดเลขคล่อง
มีทักษะการคิดข้นพื้นฐาน
ทักษะชีวิตทักษะการสื่อส
ารอย่างสร้างสรรค์ตามช่
วงวัย
อ่านออก เขียนได้
คิดเลขเป็น
มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
ทักษะชีวิตทักษะการสื่อสา
รอย่างสร้างสรรค์ตามช่วง
วัย
ม.1-
3
ม.4-
6
ป.4-
6
ป.1-
3
แสวงหาความรู้
เพื่อแก้ปัญหาใช้เทคโนโลยี
เพื่อการเรียนรู้ใช้ภาษาต่าง
ประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
มีทักษะการคิดขั้นสูง
ทักษะชีวิตทักษะ
การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
ตามช่วงวัย
มุ่งมั่นก
ารศึกษาแ
ละการทา
งาน
อยู่อย่า
งพอเพียง
ใฝ่รู้ใฝ่เ
รียน
ใฝ่ดี
6
ความหมายของแบบทดสอบแบบอัตนัย
แ บ บ ท ด ส อ บ แ บ บ อั ต นั ย ห ม า ย ถึ ง
แบบทดสอบแบบเขียนตอบที่ผู้สอบจะต้องเรียบเรียงความคิดและความรู้ให้ส
อดคล้องกับคาถาม แล้วเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ์
วิ จ า ร ณ์ เ รื่ อ ง ร า ว พ ฤ ติ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ตามความรู้และประสบการณ์ที่มีลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเป็นโ
จท ย์ห รือค าถ ามที่ ก าห น ด สถ าน ก าร ณ์ ห รือปัญ ห าอย่างก ว้าง ๆ
ห รื อ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง
โดยทั่วไปจะไม่จากัดเสรีภาพของผู้ตอบในการเรียบเรียงความรู้ ความคิด
และข้อเท็จจริงต่าง ๆ อันเป็นข้อมูลของคาตอบ
จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบแบบอัตนัย มีดังนี้
1.ต้องการให้ผู้เข้าสอบแสดงความสามารถด้านความคิดสร้างสรร
ค์ ( Creativity)
และบรรยายความคิดออกมาได้อย่างเป็นอิสระและต้องคานึงถึงความสามาร
ถทักษะการเขียนของนักเรียนด้วย
2.ต้ อ ง ก า ร เ น้ น ค ว า ม รู้ ขั้ น ลึ ก ซึ้ ง เ ช่ น
ความสามารถในการสังเคราะห์หรือต้องการวัดความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
มาทั้งหมด
ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย
1. แบบทดสอบอัตนัยโดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 แบบทดสอบแบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบอย่างอิสระ
(Unrestricted Response) เป็ น แ บ บ ท ด ส อ บ ที่ ไ ม่จ า กั ด ค าต อ บ
แต่ผู้สอบจะต้องจากัดคาตอบให้เหมาะสมกับคาถามและเวลาโดยจะต้องเรีย
บ เ รี ย ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ จั ด ล า ดั บ ค ว า ม ส า คั ญ
แล้วเรียบ เรียงออก มาเป็น คาต อบ ตามค วามคิด และเหตุผลข องต น
โด ยให้มีค วามยาวที่เหมาะสมกับห ลักและเห ตุผลที่คาถามต้องก าร
ข้ อ ดี ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ ป ร ะ เ ภ ท นี้ คื อ
ส า ม า ร ถ ใ ช้ วั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ร ะ ดั บ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์
ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
จึงมักใช้กับผู้เรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคาถามมักมีคาว่า “จงอธิบาย
7
อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สรุปประเด็นสาคัญ แสดงความคิดเห็น
ข้ อ เส น อ แ น ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล แ น ว ท า ง แ ก้ ปั ญ ห า ” เป็ น ต้ น
แต่มักมีปัญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจให้คะแนน
1 .2 แบ บ ท ด สอบ แบ บ จ ากัด ค าต อบ ห รือ ต อบ แบ บ สั้น
( Restricted Response or Shot Essay Item)
เป็นแบบทดสอบที่จากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคาตอบ
และกาหนดขอบเขตของประเด็นให้ตอบในเนื้อหาที่แคบลงและสั้นกว่าแบบ
ท ดสอบ ที่ไ ม่จ ากัด ความยาว ข้อดีข องแบบ ท ด สอบ ป ระเภท นี้ คือ
ใช้วัดความรู้ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงได้ดีกว่าแบบทดสอบแบบไม่จากั
ด ค ว า ม ย า ว ซึ่ ง เ ห ม า ะ ที่ จ ะ วั ด ผ ล ก า ร เรี ย น ที่ ส า คั ญ
โด ยที่ ผู้ ส อบ จ ะ ต้ อ งเลื อ ก ค วาม รู้ที่ ดี ที่ สุ ด ส าห รั บ ค าถ าม นั้ น ๆ
ลัก ษณ ะ ค าต อบ มัก อยู่ใ น รูป “จ งอธิบ ายสั้น ๆ จ งบ อก ป ระ โยช น์
จ ง อ ธิ บ า ย ส า เ ห ตุ ห รื อ จ ง บ อ ก ขั้ น ต อ น ”
แต่ แบ บ ท ด สอ บ นี้ ไ ม่ ไ ด้ เปิ ด โอ ก าส ใ ห้ ผู้ ต อบ ไ ด้ แ ส ด ง ค วา ม รู้
ความสามารถอย่างเต็มที่
2. แบบทดสอบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ
(PISA) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
2 . 1 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ ปิ ด
มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบที่เป็นคาต
อบถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน
2.2 แบบเขียนตอบสั้นๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถาม
และให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ
ซึ่งอาจเขียนคาตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข
2 . 3 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ อิ ส ร ะ
มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคาตอบหรือให้เห
ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ค า ต อ บ ที่ แ ส ด ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ที่ มี ต่ อ ค า ถ า ม
ผู้ เข้ าส อ บ ค ว ร เขี ย น ค าต อ บ ใ น เส้ น บ ร ร ทั ด ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ ห้
จานวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่างคร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ
ดั ง นั้ น
เมื่อพิจารณาลักษณะของข้อสอบที่ใช้ทดสอบในการทดสอบทั่วไปและการท
8
ดสอบในระดับนานาชาติมีความคล้ายคลึงซึ่งสามารถสรุปได้ดังตารางต่อไป
นี้
ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบโดย
ทั่วไป
ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบในระดับน
านาชาติ (PISA)
1. แบบจากัดคาตอบ 1. แบบสร้างคาตอบแบบปิด
2. แบบเขียนตอบสั้นๆ
2 .
แบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบ
อย่างอิสระ
3. แบบสร้างคาตอบแบบอิสระ
ข้อดีและข้อจากัดของแบบทดสอบแบบอัตนัย
ข้อดี ข้อจากัด
1.สามารถ วัด พ ฤ ติก รร มต่าง ๆ
ได้ทุกด้านโดยเฉพาะกระบวนกา
รคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์จะวั
ดได้ดี
2.ผู้ตอบมีโอกาสใช้ความรู้แสดงคว
ามคิดเห็นและความสามารถในก
ารใช้ภาษา
3.โอกาสในการเดาโดยไม่มีความรู้
ใ น เรื่องนั้ น แล้วไ ด้ ค ะแ น น
มีน้อยมาก
4.สร้างได้ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่
าย
1.คาถามไม่สามารถครอบคลุมเนื้อ
ห า ที่ เ รี ย น
เนื่ องจ าก จ าน วน ข้ อ มีจ ากั ด
เป็นการยากที่จะสุ่มเนื้อหาให้ครอ
บคลุมความรู้ที่ต้องการจะวัดได้ค
รบถ้วน
2.การตรวจให้คะแนนไม่คงที่แน่นอ
น มักมีความคลาดเคลื่อน มาก
และควบคุมให้เกิดความยุติธรรมไ
ด้ยาก
3.ไม่เหมาะที่จะใช้กับผู้สอบจานวน
มาก ๆ เพราะใช้เวลาในการตรวจ
4.ลายมือของผู้ตอบและความสามา
รถในการเขียนบรรยายอาจจะมีผ
ลต่อคะแนน
5.มีความเชื่อมั่นต่าและมักขาดควา
มเที่ยงธรรม
9
ใบกิจกรรม 1
การตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย
นแบบอัตนัย
ชื่อ-สกุล โรงเรียน
เลขที่ สพม.32
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน
ประเด็นคาถาม
ความคิดเ
ห็น
ใช่ ไม่ใ
ช่
1.แบบทดสอบอัตนัยมีคุณสมบัติที่สาคัญ คือ
ผู้ตอบต้องเขียนบรรยายและมีสิทธิการตอบอย่างเสรี
2.แบบทดสอบอัตนัยอาจจะมีคาตอบที่ถูกต้องหลายแนวทางมีความ
แตกต่างทั้งด้านคุณภาพ และความถูกต้อง
3.ข้อสอบแบบอัตนัยเน้นเฉพาะแบบเติมคาให้สมบูรณ์และแบบตอบ
สั้น
4.แบบทดสอบแบบอัตนัยเปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น
เหมาะสาหรับวัดความรู้ขั้นสูงกว่าความจาและความเข้าใจ
5.ข้อสอบแบบอัตนัย แบ่งเป็น 2 ประเภท
คือแบบไม่จากัดคาตอบและแบบจากัดคาตอบ
6.ข้อสอบแบบอัตนัยเหมาะสาหรับวัดความรู้ระดับความจาและการ
ประยุกต์ใช้
7.ข้อสอบอัตนัยแบบไม่จากัดคาตอบเน้นให้นักเรียนอาศัยการสังเค
ราะห์และการประเมินผล
8.ข้อสอบแบบจากัดคาตอบส่วนใหญ่มักจะไม่กาหนดขอบเขตแบบ
ฟอร์มและเนื้อหาที่เฉพาะให้นักเรียนได้ตอบ
9.จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบอัตนัยเน้นคาตอบที่เป็นการบ
รรยาย
10
10. จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบอัตนัยเน้นความรู้ขั้นลึกซึ้
ง เช่น
ความสามารถด้านการสังเคราะห์หรือต้องการวัดความเข้าใจในเ
นื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
11. เกณฑ์การประเมิน (Rubrics)
เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการประเมินผลงานของผู้เรียน
12. องค์ประกอบที่สาคัญในการเขียน Rubrics ได้แก่
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคุณภาพและคาอธิบายระดับคุณภาพ
13. เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม ( Holistic Rubrics)
เหมาะกับการปฏิบัติที่ต้องการให้นักเรียนสร้างสรรค์
ไม่มีคาตอบที่ถูกต้องชัดเจน
14. เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน
เหมาะสาหรับการประเมินเพื่อพัฒนาเพราะให้ข้อมูลย้อนกลับได้
ดี
15. กระบวนการให้คะแนนเร็ว ครูต้องอ่าน พิจารณาโดยตลอด
นักเรียนได้รับผลสะท้อนกลับน้อยมาก
เป็นเกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)
16. การเขียนคาอธิบายในแต่ละระดับคุณภาพ
ต้องเขียนให้แตกต่างกันเฉพาะคุณภาพของงาน
17. ในการเขียนเกณฑ์การประเมินผลงาน
การกาหนดจานวนระดับคุณภาพขึ้นอยู่กับผู้สอน
18. จานวนเกณฑ์หรือประเด็นการประเมิน
ขึ้นอยู่กับตัวชี้วัดที่ต้องการประเมิน
19.เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมิน (Criteria)
เป็นการพิจารณาว่าภาระงานหรือชิ้นงานนั้น ๆ
ประกอบด้วยคุณภาพกี่ด้าน อะไรบ้าง
20.ตัวชี้วัดทุกตัวในทุกมาตรฐานของหลักสูตร
สามารถวัดโดยใช้เกณฑ์การประเมิน (Rubric)
11
ใบความรู้ 2
แนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised)
แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม Bloom Taxonomy’s Revised
ใ น ปี 1956, Benjamin Bloom
นากลุ่มนักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มหนึ่งพัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมทางสมอ
งที่สาคัญต่อการเรียนรู้ ระหว่าง ปี 1990 มีนักจิตวิทยากลุ่มใหม่ นาโดย
Anderson and Krathwohl (2001) ซึ่ งเป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ เก่ าข อ ง Bloom
ได้ปรับปรุงกลุ่มพฤติกรรมขึ้นมาใหม่ และสะท้อนผลงานในศตวรรษที่ 21
เป็นรูปภาพที่เป็นตัวแทนของคากริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s
Taxonomy ที่ เ ร า คุ้ น เ ค ย ม า น า น
บันทึกนี้เปลี่ยนจากนามเป็นกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกต่างกันของกลุ่มพฤ
ติ ก ร ร ร ม
ดังภาพประกอบ
12
ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองที่สาคัญต่อการเรียนรู้ตามแนวคิด ทฤษฎี
ความรู้ของบลูม ตามแนวคิดเดิม และที่ปรับปรุงใหม่
กระบวนการทางปัญญา ด้านพุทธิพิสัยของบลูม มีลาดับขั้น 6 ขั้น
ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้
1.จา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้
แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุชื่อได้ การบอกชื่อ การบอกตาแหน่ง
การให้สัญลักษณ์ ยกตัวอย่าง บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้
อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลาดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจามีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม
รู้จัก จาได้ พยัญชนะไทยแบ่งได้เป็นกี่หมู่ อะไรบ้าง
จัดทารายการ นักเรียนเขียนรายการอาหารที่มีประโยชน์มา 3 มื้อ/1
วัน
อธิบาย นักเรียนอธิบายความหมายของสามเหลี่ยมด้านเท่า
การระบุ นักเรียนระบุประเภทของใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่มาทั้
งหมด
บอกความแตกต่
าง
สัตว์น้าแตกต่างกับสัตว์บกอย่างไรบ้าง
2.เ ข้ า ใ จ ( Understanding) ห ม า ย ถึ ง
ค วามสามาร ถ ใ น ก าร แป ลค วาม ห ม าย ย ก ตั วอย่าง สรุป อ้ างอิ ง
13
การเรียบเรียงให ม่ ก ารจาแนก ห มวด ห มู่ สังเกต ท าเค้าโค รงเรื่อง
ให้คาจากัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม
การสรุปความ จากข้อความที่นักเรียนได้สรุปสาระสาคัญได้อย่างไร
การแปลความหม
าย
บทร้อยกรองข้างต้นตรงกับสุภาษิตไทยคืออะไร
การเปรียบเทียบ จงเปรียบเทียบสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือกับภาคใ
ต้
อธิบาย จงอธิบายสภาพท้องถิ่นของนักเรียน
บรรยาย จากภาพวงจรชีวิตของผีเสื้อให้นักเรียนบรรยายรายละ
เอียด
3.ประยุกต์ใช้(Applying) หมายถึง ความสามารถในการนาไปใช้
ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
ลงมือทา แป ลค วามหมาย ใช้ภาพประกอบ การคานวณ เรียงลาดับ
การแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ คาดคะเน
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม
การนาไปป
ฏิบัติ
นักเรียนสามารถใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
การลงมือ
ทา
ถ้าเราจะขึงลวดให้ตึงเพื่อทาราวตากผ้าจะต้องทาอย่างไร
การใช้ จงยกอาหารที่มีคุณค่าและราคาถูกในชีวิตประจาวันและอธิบ
ายด้วยว่ามีคุณค่าต่อร่างกายอย่างไร
การจัดการ ถ้านักเรียนมีเงินรายรับเป็นรายเดือน
นักเรียนจัดระบบการใช้จ่ายเงินอย่างไรถึงจะมีเงินใช้ทั้งเดือ
น
การแปลคว
ามหมาย
“โคมสวรรค์พราวพราย” โคมสวรรค์หมายถึงสิ่งใด
14
4.วิ เ ค ร า ะ ห์ ( Analyzing) ห ม า ย ถึ ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ
การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คานวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลาดับเรื่อง ทาแผนผัง
หาความสัมพันธ์
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับ วิเคราะห์ มีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม
การจัดระบบ เลขโดด 1-9 นามาสร้างจานวนเต็ม 4 หลักแล้วหารด้วย 5
ลงตัวมีกี่จานวน
การสืบเสาะ
สืบสวน
ข้อใดบ้างกล่าวถึงวิธีการโครงสร้างภูมิคุ้มกันไข้หวัดนก
การให้เหตุผล
การอ้างเหตุผล
ลูกที่ดีของพ่อแม่ควรมีพฤติกรรมอย่างไรบ้างเพราะเหตุใด
จาแนกความแ
ตกต่าง
นักเรียนบอกความแตกต่างระหว่างกบกับกระต่ายมาตามเ
กณฑ์ที่นักเรียนกาหนด
การตีค่า “วิชัยทาการบ้านส่งครูทุกวัน”
นักเรียนคิดว่าวิชัยเป็นคนอย่างไรเพราะเหตุใด
5.ป ร ะ เ มิ น ค่ า ( Evaluating) ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน ให้คะแนน ประมาณค่า
เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนา สืบค้น ตัดสินใจ คัดเลือก วัด
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่า มีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม
การตรวจสอ
บ
“รองเท้ากีฬาที่ดีควรมีคุณสมบัติครบทั้ง 4 ประการ”
คุณสมบัติเหล่านั้นควรมีอะไรบ้าง
ตั้งสมมติฐาน ถ้าท้องฟ้ามืดครึ้มแล้วฝนจะตก
นักเรียนคิดว่าเป็นเช่นนั้นหรือไม่เพราะเหตุใด
วิพากษ์วิจาร
ณ์
ทาไมในสินค้าที่นักเรียนเลือกซื้อต้องมี”วันที่ควรบริโภค”กา
กับมาด้วย
ทดลอง นักเรียนคนหนึ่งทาการทดลอง
15
ใส่หินอ่านชิ้นเล็กๆในน้าบริสุทธ์และน้าอัดลมอย่างละเท่าๆกั
น เพื่อทดลองเรื่องอะไร
ตัดสิน นักเรียนสามารถตัดสินคุณค่าของน้าอัดลมและน้าบริสุทธิ์ได้
อย่างไร
6.คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ( Creating) ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์
ออกแบบ ทานาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง
ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์ มีดังนี้
พฤติกรร
ม
ตัวอย่างคาถาม
ออกแบบ ให้นักเรียนออกแบบห้องนอนที่นักเรียนคิดว่าเหมาะสมและถูกสุ
ขลักษณะ
สร้าง ให้นักเรียนนาเสนอวิธีการสร้างหุ่นยนต์ใหม่ที่แตกต่างไปจากหุ่
นยนต์เดิม
วางแผน นักเรียนช่วยเขียนขั้นตอนการทารายงาน”ท้องถิ่นในฝันของข้า
พเจ้า”
ปรับปรุง จงบอกวิธีปรับปรุงดินให้เหมาะกับการปลูกข้าว
พยากร
ณ์
จากข้อมูลของกราฟเส้นตรง นักเรียนคิดว่าในปี พ.ศ. 2557
จะเป็นอย่างไร
ใบกิจกรรม 2
“วิเคราะห์ข้อคาถาม”
คาชี้แจง
อ่านสถานการณ์และคาถามที่กาหนดให้แล้วพิจารณาว่าข้อคาถามแต่ละข้อ
สอดคล้องกับทฤษฎี ความรู้ของบลูมในระดับใด
16
การแปรงฟันของคุณ
ฟันของเราสะอาดมากขึ้นและมากขึ้นเมื่อเราแปรงนานขึ้นและแรงขึ้นใช่หรื
อไม่?
นักวิจัยชาวอังกฤษบอกว่าไม่ใช่ เขาได้ทดสอบหลาย ๆ ทางเลือก
และท้ายที่สุดก็พบวิธีที่สมบูรณ์แบบในการแปรงฟัน การแปรงฟัน 2 นาที
โด ยไม่แปรงฟัน แรงจนเกินไปให้ผลที่ดีที่สุด ถ้าคุณ แป รงฟันแรง
คุณกาลังทาร้ายเคลือบฟันและเหงือกโดยไม่ได้ขจัดเศษอาหารหรือคราบหิ
นปูน
เบ น ท์ ฮั น เซน ผู้เชี่ยวช าญ เรื่องก ารแ ป ร งฟั น ก ล่าวว่า
วิ ธี จั บ แ ป ร ง สี ฟั น ที่ ดี ก็ คื อ จั บ ใ ห้ เ ห มื อ น
จับปากกา “เริ่มจากมุมหนึ่ง และแปรงไปตามฟันจนหมดแถว” เธอบอกว่า
“อย่าลืมลิ้นของคุณ ด้วย มันสามารถสะสมแบค ทีเรียได้มากทีเดียว
ซึ่งเป็นสาเหตุของกลิ่นปาก
1.
จากบทความดังกล่าวมีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะวิธีการจับแปรงสีฟันที่ดีอย่างไ
ร
วัดพฤติกรรม
ระดับ..........................................................................................
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
2. จากบทความดังกล่าวมีสาระสาคัญว่าอย่างไร
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม
ระดับ...................................................................................................
..
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
3. นักเรียนจะนาความรู้เรื่องนี้ไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง
17
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม
ระดับ...................................................................................................
..
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
4.
เพราะเหตุใดการแปรงฟันตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนาจึงสามารถทาให้สุขภา
พปากและฟันดีขึ้น
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม
ระดับ...................................................................................................
..
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
5. ถ้าเราจะออกแบบวิธีการทดลองตามที่นักวิจัยกล่าวตามบทความ
นักเรียนจะออกแบบอย่างไร
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม
ระดับ...................................................................................................
..
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
6. พฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติในการแปรงฟันทุกวันนี้ดีหรือไม่
เพราะเหตุใด และจะปรับปรุงอย่างไรให้สุขภาพ
ช่องปากดีขึ้น
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม
ระดับ...................................................................................................
..
18
เพราะ..................................................................................................
.............................................................
ใบความรู้ 3
รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเป็นการสร้างข้อสอบให้
ผู้เข้าสอบเขียนตอบโดยมีความเชื่อว่าถ้าผู้เข้าสอบมีความรู้ในเรื่องนั้นดี
ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ เ ขี ย น อ ธิ บ า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
โดยรูปแบบของข้อสอบอัตนัยสามารถจาแนกตามบริบทของการทดสอบได้
ดังต่อไปนี้
1 . ข้ อ ส อ บ อั ต นั ย ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ท ด ส อ บ โ ด ย ทั่ ว ไ ป
กาหนดให้ผู้เข้าสอบนาเสนอคาตอบใน 2 รูปแบบ คือ
1 .1 แ บ บ จ า กั ด ค า ต อ บ ( Restriced-answer essay)
เป็ น ข้ อ ส อ บ ที่ ผู้ ต อ บ ต้ อ ง ต อ บ ใ ห้ ต ร ง ป ร ะ เด็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร
ถ้าตอบเป็นอย่างอื่นจะไม่ได้คะแนน แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่
1 ) แ บ บ เ ติ ม ค า ใ ห้ ส ม บู ร ณ์ ( Completion Item)
มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ข้ อ ค า ถ า ม ที่ เ ว้ น ค า ห รื อ ว ลี ไ ว้ แ ล้ ว
ให้ผู้เข้าสอบเติมคาหรือวลีที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว ทั้งนี้
Cocks แ ล ะ Bormuth ( 1 9 7 5 )
ได้เสนอแนะว่าบางครั้งอาจจาเป็นต้องให้คะแนนสาหรับคาตอบที่คล้ายกันห
รือข้อความที่ใช้แทนกันด้วยความเหมาะสม
2) แบบตอบสั้น (short-answer essay) ข้อสอบแบบตอบสั้น
มีเจต นาให้ผู้เข้าสอบเสนอคาตอบออก มา ซึ่งข้อสอบ แบบตอบสั้น นี้
ถูกเลือกใช้ในการเขียนข้อสอบแบบอัตนัยบ่อยครั้งมากเพราะสามารถถามไ
ด้ ค ร อ บ ค ลุ ม แ ล ะ ลึ ก ก ว่ า ข้ อ ส อ บ แ บ บ เติ ม ค า ใ ห้ ส ม บู ร ณ์
19
แต่มีข้อจากัดเรื่องการตรวจให้คะแนนโดยต้องให้ความสาคัญกับเกณฑ์การ
ให้คะแนนที่ชัดเจนเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนน
1.2 แบบไม่จากัดคาตอบ (Unrestriced-answer essay หรือ
Extended-answer essay)
เป็นข้อสอบที่มีวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบความเข้าใจทั้งหมดในเรื่องที่เรี
ยนรู้ โดยผู้เข้าสอบ จะต้องเขียนค าต อบได้อย่างรวบรัดและชัดเจ น
ผู้ออกข้อสอบต้องกาหนดรูปแบบคาตอบ/ขอบเขตของการตอบเป็นเกณฑ์ใ
นการให้คะแนนอย่างชัดเจน จึงสามารถตรวจ ให้คะแนนได้ตรงกัน
2. ข้อสอบอัตนัยที่ใช้ในการทดสอบในระดับนานาชาติ (PISA)
จะมีสถานการณ์ที่ใช้เป็นข้อมูลในการตอบคาถามให้และมีคาถามให้ผู้เข้าส
อบพิจารณา และนาเสนอคาตอบใน 3 แบบ ได้แก่
2 . 1 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ ปิ ด
มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบที่เป็นคาต
อบถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เช่น
คาถาม
บริษัทที่ทาขนมปังกรอบชื่อบริษัทอะไร
.................................................................................................
.........................................................
2.2 แบบเขียนตอบสั้นๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถาม
และให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ
ซึ่งอาจเขียนคาตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เช่น
คาถาม
ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์
ที่ทาให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น
.................................................................................................
.........................................
2 . 3 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ อิ ส ร ะ
มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคาตอบหรือให้เห
ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ค า ต อ บ ที่ แ ส ด ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ที่ มี ต่ อ ค า ถ า ม
20
ผู้ เข้ าส อ บ ค ว ร เขี ย น ค าต อ บ ใ น เส้ น บ ร ร ทั ด ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ ห้
จานวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่างคร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ
คาถาม คาพูดของนักข่าวคนนี้
เป็นการแปลความหมายกราฟอย่างสมเหตุสมผลหรือไม่
พร้อมเขียนคาอธิบายสนับสนุนคาตอบ
.................................................................................................
.........................................
.................................................................................................
.........................................
ดั ง นั้ น
เมื่อพิจารณาลักษณะของข้อสอบที่ใช้ทดสอบในการทดสอบทั่วไปและการท
ดสอบในระดับนานาชาติมีความคล้ายคลึงซึ่งสามารถสรุปได้ดังตารางต่อไป
นี้
ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบโดยทั่
วไป
ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบในระดับนา
นาชาติ (PISA)
1. แบบจากัดคาตอบ 1. แบบสร้างคาตอบแบบปิด
2. แบบเขียนตอบสั้นๆ
2 .
แบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบอ
ย่างอิสระ
3. แบบสร้างคาตอบแบบอิสระ
นอกจากนี้การข้อสอบอัตนัยที่ในการทดสอบระดับนานาชาติ
ยังมี ลัก ษณ ะพิ เศษ เกี่ย วกับ ก าร ก าห น ด เก ณ ฑ์ ก าร ป ร ะ เมิ น คื อ
มี ก า ร ก า ห น ด เ ก ณ ฑ์ ก า ร ใ ห้ ค ะ แ น น ที่ ชั ด เ จ น
โดยเกณฑ์ให้คะแนนแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.แบบให้คะแนนเป็น 2 ค่า กล่าวคือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน
ตอบผิดได้ 0 คะแนน ซึ่งจะกาหนดขอบเขตในการตอบของผู้เข้าสอบ
กรณีได้คะแนนและไม่ได้คะแนน เช่น
คาถาม
21
บ ริ ษั ท ที่ ท า ข น ม ปั ง ก ร อ บ ชื่ อ บ ริ ษั ท อ ะ ไ ร
..............................................................................
การให้คะแนน
คะแนนเต็ม
รหัส 1 : ระบุชื่อผู้ผลิตได้อย่างถูกต้อง  ไฟน์ฟู้ดส์ หรือบริษัท ไฟน์ฟู้ดส์
จากัด
ไม่ได้คะแนน
รหัส 0: ให้คาตอบที่ไม่เพียงพอหรือกว้างเกิน
 ผู้ผลิต  ใครก็ได้บางคน  บริษัท
แสดงความเข้าใจเนื้อเรื่องที่คลาดเคลื่อนหรือให้คาตอบทีเป็นไปไม่ไ
ด้หรือไม่เกี่ยวข้อง
 ครีมมะนาว  ซุปเปอร์มาเก็ต  คนทาขนมปัง
รหัส 9: ไม่ตอบ
2.ใ ห้ ค ะ แ น น ม า ก ก ว่ า 2 ค่ า
ซึ่งจะกาหนดขอบเขตในการตอบของผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนใน แต่ละระดับ
เช่น
คาถาม
ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์
ที่ทาให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น
...................................................................................................
.......................................
22
การให้คะแนน
คะแนนเต็ม
รหัส 2: อ้างถึง ความเป็นนิยายของภาพยนตร์ หรือ
โดยเฉพาะตัวนักแสดงที่ตายแล้วจะปรากฎตัวขึ้นมาใหม่อีก
อาจคัดลอกประโยคที่สามจากเนื้อเรื่องมาโดยตรง
(“...เพราะว่าตัวละครที่ตายและถูกฝังแล้วในเรื่องหนึ่ง
ซึ่งพวกเขาได้เศร้าโศกและเสียน้าตาไปอย่างมาก
กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเป็นชาวอาหรับในเรื่องใหม่...”)
หรือในข้อความสุดท้าย (“สิ่งที่มีเป็นเพียงภาพในจินตนาการเท่านั้น”)
 คนที่พวกเขาคิดว่าตายไปแล้วกลับมามีชีวิตอีก
 พวกเขาคิดว่าภาพยนตร์เป็นเรื่องจริงแต่กลับไม่ใช่
 พวกเขาคิดว่าคนในภาพยนตร์แกล้งตาย
และพวกเขาถูกหลอกเหมือนคนโง่
 ตัวละครที่ตายและถูกฝังแล้วในภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง
กลับมีชีวิตขึ้นมาอีกในภาพยนตร์เรื่องต่อมา
ได้คะแนนบางส่วน
รหัส 1: อ้างถึง
ความหลอกลวงหรือเล่ห์เหลี่ยมหรือความคาดหวังของผู้ดูที่ถูกทาลายลง
อาจอ้างคาว่า “สิ่งหลอกลวง” หรือ “เหยื่อของธุรกิจหนังเร่” โดยตรง
ไม่ได้คะแนน
รหัส 0: ให้คาตอบที่ไม่เพียงพอหรือไม่ตรงประเด็น
 พวกเขาโกรธ บรูโน เครสปี
พวกเขาไม่ชอบภาพยนตร์ที่นามาฉาย
พวกเขาต้องการเงินคืน
พวกเขาคิดว่าพวกเขาตกเป็นเหยื่อ
พวกเขาเป็นคนรุนแรง
พวกเขาโง่
พวกเขาแสดงความรู้สึกของตนเอง
เพราะพวกเขาจ่ายเงินสองเซ็นตาโวแต่ไม่ได้สิ่งที่ต้องการ (คาว่า
“สิ่งที่ต้องการ” กว้างเกินไป)
23
หรือ แสดงถึง ความไม่เข้าใจ ในเนื้อหาที่อ่าน
หรือให้คาตอบที่ไม่มีเหตุผลหรือที่ไม่เกี่ยวข้อง
พวกเขารู้สึกว่าไม่ควรยุ่งกับปัญหาผู้อื่น (ผิด
คนเราต้องกายุ่งกับปัญหาจริง ๆ ของคนอื่น)
เป็นวิธีที่พวกเขาประท้วงการเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์
พวกเขาโกรธที่ต้องมาดูคนตายและถูกฝัง (อ้างประโยคที่ทาให้คิดว่า
“พวกเขาไม่ชอบเห็นคนตายในภาพยนตร์”...เป็นการแปลความที่ไม่ถูก)
รหัส 9: ไม่ตอบ
ดั ง นั้ น ก า ร เ ขี ย น ข้ อ ส อ บ แ บ บ อั ต นั ย
อ าจ ส ร้ าง ไ ด้ ง่า ย ก ว่ าข้ อ ส อ บ แ บ บ เลื อ ก ต อ บ ( Multiple-choice)
เพ ร า ะ มี เพี ย ง ข้ อ ค า ถ า ม ไ ม่ ต้ อ ง มี ตั ว เลื อ ก ใ ห้ กั บ ผู้ เข้ า ส อ บ
ผู้ เ ข้ า ส อ บ เ ป็ น ผู้ เ ขี ย น ต อ บ เ อ ง
แต่ ข้ อ สอ บ ลัก ษ ณ ะ นี้ ห าก ไ ม่ มี เก ณ ฑ์ ก าร ใ ห้ ค ะ แ น น ที่ ชั ด เจ น
จะทาให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนน ได้ อย่างไรก็ตาม
ผู้ออก ข้ อสอบ ต้องต รวจ สอบ คุณ ภาพ ข องเก ณ ฑ์ ก าร ใ ห้ค ะแน น
โดยเกณฑ์การให้คะแนนที่มีประสิทธิภาพจะทาให้ผู้ตรวจข้อสอบให้คะแนน
จากการตรวจผลงานของผู้เข้าสอบได้ตรงกัน
ใบกิจกรรม 3
รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ตัวอย่างข้อสอบ PISA
ข้อ 1 มาซอนโด
24
มาซอนโด
ด้ ว ย ค ว า ม ล ะ ล า น ต า ข อ งสิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ที่ น่ า พิ ศ ว ง ช าว เมื อ งม า
ความมหัศจ รรย์นั้นเริ่มต้นจ าก ตรงไหน พวก เขายอมอด หลับ อดนอนทั้งคืน
ที่มี ก ร ะ แส ไ ฟ ป้อ น มาจ าก เค รื่องปั่น ไ ฟ ที่ ออ ร์เร เลีย โน ท ริสเต บ ร ร ทุก
แ ล ะ พ ย า ย า ม ท น เ พื่ อ ใ ห้ คุ้ น กั บ เ สี ย ง ตู ม ตู ม ข อ ง เ ค ร
ต่อมาพ วกเข าก็เริ่มไม่พ อใ จกับก ารชมภาพ ยน ต ร์ ที่เค ลื่อน ไห วเห มือน มีช
พ่อค้าผู้ร่ารวยนามาฉายในโรงฉายที่มีช่องขายตั๋วทาเป็นหัวสิงโตเพราะว่าตัวละครที่ตา
ซึ่งพวกเขาได้เศร้าโศกและเสียน้าตาไปอย่างมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเป
ผู้ช มต้องจ่าย เงิน สอ งเซ็น ต าโวเป็น ค่าตั๋ วเข้าช ม เพื่ อร่วมเสียใ จ กั บ ค วา
พวกเขาไม่ยอมถูกหลอกให้ดูของไม่จริงอีกต่อไป จึงแสดงความโกรธด้วยการทุบทา
ได้ข อร้องให้นายกเทศมนตรีช่วยประกาศว่าภาพ ยนตร์เป็นเพียงภาพลวงต า
แ ล ะ ไ ม่ มี ค่ า ค ว ร แ ก่ ก า ร ที่ ผู้ ช ม จ ะ ร ะ เ บิ ด ค
จากคาชี้แจงที่เตือนสตินี้เองทาให้หลายคนรู้สึกว่าตนตกเป็นเหยื่อของธุรกิจหนังเร่จึง
เพราะคิดว่าตัวเองก็มีความทุกข์ยากมากเกินกว่าที่จะไปร้องไห้กับสิ่งที่เป็นเพียงภาพลวง
คาถาม: มาซอนโด
นัก เรียนเห็น ด้วยห รือไ ม่กับ ก ารตัด สิน ใจข องชาวเมืองมาซอน โด
เกี่ยวกับคุณค่าของภาพยนตร์
จงอธิบายคาตอบโดยเปรียบเทียบความรู้สึกของนักเรียนกับของชาวเมืองมา
ซอนโดที่มีต่อภาพยนตร์
..........................................................................................................
..................................................................
..........................................................................................................
..................................................................
ข้อ 2 ป้ายประกาศในซุปเปอร์มาร์เก็ต
การแจ้งเตือนการแพ้ถั่วลิสง
ขนมปังกรอบไส้ครีมมะนาว
วันที่แจ้งเตือน: 4 กุมภาพันธ์
ชื่อผู้ผลิต: บริษัท ไฟน์ฟู้ดส์ จากัด
ข้อมูลผลิตภัณฑ์: ขนมปังกรองไส้ครีมมะนาว 125 กรัม
25
(ควรบริโภคก่อน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคก่อน 1 กรกฎาคม)
รายละเอียด:ขนมปังกรอบบางอย่างในรุ่นการผลิตเหล่านี้
อาจมีชิ้นส่วนของถั่วลิสงผสมอยู่ แต่ไม่แจ้งไว้ในรายการส่วนผสม
คนที่แพ้ถั่วไม่ควรรับประทานขนมปังกรอบนี้
การปฏิบัติของผู้บริโภค: ถ้าท่านซื้อขนมปังกรองนี้ไป
ท่านสามารถนามาคืน ณ ที่ที่ท่านซื้อ
เพื่อรับเงินคืนได้เต็มจานวนหรือโทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติ
มได้ที่ 1800 034 241
คาถาม: ป้ายประกาศในซุปเปอร์มาร์เก็ต
บริษัทที่ทาขนมปังกรองชื่อบริษัทอะไร....................................................
..........................................................
26
ข้อ 3 รถไฟใต้ดิน
คาถาม: รถไฟใต้ดิน
นักเรียนจะหาข้อมูลเกี่ยวกับระบบรถไฟใต้ดินเพิ่มเติมจากที่แสดงไว้ในหน้า
รถไฟใต้ดินได้อย่างไร
……………………………………………………………………………
…………………………................................................
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..
27
……………………………………………………………………………
…………………………................................................
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..
ข้อ 4 ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส
ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส
และแล้วเครื่องบินขนส่งไปรษณียภัณฑ์สามลาจากปาตาโกเนีย1 ชิลี และปารากวัย
ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ก ลั บ ม า จ า ก ท า ง ใ ต้ ต ะ วั น ต ก แ ล ะ เ ห นื อ สู่ บั ว โ น ส ไ อ เ ร ส
ซึ่ ง ที่ นั่ น ก า ลั ง ร อ ค อ ย สิ น ค้ า จ า ก เ ค รื่ อ ง บิ น เ ห ล่ า นั้ น
เพื่อเครื่องบินที่จะเดินทางไปยุโรปสามารถออกเดินทางประมาณเที่ยงคืนได้
นักบินสามคนที่อยู่เบื้องหลังแผงควบคุมที่ใหญ่ราวกับเรือบรรทุกสินค้าตกอยู่ในความมื
ด แ ล ะ จ ด จ่ อ อ ยู่ กั บ เ ที่ ย ว บิ น ข อ ง เ ข า ที่ ก า ลั ง เค ลื่ อ น ตั ว เข้ า สู่ เ มื อ ง ใ ห ญ่
ซึ่ งจ ะต้ อง ล ดค วาม สูง ล งอ ย่ างช้ า ๆ เพื่ อ อ อ กจ ากท้ อ งฟ้ าที่ มี พ ายุ หรือ เงียบ ส ง บ
ราวกับคนประหลาดกาลังลงมาจากภูเขา
รีวิแอร์ ผู้รับผิดชอบการปฏิบัติการทั้งหมด เดินไปมาในที่ลงจอดของบัวโนส ไอเรส
เขายังคงเงียบจนกว่าเครื่องบินทั้งสามลาจะมาถึง ตลอดทั้งวันเขารู้ สึกเหมือนมีลางร้าย
เ ว ล า ผ่ า น ไ ป น า ที แ ล้ ว น า ที เ ล่ า จ น ก ร ะ ทั่ ง มี โ ท ร เ ล ข ม า ถึ ง
รีวิแอร์รู้สึกว่าเขาได้ช่วงชิงบางสิ่งจากโชคชะตาซึ่งค่อย ๆ ลดสิ่งที่เขาไม่รู้ลงทีละน้อย
และดึงลูกเรือของเขาให้พ้นจากความมืดมาสู่ฝั่ง
ลูกเรือคนหนึ่งติดต่อกับรีวิแอร์ด้วยข้อความทางวิทยุ
ไปรษณี ยภัณฑ์จากชิลีรายงานว่าเขาสามารถมองเห็นแสงสว่างจากบัวโนส
ไอเรสแล้วเยี่ยมมาก
ไม่นานนัก รีวิแอร์ก็ได้ยินเสียงเครื่องบิน ความมือได้ยอมปล่อยหนึ่งในนั้นออกมาแล้ว
ดั่ ง ท ะ เ ล ที่ มี ค ลื่ น ขึ้ น ๆ ล ง ๆ
แล ะ สิ่ง ลี้ ลั บ ต้ อ งยอ ม คื นส ม บั ติ ที่ มั นโยนเล่ นไ ป ม าเป็ นเว ล านานให้ กั บ ช ายหาด
28
ในไม่ช้ามันคงจะคืนอีกสองคนที่เหลือกลับมา
ใ น วั น นี้ ก า ร ท า ง า น ก็ จ บ สิ้ น ล ง
เจ้าหน้าที่ภาคพื้นดินที่เหนื่อยล้าคงจะกลับไปนอนและมีเจ้าหน้าที่ชุดใหม่ที่สดชื่นมาทาหน้าที่แทน
มี เ พี ย ง แ ต่ รี วิ แ อ ร์ เ ท่ า นั้ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ พั ก
จากนั้นก็มาถึงคราวของไปรษณีย์ภัณ ฑ์จากยุโรปที่จะเข้ามาเพิ่มความวิตกให้เขาอีก
และมันจะเป็นอย่างนี้ไปตลอด และตลอดไป
คาถาม: ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส
“ป ล า ย ท า งที่ บั ว โ น ส ไ อ เร ส ” ถู ก เขี ย น ขึ้ น ใ น ปี ค .ศ . 1 9 3 1
นักเรียนคิดว่าปัจจุบันนี้ ความกังวลของรีวิแอร์
ยังเป็นเหมือนเดิมใช่หรือไม่ ให้เหตุผลอธิบายคาตอบของนักเรียน
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
................................................
คาชี้แจง
ให้ผู้เข้ารับการอบรมวิเคราะห์รูปแบบของข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบ
ระดับนานาชาติ (PISA)
ข้อที่ 1–4 ว่าเป็นรูปแบบใด
พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลประกอบการเลือกรูปแบบของข้อสอบดังกล่าว
รูปแบบของข้อสอบ เหตุผล
ข้อ 1 
สร้างคาตอบแบบปิด
 เขียนตอบสั้น ๆ

สร้างคาตอบแบบอิสระ
ข้อ 2 
สร้างคาตอบแบบปิด
 เขียนตอบสั้นๆ

สร้างคาตอบแบบอิสระ
29
ข้อ 3 
สร้างคาตอบแบบปิด
 เขียนตอบสั้นๆ

สร้างคาตอบแบบอิสระ
ข้อ 4 
สร้างคาตอบแบบปิด
 เขียนตอบสั้นๆ

สร้างคาตอบแบบอิสระ
ใบความรู้ที่ 4
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดในการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤ
ทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
เพื่ อ ที่ จ ะ ป ร ะ เมิ น ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เรี ย น ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง
สามารถสะท้อนผลสัมฤท ธิ์ของผู้เรียน ตามผลก ารเรียน รู้ที่ต้องก าร
จาเป็นต้องเลือกใช้ข้อคาถามใหม่ให้เหมาะสมสาหรับทดสอบโดยทั่วไป
ข้ อ ค า ถ า ม แ บ บ อั ต นั ย ( เ ขี ย น ต อ บ )
จะ เห มาะกับ ก ารป ร ะเมิน เพื่อดูค วามเข้ าใจ ใ น เนื้อห าข องผู้เรียน
และประเมินความสามารถในการให้เหตุผลโดยใช้ความรู้ที่มีในวิชานั้น ๆ
ซึ่งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดจะประกอบด้วยคากริยาที่จะให้ทิศทาง
สาหรับการเลือกใช้วิธีการประเมิน บอกทิศทางการตอบสนองของผู้เรียน
เช่น สร้างสรรค์ อธิบาย จะบ่งบอกว่าผู้เรียนต้อง “สร้างคาตอบ” มากกว่า
“ก า ร เลื อ ก ต อ บ ” ข ณ ะ ที่ “ก า ร ร ะ บุ ” บ่ ง ชี้ ใ ห้ ก า ร เลื อ ก ต อ บ
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม มี ค า ก ริ ย า บ า ง ค า เ ช่ น “ตี ค ว า ม ”
ที่ อ าจ ใ ช้ ก าร ป ร ะ เมิ น แ บ บ เขี ย น ต อ บ ห รือ เลื อ ก ค าต อ บ ก็ ไ ด้
เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ บ่ ง บ อ ก ว่ า จ ะ ใ ช้ รู ป แ บ บ ใ ด
กรณีนี้ผู้ออกแบบเครื่องมือที่จะใช้ในการประเมินจาเป็นต้องตัดสินใจว่า
จ ะ เ ลื อ ก ใ ช้ ข้ อ ค า ถ า ม รู ป แ บ บ ใ ด จึ ง จ ะ เ ห ม า ะ ส ม
อาจต้องพิจารณาว่ามีทักษะในการเขียนข้อคาถามชนิดเลือกตอบเพียงใด
มีเวลา/ทรัพยากรในการตรวจให้คะแนนเพียงใด
30
กร ณี มีทัก ษะใ น ก ารเขียน ข้อค าถามแบ บ เลือก ต อบ น้อย
แ ล ะ มี เว ล า /ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร ต ร ว จ ใ ห้ ค ะ แ น น เพี ย ง พ อ
ควรเลือกข้อคาถามแบบอัตนัย (เขียนตอบ)
ก รณี มีทัก ษะใ น ก าร เขี ยน ข้อค าถ ามแบ บ เลือก ต อบ มาก
แ ล ะ มี เว ล า /ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร ต ร ว จ ใ ห้ ค ะ แ น น จ า กั ด
ควรเลือกข้อคาถามแบบปรนัย (เลือกตอบ)
ทั้ ง นี้
ในก ารวิเคราะห์ค าสาคัญข องแต่ละมาต รฐาน ก ารเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ให้พิจารณาระดับพฤติกรรมการวัดของคานั้น ๆ จากบริบทที่เกี่ยวข้องด้วย
ความรู้เกี่ยวกับลักษณะพฤติกรรมของตัวชี้วัด (K-A-P)
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
ได้กาหนดกรอบการวิเคราะห์เป็นแนวทางเชื่อมโยงและความสอดคล้อง
จากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางกา
ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2551
เพื่อระบุสัดส่วนพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายการจัดการเรียนรู้แบบอิ
ง ม า ต ร ฐ า น ( Standard based learning)
โดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy,
1956) แ ล ะ Bloom’s Revised Taxonomy, 2001
แอนเดออสันและแครธโวล (Anderson & Krathwolh, 2001)
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคุณลักษณ ะ
(Attribute: A) และด้านกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P)
ดังนี้
1.ด้านความรู้(Knowledge: K)
เป็นพฤติกรรมทางด้านความรู้และสติปัญญาของมนุษย์โดยผ่านกระบวนกา
รทางสมอง ซึ่งความรู้ดังกล่าวประกอบด้วย ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง
ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด ความรู้เกี่ยวกับวิธีและกระบวนการการ
และความรู้ที่เกี่ยวกับทักษะหรือกระบวนการความคิดของตนเอง
31
(อภิปัญญา) โดยด้านความรู้ส่วนใหญ่จะยึดตามทฤษฎีทางความรู้ของบลูม
(Bloom Taxonomy) ซึ่งมีลาดับขั้น 6 ขั้น ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้
1 ) จ า ( Remembering) ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในก ารระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุชื่อได้
ก าร บ อก ชื่ อ ก าร บ อก ต าแห น่ ง ก าร ใ ห้ สัญ ลัก ษณ์ ยก ตัวอ ย่าง
บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้ อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลาดับ จับคู่
บันทึกข้อมูล
2 ) เ ข้ า ใ จ ( Understanding) ห ม า ย ถึ ง
ค วามสามาร ถ ใ น ก าร แป ลค วาม ห ม าย ย ก ตั วอย่าง สรุป อ้ างอิ ง
การเรียบเรียงให ม่ ก ารจาแนก ห มวด ห มู่ สังเกต ท าเค้าโค รงเรื่อง
ให้คาจากัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า
3 ) ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ( Applying) ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถ ในก ารน าไปใช้ ประยุก ต์ใช้ แก้ไขปัญหา ลงมือท า
แปลความหมาย ใช้ภาพประกอบ การคานวณ เรียงลาดับ การแก้ปัญหา
ประยุกต์ใช้ คาดคะเน
4 ) วิ เ ค ร า ะ ห์ ( Analyzing) ห ม า ย ถึ ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ
การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คานวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลาดับเรื่อง ทาแผนผัง
หาความสัมพันธ์
5 ) ป ร ะ เ มิ น ค่ า ( Evaluating) ห ม า ย ถึ ง
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ วิ จ า ร ณ์ ตั ด สิ น
ให้คะแนน ประมาณค่า เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนา สืบค้น ตัดสินใจ
คัดเลือก วัด
6 ) คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ( Creating) ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์
ออกแบบ ทานาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง
2.ด้านคุณลักษณะ (Attribute: A) หมายถึง
ลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการในด้า
32
นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก
สามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ซึ่งคุณลักษณะที่ดีคือให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข
ค น ดี คือ คนที่ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณ ภาพ มีจิตใจที่ดีงาม
มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่
พึงป ร ะสงค์ทั้งด้าน จิต ใ จ และพ ฤ ติก รร มที่ แสด งออก เช่ น มีวินั ย
มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีเหตุผล รู้หน้าที่ ซื่อสัตย์ พากเพียร ขยัน ประหยัด
มีจิตใ จเป็น ป ร ะชาธิป ไต ย เค ารพ ความคิด เห็น และ สิท ธิข องผู้อื่น
มีความเสียสละ รักษาสิ่งแวดล้อม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติสุข
ค น เก่ ง คื อ ค น ที่ มีส มร ร ถ ภาพ สู งใ น ก าร ด าเนิ น ชีวิ ต
โดยมีความสามารถด้านใดด้านหนึ่งหรือรอบด้านหรือมีความสามารถพิเศษร
อบด้าน เช่น ความสามารถทางด้านคณิตศาสตร์ มีความคิดสร้างสรรค์
มีค วามสามาร ถ ด้ าน ภาษา ด น ต รี กีฬ า มีภาวะผู้น า รู้จัก ต น เอ ง
ควบคุมตนเองได้ เป็นคนทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ทันเทคโนโลยี
มีค ว ามเป็ น ไ ท ย ส ามา ร ถ พั ฒ น าต น เองไ ด้ อย่ างเต็ ม ศั ก ยภ า พ
และทาประโยชน์ให้เกิดแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติได้
ค น มีค วา มสุข คือ ค น ที่มีสุข ภาพ ก ายและสุข ภาพ จิต ดี
เป็นคนร่าเริงแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
มี ค ว า ม รั ก ต่ อ ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ า ก อ บ า ย มุ ข
และสามารถดารงชีวิตได้อย่างพอเพียงตามอัตภาพ
3.ด้านกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P)
ได้จาแนกดังนี้
3.1 ทักษะการสื่อสาร ได้แก่ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน
และการเขียน
3.2 ทักษะและกระบวนการทางาน
- ทั ก ษ ะ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่
ค วาม ส ม าร ถ ใ น ก าร แ ก้ ปั ญ ห า ค วา มส าร ถ ใ น ก าร ใ ห้ เห ตุ ผ ล
ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และนาเสนอ
ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นต้น
- ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่
ทั ก ษ ะ ก า ร ก า ห น ด แ ล ะ ค ว บ คุ ม ตั ว แ ป ร ทั ก ษ ะ
33
ก า ร ค า น ว ณ ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ท า แ ล ะ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล
ทั ก ษ ะ ก าร จ า แ น ก ป ร ะ เภ ท ทั ก ษ ะ ก า ร ตั้ งส ม ม ติ ฐ า น ทั ก ษ ะ
ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล ทั ก ษ ะ ก า ร ท ด ล อ ง
ทั ก ษ ะ ก าร ก าห น ด นิ ย าม เชิ งป ฏิ บั ติ ก าร ทั ก ษ ะ ก าร พ ย าก ร ณ์
ทัก ษ ะ ก าร ล งค วามเห็ น ข้ อมู ล ทั ก ษ ะ ก าร วัด ทั ก ษ ะก าร สังเก ต
ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา เป็นต้น
- ก ร ะ บ วน ก าร วิ ธี ก า ร ท า งป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่
ก า ร ตั้ ง ป ร ะ เด็ น ที่ จ ะ ศึ ก ษ า สื บ ค้ น แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ตี ค ว า ม ข้ อ มู ล ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
ก า ร คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ข้ อ มู ล
การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
- กระบวนการคิดแก้ปัญหา ได้แก่ ทาความเข้าใจปัญหา
ว า ง แ ผ น อ อ ก แ บ บ แ ก้ ปั ญ ห า ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น
สรุปและตรวจสอบการแก้ปัญหา เป็นต้น
- ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ แ ก่
เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ใ ช้ ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี
เลือกและใช้โปรแกรมประยุกต์อย่างเหมาะสม เรียนรู้โปรแกรมใหม่ ๆ
ผ่านเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เป็นต้น
- ทั ก ษ ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ แ ก่ วิ เค ร า ะ ห์ ง า น
ว า ง แ ผ น ก า ร ท า ง า น ล ง มื อ ท า ง า น ป ร ะ เ มิ น ผ ล
การทางาน การทางานเป็นทีม เป็นต้น
ตัวอย่างการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
สาระที่1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
ม า ต ร ฐ า น ว 1.1: เข้ า ใ จ ห น่ ว ย พื้ น ฐ า น ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ
ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ท า ง า น สั ม พั น ธ์ กั น
มีก ร ะ บ วน ก าร สืบ เสาะห าค วาม รู้ สื่อสาร สิ่งที่ เรียน รู้
และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิ
ต
34
ตัวชี้วัด
ลักษณะของพฤติกรร
ม
ความ
รู้
(K)
คุณลักษ
ณะ
(A)
ทักษ
ะ
(P)
1. ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์
ของสิ่งมีชีวิต
 - 
2. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในพืช  - 
3. สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า
แร่ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
 - 
4.
อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไปใช้
ในการดูแล
รักษาสุขภาพ
 - 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
สาระที่1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1:
เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจ
ริง
ตัวชี้วัด
คาสาคัญ
ความรู้
(K)
คุณลักษณ
ะ
(A)
ทักษะ
(P)
1.
เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้า
ในรูปเศษส่วน
 - -
2.
จาแนกจานวนจริงที่กาหนดให้และยกตัวอย่าง
จานวนตรรกยะและ
จานวนอตรรกยะ
 - -
3.  - -
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32

More Related Content

What's hot

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
เทคโนโลยีแม่พิมพ์
เทคโนโลยีแม่พิมพ์เทคโนโลยีแม่พิมพ์
เทคโนโลยีแม่พิมพ์Totsaporn Inthanin
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงCharming Love
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 

What's hot (12)

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
เทคโนโลยีแม่พิมพ์
เทคโนโลยีแม่พิมพ์เทคโนโลยีแม่พิมพ์
เทคโนโลยีแม่พิมพ์
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 

Similar to 30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 

Similar to 30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32 (20)

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
B1
B1B1
B1
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 

More from ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่

หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 

More from ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่ (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 

30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32

  • 1. ใบความรู้ 1 ความหมายและความสาคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย นแบบอัตนัย การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การวัดและประเมินผลกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ถือเป็นสิ่งสาคัญที่ต้องปฏิบัติควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งการวัดและประเมินผลที่ดีต้องอยู่บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ คือ 1. การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2. การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน ครูผู้สอนควรเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึก ข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยดาเนินการอย่างต่อเนื่องตลอ ดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน นับตั้งแต่ก่อนการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้ และหลังการจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ซึ่งผลที่ได้เมื่อนาตีค่าเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดในตัวชี้วัดของมาตรฐา นสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแล้ว ครูต้องนาไปใช้ในการให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับความก้าวหน้า จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุงให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสะท้อนให้ทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนของตน และพัฒนาการของผู้เรียน ดังแผนภาพ ประเมินระหว่างเรียน - ตรวจสอบผลการพัฒนา/ความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้เรียน - เน้นการประเมินตามสภาพจริง - ใช้เทคนิคการประเมินที่หลากหลาย : การสังเกต สัมภาษณ์ การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงานและแบบทดสอบ
  • 2. 2 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สัมพันธ์กับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึก ษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรู้ยังสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ประเมินก่อนเรียน - ตรวจสอบความพร้อม/ควา มรู้พื้นฐาน - เครื่องมือ : ข้อสอบวินิจฉัย แบบสารวจ รายการ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ - นาผลการประเมินไปวางแ ผนแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาศักยภา พ รายบุคคล/รายกลุ่ม ประเมินหลังเรียน - ตรวจสอบผลสาเร็จการเรี ยนรู้ของ ผู้เรียนหลังแผนการจัดกา รเรียนรู้ - ใช้วิธีการ/เครื่องมือ ที่เป็นมาตรฐาน - นาผลการประเมินไปวางแ ผนแก้ไข และพัฒนานาไปสู่การวิจัย ในชั้นเรียน และวิจัยทางการศึกษา คุณภาพผู้เรียน - มาตรฐานการเรียน รู้/ตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียน รู้ - สมรรถนะสาคัญข องผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขียน - กิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน มาตรฐานการเ รียนรู้
  • 3. 3 คุณภาพผู้เรี ยน ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ นาไปใช้ในการกาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เ รียน ประกอบด้วย ตัวชี้วัดชั้นปี : เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ ตัวชี้วัดช่วงชั้น : เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัด เป็นสิ่งที่คาดหวังให้เกิดการเรียนรู้ที่ค่อนข้างเจาะจง เป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้และสร้างภาระงานการประเมิน ครูผู้สอนจะกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการประเมินได้เพราะจะได้ภาพที่บ่งชี้ชัดเจนว่าผู้เรียนควรรู้อะไร และทาอะไรได้ องค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มาตรฐานการเรีย นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรีย นรู้
  • 4. 4 จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา ทศวรรษที่สอง เพื่อการขับเคลื่อนหลักสูตร การจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผล จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนเพื่อการขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561) ให้ประสบผลสาเร็จตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน โดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกันดาเนินการ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะความสา มารถ และคุณลักษณะ ดังนี้ ทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะ กิจกรรมพัฒนาผู้เ รียนคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ จุดเน้นการพัฒนาคุณภ าพผู้เรียน
  • 5. 5 จุดเน้นตามช่ วงวัย คุณลักษณะตาม หลักสูตร รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพี ยง มุ่งมั่นในการ ทางาน รักความเป็นไท ย มีจิตสาธารณะ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรีย นรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูงทักษะ ชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้า งสรรค์ตามช่วงวัย อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดข้นพื้นฐาน ทักษะชีวิตทักษะการสื่อส ารอย่างสร้างสรรค์ตามช่ วงวัย อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิตทักษะการสื่อสา รอย่างสร้างสรรค์ตามช่วง วัย ม.1- 3 ม.4- 6 ป.4- 6 ป.1- 3 แสวงหาความรู้ เพื่อแก้ปัญหาใช้เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ใช้ภาษาต่าง ประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิตทักษะ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ตามช่วงวัย มุ่งมั่นก ารศึกษาแ ละการทา งาน อยู่อย่า งพอเพียง ใฝ่รู้ใฝ่เ รียน ใฝ่ดี
  • 6. 6 ความหมายของแบบทดสอบแบบอัตนัย แ บ บ ท ด ส อ บ แ บ บ อั ต นั ย ห ม า ย ถึ ง แบบทดสอบแบบเขียนตอบที่ผู้สอบจะต้องเรียบเรียงความคิดและความรู้ให้ส อดคล้องกับคาถาม แล้วเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ์ วิ จ า ร ณ์ เ รื่ อ ง ร า ว พ ฤ ติ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ตามความรู้และประสบการณ์ที่มีลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเป็นโ จท ย์ห รือค าถ ามที่ ก าห น ด สถ าน ก าร ณ์ ห รือปัญ ห าอย่างก ว้าง ๆ ห รื อ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง โดยทั่วไปจะไม่จากัดเสรีภาพของผู้ตอบในการเรียบเรียงความรู้ ความคิด และข้อเท็จจริงต่าง ๆ อันเป็นข้อมูลของคาตอบ จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบแบบอัตนัย มีดังนี้ 1.ต้องการให้ผู้เข้าสอบแสดงความสามารถด้านความคิดสร้างสรร ค์ ( Creativity) และบรรยายความคิดออกมาได้อย่างเป็นอิสระและต้องคานึงถึงความสามาร ถทักษะการเขียนของนักเรียนด้วย 2.ต้ อ ง ก า ร เ น้ น ค ว า ม รู้ ขั้ น ลึ ก ซึ้ ง เ ช่ น ความสามารถในการสังเคราะห์หรือต้องการวัดความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน มาทั้งหมด ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย 1. แบบทดสอบอัตนัยโดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 แบบทดสอบแบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response) เป็ น แ บ บ ท ด ส อ บ ที่ ไ ม่จ า กั ด ค าต อ บ แต่ผู้สอบจะต้องจากัดคาตอบให้เหมาะสมกับคาถามและเวลาโดยจะต้องเรีย บ เ รี ย ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ จั ด ล า ดั บ ค ว า ม ส า คั ญ แล้วเรียบ เรียงออก มาเป็น คาต อบ ตามค วามคิด และเหตุผลข องต น โด ยให้มีค วามยาวที่เหมาะสมกับห ลักและเห ตุผลที่คาถามต้องก าร ข้ อ ดี ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ ป ร ะ เ ภ ท นี้ คื อ ส า ม า ร ถ ใ ช้ วั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ร ะ ดั บ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี จึงมักใช้กับผู้เรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคาถามมักมีคาว่า “จงอธิบาย
  • 7. 7 อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สรุปประเด็นสาคัญ แสดงความคิดเห็น ข้ อ เส น อ แ น ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล แ น ว ท า ง แ ก้ ปั ญ ห า ” เป็ น ต้ น แต่มักมีปัญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจให้คะแนน 1 .2 แบ บ ท ด สอบ แบ บ จ ากัด ค าต อบ ห รือ ต อบ แบ บ สั้น ( Restricted Response or Shot Essay Item) เป็นแบบทดสอบที่จากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคาตอบ และกาหนดขอบเขตของประเด็นให้ตอบในเนื้อหาที่แคบลงและสั้นกว่าแบบ ท ดสอบ ที่ไ ม่จ ากัด ความยาว ข้อดีข องแบบ ท ด สอบ ป ระเภท นี้ คือ ใช้วัดความรู้ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงได้ดีกว่าแบบทดสอบแบบไม่จากั ด ค ว า ม ย า ว ซึ่ ง เ ห ม า ะ ที่ จ ะ วั ด ผ ล ก า ร เรี ย น ที่ ส า คั ญ โด ยที่ ผู้ ส อบ จ ะ ต้ อ งเลื อ ก ค วาม รู้ที่ ดี ที่ สุ ด ส าห รั บ ค าถ าม นั้ น ๆ ลัก ษณ ะ ค าต อบ มัก อยู่ใ น รูป “จ งอธิบ ายสั้น ๆ จ งบ อก ป ระ โยช น์ จ ง อ ธิ บ า ย ส า เ ห ตุ ห รื อ จ ง บ อ ก ขั้ น ต อ น ” แต่ แบ บ ท ด สอ บ นี้ ไ ม่ ไ ด้ เปิ ด โอ ก าส ใ ห้ ผู้ ต อบ ไ ด้ แ ส ด ง ค วา ม รู้ ความสามารถอย่างเต็มที่ 2. แบบทดสอบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 2 . 1 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ ปิ ด มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบที่เป็นคาต อบถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน 2.2 แบบเขียนตอบสั้นๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคาตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข 2 . 3 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ อิ ส ร ะ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคาตอบหรือให้เห ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ค า ต อ บ ที่ แ ส ด ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ที่ มี ต่ อ ค า ถ า ม ผู้ เข้ าส อ บ ค ว ร เขี ย น ค าต อ บ ใ น เส้ น บ ร ร ทั ด ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ ห้ จานวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่างคร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ ดั ง นั้ น เมื่อพิจารณาลักษณะของข้อสอบที่ใช้ทดสอบในการทดสอบทั่วไปและการท
  • 8. 8 ดสอบในระดับนานาชาติมีความคล้ายคลึงซึ่งสามารถสรุปได้ดังตารางต่อไป นี้ ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบโดย ทั่วไป ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบในระดับน านาชาติ (PISA) 1. แบบจากัดคาตอบ 1. แบบสร้างคาตอบแบบปิด 2. แบบเขียนตอบสั้นๆ 2 . แบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบ อย่างอิสระ 3. แบบสร้างคาตอบแบบอิสระ ข้อดีและข้อจากัดของแบบทดสอบแบบอัตนัย ข้อดี ข้อจากัด 1.สามารถ วัด พ ฤ ติก รร มต่าง ๆ ได้ทุกด้านโดยเฉพาะกระบวนกา รคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์จะวั ดได้ดี 2.ผู้ตอบมีโอกาสใช้ความรู้แสดงคว ามคิดเห็นและความสามารถในก ารใช้ภาษา 3.โอกาสในการเดาโดยไม่มีความรู้ ใ น เรื่องนั้ น แล้วไ ด้ ค ะแ น น มีน้อยมาก 4.สร้างได้ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่ าย 1.คาถามไม่สามารถครอบคลุมเนื้อ ห า ที่ เ รี ย น เนื่ องจ าก จ าน วน ข้ อ มีจ ากั ด เป็นการยากที่จะสุ่มเนื้อหาให้ครอ บคลุมความรู้ที่ต้องการจะวัดได้ค รบถ้วน 2.การตรวจให้คะแนนไม่คงที่แน่นอ น มักมีความคลาดเคลื่อน มาก และควบคุมให้เกิดความยุติธรรมไ ด้ยาก 3.ไม่เหมาะที่จะใช้กับผู้สอบจานวน มาก ๆ เพราะใช้เวลาในการตรวจ 4.ลายมือของผู้ตอบและความสามา รถในการเขียนบรรยายอาจจะมีผ ลต่อคะแนน 5.มีความเชื่อมั่นต่าและมักขาดควา มเที่ยงธรรม
  • 9. 9 ใบกิจกรรม 1 การตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย นแบบอัตนัย ชื่อ-สกุล โรงเรียน เลขที่ สพม.32 คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ประเด็นคาถาม ความคิดเ ห็น ใช่ ไม่ใ ช่ 1.แบบทดสอบอัตนัยมีคุณสมบัติที่สาคัญ คือ ผู้ตอบต้องเขียนบรรยายและมีสิทธิการตอบอย่างเสรี 2.แบบทดสอบอัตนัยอาจจะมีคาตอบที่ถูกต้องหลายแนวทางมีความ แตกต่างทั้งด้านคุณภาพ และความถูกต้อง 3.ข้อสอบแบบอัตนัยเน้นเฉพาะแบบเติมคาให้สมบูรณ์และแบบตอบ สั้น 4.แบบทดสอบแบบอัตนัยเปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น เหมาะสาหรับวัดความรู้ขั้นสูงกว่าความจาและความเข้าใจ 5.ข้อสอบแบบอัตนัย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือแบบไม่จากัดคาตอบและแบบจากัดคาตอบ 6.ข้อสอบแบบอัตนัยเหมาะสาหรับวัดความรู้ระดับความจาและการ ประยุกต์ใช้ 7.ข้อสอบอัตนัยแบบไม่จากัดคาตอบเน้นให้นักเรียนอาศัยการสังเค ราะห์และการประเมินผล 8.ข้อสอบแบบจากัดคาตอบส่วนใหญ่มักจะไม่กาหนดขอบเขตแบบ ฟอร์มและเนื้อหาที่เฉพาะให้นักเรียนได้ตอบ 9.จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบอัตนัยเน้นคาตอบที่เป็นการบ รรยาย
  • 10. 10 10. จุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบอัตนัยเน้นความรู้ขั้นลึกซึ้ ง เช่น ความสามารถด้านการสังเคราะห์หรือต้องการวัดความเข้าใจในเ นื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด 11. เกณฑ์การประเมิน (Rubrics) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการประเมินผลงานของผู้เรียน 12. องค์ประกอบที่สาคัญในการเขียน Rubrics ได้แก่ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคุณภาพและคาอธิบายระดับคุณภาพ 13. เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม ( Holistic Rubrics) เหมาะกับการปฏิบัติที่ต้องการให้นักเรียนสร้างสรรค์ ไม่มีคาตอบที่ถูกต้องชัดเจน 14. เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน เหมาะสาหรับการประเมินเพื่อพัฒนาเพราะให้ข้อมูลย้อนกลับได้ ดี 15. กระบวนการให้คะแนนเร็ว ครูต้องอ่าน พิจารณาโดยตลอด นักเรียนได้รับผลสะท้อนกลับน้อยมาก เป็นเกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) 16. การเขียนคาอธิบายในแต่ละระดับคุณภาพ ต้องเขียนให้แตกต่างกันเฉพาะคุณภาพของงาน 17. ในการเขียนเกณฑ์การประเมินผลงาน การกาหนดจานวนระดับคุณภาพขึ้นอยู่กับผู้สอน 18. จานวนเกณฑ์หรือประเด็นการประเมิน ขึ้นอยู่กับตัวชี้วัดที่ต้องการประเมิน 19.เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมิน (Criteria) เป็นการพิจารณาว่าภาระงานหรือชิ้นงานนั้น ๆ ประกอบด้วยคุณภาพกี่ด้าน อะไรบ้าง 20.ตัวชี้วัดทุกตัวในทุกมาตรฐานของหลักสูตร สามารถวัดโดยใช้เกณฑ์การประเมิน (Rubric)
  • 11. 11 ใบความรู้ 2 แนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม Bloom Taxonomy’s Revised ใ น ปี 1956, Benjamin Bloom นากลุ่มนักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มหนึ่งพัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมทางสมอ งที่สาคัญต่อการเรียนรู้ ระหว่าง ปี 1990 มีนักจิตวิทยากลุ่มใหม่ นาโดย Anderson and Krathwohl (2001) ซึ่ งเป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ เก่ าข อ ง Bloom ได้ปรับปรุงกลุ่มพฤติกรรมขึ้นมาใหม่ และสะท้อนผลงานในศตวรรษที่ 21 เป็นรูปภาพที่เป็นตัวแทนของคากริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่ เ ร า คุ้ น เ ค ย ม า น า น บันทึกนี้เปลี่ยนจากนามเป็นกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกต่างกันของกลุ่มพฤ ติ ก ร ร ร ม ดังภาพประกอบ
  • 12. 12 ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองที่สาคัญต่อการเรียนรู้ตามแนวคิด ทฤษฎี ความรู้ของบลูม ตามแนวคิดเดิม และที่ปรับปรุงใหม่ กระบวนการทางปัญญา ด้านพุทธิพิสัยของบลูม มีลาดับขั้น 6 ขั้น ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้ 1.จา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุชื่อได้ การบอกชื่อ การบอกตาแหน่ง การให้สัญลักษณ์ ยกตัวอย่าง บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้ อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลาดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจามีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม รู้จัก จาได้ พยัญชนะไทยแบ่งได้เป็นกี่หมู่ อะไรบ้าง จัดทารายการ นักเรียนเขียนรายการอาหารที่มีประโยชน์มา 3 มื้อ/1 วัน อธิบาย นักเรียนอธิบายความหมายของสามเหลี่ยมด้านเท่า การระบุ นักเรียนระบุประเภทของใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่มาทั้ งหมด บอกความแตกต่ าง สัตว์น้าแตกต่างกับสัตว์บกอย่างไรบ้าง 2.เ ข้ า ใ จ ( Understanding) ห ม า ย ถึ ง ค วามสามาร ถ ใ น ก าร แป ลค วาม ห ม าย ย ก ตั วอย่าง สรุป อ้ างอิ ง
  • 13. 13 การเรียบเรียงให ม่ ก ารจาแนก ห มวด ห มู่ สังเกต ท าเค้าโค รงเรื่อง ให้คาจากัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม การสรุปความ จากข้อความที่นักเรียนได้สรุปสาระสาคัญได้อย่างไร การแปลความหม าย บทร้อยกรองข้างต้นตรงกับสุภาษิตไทยคืออะไร การเปรียบเทียบ จงเปรียบเทียบสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือกับภาคใ ต้ อธิบาย จงอธิบายสภาพท้องถิ่นของนักเรียน บรรยาย จากภาพวงจรชีวิตของผีเสื้อให้นักเรียนบรรยายรายละ เอียด 3.ประยุกต์ใช้(Applying) หมายถึง ความสามารถในการนาไปใช้ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ลงมือทา แป ลค วามหมาย ใช้ภาพประกอบ การคานวณ เรียงลาดับ การแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ คาดคะเน ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม การนาไปป ฏิบัติ นักเรียนสามารถใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างไร การลงมือ ทา ถ้าเราจะขึงลวดให้ตึงเพื่อทาราวตากผ้าจะต้องทาอย่างไร การใช้ จงยกอาหารที่มีคุณค่าและราคาถูกในชีวิตประจาวันและอธิบ ายด้วยว่ามีคุณค่าต่อร่างกายอย่างไร การจัดการ ถ้านักเรียนมีเงินรายรับเป็นรายเดือน นักเรียนจัดระบบการใช้จ่ายเงินอย่างไรถึงจะมีเงินใช้ทั้งเดือ น การแปลคว ามหมาย “โคมสวรรค์พราวพราย” โคมสวรรค์หมายถึงสิ่งใด
  • 14. 14 4.วิ เ ค ร า ะ ห์ ( Analyzing) ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คานวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลาดับเรื่อง ทาแผนผัง หาความสัมพันธ์ ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับ วิเคราะห์ มีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม การจัดระบบ เลขโดด 1-9 นามาสร้างจานวนเต็ม 4 หลักแล้วหารด้วย 5 ลงตัวมีกี่จานวน การสืบเสาะ สืบสวน ข้อใดบ้างกล่าวถึงวิธีการโครงสร้างภูมิคุ้มกันไข้หวัดนก การให้เหตุผล การอ้างเหตุผล ลูกที่ดีของพ่อแม่ควรมีพฤติกรรมอย่างไรบ้างเพราะเหตุใด จาแนกความแ ตกต่าง นักเรียนบอกความแตกต่างระหว่างกบกับกระต่ายมาตามเ กณฑ์ที่นักเรียนกาหนด การตีค่า “วิชัยทาการบ้านส่งครูทุกวัน” นักเรียนคิดว่าวิชัยเป็นคนอย่างไรเพราะเหตุใด 5.ป ร ะ เ มิ น ค่ า ( Evaluating) ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน ให้คะแนน ประมาณค่า เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนา สืบค้น ตัดสินใจ คัดเลือก วัด ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่า มีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอย่างคาถาม การตรวจสอ บ “รองเท้ากีฬาที่ดีควรมีคุณสมบัติครบทั้ง 4 ประการ” คุณสมบัติเหล่านั้นควรมีอะไรบ้าง ตั้งสมมติฐาน ถ้าท้องฟ้ามืดครึ้มแล้วฝนจะตก นักเรียนคิดว่าเป็นเช่นนั้นหรือไม่เพราะเหตุใด วิพากษ์วิจาร ณ์ ทาไมในสินค้าที่นักเรียนเลือกซื้อต้องมี”วันที่ควรบริโภค”กา กับมาด้วย ทดลอง นักเรียนคนหนึ่งทาการทดลอง
  • 15. 15 ใส่หินอ่านชิ้นเล็กๆในน้าบริสุทธ์และน้าอัดลมอย่างละเท่าๆกั น เพื่อทดลองเรื่องอะไร ตัดสิน นักเรียนสามารถตัดสินคุณค่าของน้าอัดลมและน้าบริสุทธิ์ได้ อย่างไร 6.คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ( Creating) ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ออกแบบ ทานาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง ตัวอย่างของคาถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์ มีดังนี้ พฤติกรร ม ตัวอย่างคาถาม ออกแบบ ให้นักเรียนออกแบบห้องนอนที่นักเรียนคิดว่าเหมาะสมและถูกสุ ขลักษณะ สร้าง ให้นักเรียนนาเสนอวิธีการสร้างหุ่นยนต์ใหม่ที่แตกต่างไปจากหุ่ นยนต์เดิม วางแผน นักเรียนช่วยเขียนขั้นตอนการทารายงาน”ท้องถิ่นในฝันของข้า พเจ้า” ปรับปรุง จงบอกวิธีปรับปรุงดินให้เหมาะกับการปลูกข้าว พยากร ณ์ จากข้อมูลของกราฟเส้นตรง นักเรียนคิดว่าในปี พ.ศ. 2557 จะเป็นอย่างไร ใบกิจกรรม 2 “วิเคราะห์ข้อคาถาม” คาชี้แจง อ่านสถานการณ์และคาถามที่กาหนดให้แล้วพิจารณาว่าข้อคาถามแต่ละข้อ สอดคล้องกับทฤษฎี ความรู้ของบลูมในระดับใด
  • 16. 16 การแปรงฟันของคุณ ฟันของเราสะอาดมากขึ้นและมากขึ้นเมื่อเราแปรงนานขึ้นและแรงขึ้นใช่หรื อไม่? นักวิจัยชาวอังกฤษบอกว่าไม่ใช่ เขาได้ทดสอบหลาย ๆ ทางเลือก และท้ายที่สุดก็พบวิธีที่สมบูรณ์แบบในการแปรงฟัน การแปรงฟัน 2 นาที โด ยไม่แปรงฟัน แรงจนเกินไปให้ผลที่ดีที่สุด ถ้าคุณ แป รงฟันแรง คุณกาลังทาร้ายเคลือบฟันและเหงือกโดยไม่ได้ขจัดเศษอาหารหรือคราบหิ นปูน เบ น ท์ ฮั น เซน ผู้เชี่ยวช าญ เรื่องก ารแ ป ร งฟั น ก ล่าวว่า วิ ธี จั บ แ ป ร ง สี ฟั น ที่ ดี ก็ คื อ จั บ ใ ห้ เ ห มื อ น จับปากกา “เริ่มจากมุมหนึ่ง และแปรงไปตามฟันจนหมดแถว” เธอบอกว่า “อย่าลืมลิ้นของคุณ ด้วย มันสามารถสะสมแบค ทีเรียได้มากทีเดียว ซึ่งเป็นสาเหตุของกลิ่นปาก 1. จากบทความดังกล่าวมีผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะวิธีการจับแปรงสีฟันที่ดีอย่างไ ร วัดพฤติกรรม ระดับ.......................................................................................... เพราะ.................................................................................................. ............................................................. 2. จากบทความดังกล่าวมีสาระสาคัญว่าอย่างไร สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม ระดับ................................................................................................... .. เพราะ.................................................................................................. ............................................................. 3. นักเรียนจะนาความรู้เรื่องนี้ไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง
  • 17. 17 สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม ระดับ................................................................................................... .. เพราะ.................................................................................................. ............................................................. 4. เพราะเหตุใดการแปรงฟันตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนาจึงสามารถทาให้สุขภา พปากและฟันดีขึ้น สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม ระดับ................................................................................................... .. เพราะ.................................................................................................. ............................................................. 5. ถ้าเราจะออกแบบวิธีการทดลองตามที่นักวิจัยกล่าวตามบทความ นักเรียนจะออกแบบอย่างไร สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม ระดับ................................................................................................... .. เพราะ.................................................................................................. ............................................................. 6. พฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติในการแปรงฟันทุกวันนี้ดีหรือไม่ เพราะเหตุใด และจะปรับปรุงอย่างไรให้สุขภาพ ช่องปากดีขึ้น สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้ของบลูม ระดับ................................................................................................... ..
  • 18. 18 เพราะ.................................................................................................. ............................................................. ใบความรู้ 3 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเป็นการสร้างข้อสอบให้ ผู้เข้าสอบเขียนตอบโดยมีความเชื่อว่าถ้าผู้เข้าสอบมีความรู้ในเรื่องนั้นดี ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ เ ขี ย น อ ธิ บ า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น โดยรูปแบบของข้อสอบอัตนัยสามารถจาแนกตามบริบทของการทดสอบได้ ดังต่อไปนี้ 1 . ข้ อ ส อ บ อั ต นั ย ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ท ด ส อ บ โ ด ย ทั่ ว ไ ป กาหนดให้ผู้เข้าสอบนาเสนอคาตอบใน 2 รูปแบบ คือ 1 .1 แ บ บ จ า กั ด ค า ต อ บ ( Restriced-answer essay) เป็ น ข้ อ ส อ บ ที่ ผู้ ต อ บ ต้ อ ง ต อ บ ใ ห้ ต ร ง ป ร ะ เด็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ถ้าตอบเป็นอย่างอื่นจะไม่ได้คะแนน แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1 ) แ บ บ เ ติ ม ค า ใ ห้ ส ม บู ร ณ์ ( Completion Item) มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ข้ อ ค า ถ า ม ที่ เ ว้ น ค า ห รื อ ว ลี ไ ว้ แ ล้ ว ให้ผู้เข้าสอบเติมคาหรือวลีที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว ทั้งนี้ Cocks แ ล ะ Bormuth ( 1 9 7 5 ) ได้เสนอแนะว่าบางครั้งอาจจาเป็นต้องให้คะแนนสาหรับคาตอบที่คล้ายกันห รือข้อความที่ใช้แทนกันด้วยความเหมาะสม 2) แบบตอบสั้น (short-answer essay) ข้อสอบแบบตอบสั้น มีเจต นาให้ผู้เข้าสอบเสนอคาตอบออก มา ซึ่งข้อสอบ แบบตอบสั้น นี้ ถูกเลือกใช้ในการเขียนข้อสอบแบบอัตนัยบ่อยครั้งมากเพราะสามารถถามไ ด้ ค ร อ บ ค ลุ ม แ ล ะ ลึ ก ก ว่ า ข้ อ ส อ บ แ บ บ เติ ม ค า ใ ห้ ส ม บู ร ณ์
  • 19. 19 แต่มีข้อจากัดเรื่องการตรวจให้คะแนนโดยต้องให้ความสาคัญกับเกณฑ์การ ให้คะแนนที่ชัดเจนเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนน 1.2 แบบไม่จากัดคาตอบ (Unrestriced-answer essay หรือ Extended-answer essay) เป็นข้อสอบที่มีวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบความเข้าใจทั้งหมดในเรื่องที่เรี ยนรู้ โดยผู้เข้าสอบ จะต้องเขียนค าต อบได้อย่างรวบรัดและชัดเจ น ผู้ออกข้อสอบต้องกาหนดรูปแบบคาตอบ/ขอบเขตของการตอบเป็นเกณฑ์ใ นการให้คะแนนอย่างชัดเจน จึงสามารถตรวจ ให้คะแนนได้ตรงกัน 2. ข้อสอบอัตนัยที่ใช้ในการทดสอบในระดับนานาชาติ (PISA) จะมีสถานการณ์ที่ใช้เป็นข้อมูลในการตอบคาถามให้และมีคาถามให้ผู้เข้าส อบพิจารณา และนาเสนอคาตอบใน 3 แบบ ได้แก่ 2 . 1 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ ปิ ด มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบที่เป็นคาต อบถูกต้องที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เช่น คาถาม บริษัทที่ทาขนมปังกรอบชื่อบริษัทอะไร ................................................................................................. ......................................................... 2.2 แบบเขียนตอบสั้นๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคาตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคาตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เช่น คาถาม ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์ ที่ทาให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น ................................................................................................. ......................................... 2 . 3 แ บ บ ส ร้ า ง ค า ต อ บ แ บ บ อิ ส ร ะ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคาตอบหรือให้เห ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ค า ต อ บ ที่ แ ส ด ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ที่ มี ต่ อ ค า ถ า ม
  • 20. 20 ผู้ เข้ าส อ บ ค ว ร เขี ย น ค าต อ บ ใ น เส้ น บ ร ร ทั ด ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ ห้ จานวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่างคร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ คาถาม คาพูดของนักข่าวคนนี้ เป็นการแปลความหมายกราฟอย่างสมเหตุสมผลหรือไม่ พร้อมเขียนคาอธิบายสนับสนุนคาตอบ ................................................................................................. ......................................... ................................................................................................. ......................................... ดั ง นั้ น เมื่อพิจารณาลักษณะของข้อสอบที่ใช้ทดสอบในการทดสอบทั่วไปและการท ดสอบในระดับนานาชาติมีความคล้ายคลึงซึ่งสามารถสรุปได้ดังตารางต่อไป นี้ ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบโดยทั่ วไป ข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบในระดับนา นาชาติ (PISA) 1. แบบจากัดคาตอบ 1. แบบสร้างคาตอบแบบปิด 2. แบบเขียนตอบสั้นๆ 2 . แบบไม่จากัดคาตอบหรือตอบอ ย่างอิสระ 3. แบบสร้างคาตอบแบบอิสระ นอกจากนี้การข้อสอบอัตนัยที่ในการทดสอบระดับนานาชาติ ยังมี ลัก ษณ ะพิ เศษ เกี่ย วกับ ก าร ก าห น ด เก ณ ฑ์ ก าร ป ร ะ เมิ น คื อ มี ก า ร ก า ห น ด เ ก ณ ฑ์ ก า ร ใ ห้ ค ะ แ น น ที่ ชั ด เ จ น โดยเกณฑ์ให้คะแนนแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.แบบให้คะแนนเป็น 2 ค่า กล่าวคือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ซึ่งจะกาหนดขอบเขตในการตอบของผู้เข้าสอบ กรณีได้คะแนนและไม่ได้คะแนน เช่น คาถาม
  • 21. 21 บ ริ ษั ท ที่ ท า ข น ม ปั ง ก ร อ บ ชื่ อ บ ริ ษั ท อ ะ ไ ร .............................................................................. การให้คะแนน คะแนนเต็ม รหัส 1 : ระบุชื่อผู้ผลิตได้อย่างถูกต้อง  ไฟน์ฟู้ดส์ หรือบริษัท ไฟน์ฟู้ดส์ จากัด ไม่ได้คะแนน รหัส 0: ให้คาตอบที่ไม่เพียงพอหรือกว้างเกิน  ผู้ผลิต  ใครก็ได้บางคน  บริษัท แสดงความเข้าใจเนื้อเรื่องที่คลาดเคลื่อนหรือให้คาตอบทีเป็นไปไม่ไ ด้หรือไม่เกี่ยวข้อง  ครีมมะนาว  ซุปเปอร์มาเก็ต  คนทาขนมปัง รหัส 9: ไม่ตอบ 2.ใ ห้ ค ะ แ น น ม า ก ก ว่ า 2 ค่ า ซึ่งจะกาหนดขอบเขตในการตอบของผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนใน แต่ละระดับ เช่น คาถาม ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์ ที่ทาให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น ................................................................................................... .......................................
  • 22. 22 การให้คะแนน คะแนนเต็ม รหัส 2: อ้างถึง ความเป็นนิยายของภาพยนตร์ หรือ โดยเฉพาะตัวนักแสดงที่ตายแล้วจะปรากฎตัวขึ้นมาใหม่อีก อาจคัดลอกประโยคที่สามจากเนื้อเรื่องมาโดยตรง (“...เพราะว่าตัวละครที่ตายและถูกฝังแล้วในเรื่องหนึ่ง ซึ่งพวกเขาได้เศร้าโศกและเสียน้าตาไปอย่างมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเป็นชาวอาหรับในเรื่องใหม่...”) หรือในข้อความสุดท้าย (“สิ่งที่มีเป็นเพียงภาพในจินตนาการเท่านั้น”)  คนที่พวกเขาคิดว่าตายไปแล้วกลับมามีชีวิตอีก  พวกเขาคิดว่าภาพยนตร์เป็นเรื่องจริงแต่กลับไม่ใช่  พวกเขาคิดว่าคนในภาพยนตร์แกล้งตาย และพวกเขาถูกหลอกเหมือนคนโง่  ตัวละครที่ตายและถูกฝังแล้วในภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง กลับมีชีวิตขึ้นมาอีกในภาพยนตร์เรื่องต่อมา ได้คะแนนบางส่วน รหัส 1: อ้างถึง ความหลอกลวงหรือเล่ห์เหลี่ยมหรือความคาดหวังของผู้ดูที่ถูกทาลายลง อาจอ้างคาว่า “สิ่งหลอกลวง” หรือ “เหยื่อของธุรกิจหนังเร่” โดยตรง ไม่ได้คะแนน รหัส 0: ให้คาตอบที่ไม่เพียงพอหรือไม่ตรงประเด็น  พวกเขาโกรธ บรูโน เครสปี พวกเขาไม่ชอบภาพยนตร์ที่นามาฉาย พวกเขาต้องการเงินคืน พวกเขาคิดว่าพวกเขาตกเป็นเหยื่อ พวกเขาเป็นคนรุนแรง พวกเขาโง่ พวกเขาแสดงความรู้สึกของตนเอง เพราะพวกเขาจ่ายเงินสองเซ็นตาโวแต่ไม่ได้สิ่งที่ต้องการ (คาว่า “สิ่งที่ต้องการ” กว้างเกินไป)
  • 23. 23 หรือ แสดงถึง ความไม่เข้าใจ ในเนื้อหาที่อ่าน หรือให้คาตอบที่ไม่มีเหตุผลหรือที่ไม่เกี่ยวข้อง พวกเขารู้สึกว่าไม่ควรยุ่งกับปัญหาผู้อื่น (ผิด คนเราต้องกายุ่งกับปัญหาจริง ๆ ของคนอื่น) เป็นวิธีที่พวกเขาประท้วงการเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ พวกเขาโกรธที่ต้องมาดูคนตายและถูกฝัง (อ้างประโยคที่ทาให้คิดว่า “พวกเขาไม่ชอบเห็นคนตายในภาพยนตร์”...เป็นการแปลความที่ไม่ถูก) รหัส 9: ไม่ตอบ ดั ง นั้ น ก า ร เ ขี ย น ข้ อ ส อ บ แ บ บ อั ต นั ย อ าจ ส ร้ าง ไ ด้ ง่า ย ก ว่ าข้ อ ส อ บ แ บ บ เลื อ ก ต อ บ ( Multiple-choice) เพ ร า ะ มี เพี ย ง ข้ อ ค า ถ า ม ไ ม่ ต้ อ ง มี ตั ว เลื อ ก ใ ห้ กั บ ผู้ เข้ า ส อ บ ผู้ เ ข้ า ส อ บ เ ป็ น ผู้ เ ขี ย น ต อ บ เ อ ง แต่ ข้ อ สอ บ ลัก ษ ณ ะ นี้ ห าก ไ ม่ มี เก ณ ฑ์ ก าร ใ ห้ ค ะ แ น น ที่ ชั ด เจ น จะทาให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนน ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ออก ข้ อสอบ ต้องต รวจ สอบ คุณ ภาพ ข องเก ณ ฑ์ ก าร ใ ห้ค ะแน น โดยเกณฑ์การให้คะแนนที่มีประสิทธิภาพจะทาให้ผู้ตรวจข้อสอบให้คะแนน จากการตรวจผลงานของผู้เข้าสอบได้ตรงกัน ใบกิจกรรม 3 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตัวอย่างข้อสอบ PISA ข้อ 1 มาซอนโด
  • 24. 24 มาซอนโด ด้ ว ย ค ว า ม ล ะ ล า น ต า ข อ งสิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ที่ น่ า พิ ศ ว ง ช าว เมื อ งม า ความมหัศจ รรย์นั้นเริ่มต้นจ าก ตรงไหน พวก เขายอมอด หลับ อดนอนทั้งคืน ที่มี ก ร ะ แส ไ ฟ ป้อ น มาจ าก เค รื่องปั่น ไ ฟ ที่ ออ ร์เร เลีย โน ท ริสเต บ ร ร ทุก แ ล ะ พ ย า ย า ม ท น เ พื่ อ ใ ห้ คุ้ น กั บ เ สี ย ง ตู ม ตู ม ข อ ง เ ค ร ต่อมาพ วกเข าก็เริ่มไม่พ อใ จกับก ารชมภาพ ยน ต ร์ ที่เค ลื่อน ไห วเห มือน มีช พ่อค้าผู้ร่ารวยนามาฉายในโรงฉายที่มีช่องขายตั๋วทาเป็นหัวสิงโตเพราะว่าตัวละครที่ตา ซึ่งพวกเขาได้เศร้าโศกและเสียน้าตาไปอย่างมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเป ผู้ช มต้องจ่าย เงิน สอ งเซ็น ต าโวเป็น ค่าตั๋ วเข้าช ม เพื่ อร่วมเสียใ จ กั บ ค วา พวกเขาไม่ยอมถูกหลอกให้ดูของไม่จริงอีกต่อไป จึงแสดงความโกรธด้วยการทุบทา ได้ข อร้องให้นายกเทศมนตรีช่วยประกาศว่าภาพ ยนตร์เป็นเพียงภาพลวงต า แ ล ะ ไ ม่ มี ค่ า ค ว ร แ ก่ ก า ร ที่ ผู้ ช ม จ ะ ร ะ เ บิ ด ค จากคาชี้แจงที่เตือนสตินี้เองทาให้หลายคนรู้สึกว่าตนตกเป็นเหยื่อของธุรกิจหนังเร่จึง เพราะคิดว่าตัวเองก็มีความทุกข์ยากมากเกินกว่าที่จะไปร้องไห้กับสิ่งที่เป็นเพียงภาพลวง คาถาม: มาซอนโด นัก เรียนเห็น ด้วยห รือไ ม่กับ ก ารตัด สิน ใจข องชาวเมืองมาซอน โด เกี่ยวกับคุณค่าของภาพยนตร์ จงอธิบายคาตอบโดยเปรียบเทียบความรู้สึกของนักเรียนกับของชาวเมืองมา ซอนโดที่มีต่อภาพยนตร์ .......................................................................................................... .................................................................. .......................................................................................................... .................................................................. ข้อ 2 ป้ายประกาศในซุปเปอร์มาร์เก็ต การแจ้งเตือนการแพ้ถั่วลิสง ขนมปังกรอบไส้ครีมมะนาว วันที่แจ้งเตือน: 4 กุมภาพันธ์ ชื่อผู้ผลิต: บริษัท ไฟน์ฟู้ดส์ จากัด ข้อมูลผลิตภัณฑ์: ขนมปังกรองไส้ครีมมะนาว 125 กรัม
  • 25. 25 (ควรบริโภคก่อน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคก่อน 1 กรกฎาคม) รายละเอียด:ขนมปังกรอบบางอย่างในรุ่นการผลิตเหล่านี้ อาจมีชิ้นส่วนของถั่วลิสงผสมอยู่ แต่ไม่แจ้งไว้ในรายการส่วนผสม คนที่แพ้ถั่วไม่ควรรับประทานขนมปังกรอบนี้ การปฏิบัติของผู้บริโภค: ถ้าท่านซื้อขนมปังกรองนี้ไป ท่านสามารถนามาคืน ณ ที่ที่ท่านซื้อ เพื่อรับเงินคืนได้เต็มจานวนหรือโทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติ มได้ที่ 1800 034 241 คาถาม: ป้ายประกาศในซุปเปอร์มาร์เก็ต บริษัทที่ทาขนมปังกรองชื่อบริษัทอะไร.................................................... ..........................................................
  • 26. 26 ข้อ 3 รถไฟใต้ดิน คาถาม: รถไฟใต้ดิน นักเรียนจะหาข้อมูลเกี่ยวกับระบบรถไฟใต้ดินเพิ่มเติมจากที่แสดงไว้ในหน้า รถไฟใต้ดินได้อย่างไร …………………………………………………………………………… …………………………................................................ …………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………..
  • 27. 27 …………………………………………………………………………… …………………………................................................ …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….. ข้อ 4 ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส และแล้วเครื่องบินขนส่งไปรษณียภัณฑ์สามลาจากปาตาโกเนีย1 ชิลี และปารากวัย ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ก ลั บ ม า จ า ก ท า ง ใ ต้ ต ะ วั น ต ก แ ล ะ เ ห นื อ สู่ บั ว โ น ส ไ อ เ ร ส ซึ่ ง ที่ นั่ น ก า ลั ง ร อ ค อ ย สิ น ค้ า จ า ก เ ค รื่ อ ง บิ น เ ห ล่ า นั้ น เพื่อเครื่องบินที่จะเดินทางไปยุโรปสามารถออกเดินทางประมาณเที่ยงคืนได้ นักบินสามคนที่อยู่เบื้องหลังแผงควบคุมที่ใหญ่ราวกับเรือบรรทุกสินค้าตกอยู่ในความมื ด แ ล ะ จ ด จ่ อ อ ยู่ กั บ เ ที่ ย ว บิ น ข อ ง เ ข า ที่ ก า ลั ง เค ลื่ อ น ตั ว เข้ า สู่ เ มื อ ง ใ ห ญ่ ซึ่ งจ ะต้ อง ล ดค วาม สูง ล งอ ย่ างช้ า ๆ เพื่ อ อ อ กจ ากท้ อ งฟ้ าที่ มี พ ายุ หรือ เงียบ ส ง บ ราวกับคนประหลาดกาลังลงมาจากภูเขา รีวิแอร์ ผู้รับผิดชอบการปฏิบัติการทั้งหมด เดินไปมาในที่ลงจอดของบัวโนส ไอเรส เขายังคงเงียบจนกว่าเครื่องบินทั้งสามลาจะมาถึง ตลอดทั้งวันเขารู้ สึกเหมือนมีลางร้าย เ ว ล า ผ่ า น ไ ป น า ที แ ล้ ว น า ที เ ล่ า จ น ก ร ะ ทั่ ง มี โ ท ร เ ล ข ม า ถึ ง รีวิแอร์รู้สึกว่าเขาได้ช่วงชิงบางสิ่งจากโชคชะตาซึ่งค่อย ๆ ลดสิ่งที่เขาไม่รู้ลงทีละน้อย และดึงลูกเรือของเขาให้พ้นจากความมืดมาสู่ฝั่ง ลูกเรือคนหนึ่งติดต่อกับรีวิแอร์ด้วยข้อความทางวิทยุ ไปรษณี ยภัณฑ์จากชิลีรายงานว่าเขาสามารถมองเห็นแสงสว่างจากบัวโนส ไอเรสแล้วเยี่ยมมาก ไม่นานนัก รีวิแอร์ก็ได้ยินเสียงเครื่องบิน ความมือได้ยอมปล่อยหนึ่งในนั้นออกมาแล้ว ดั่ ง ท ะ เ ล ที่ มี ค ลื่ น ขึ้ น ๆ ล ง ๆ แล ะ สิ่ง ลี้ ลั บ ต้ อ งยอ ม คื นส ม บั ติ ที่ มั นโยนเล่ นไ ป ม าเป็ นเว ล านานให้ กั บ ช ายหาด
  • 28. 28 ในไม่ช้ามันคงจะคืนอีกสองคนที่เหลือกลับมา ใ น วั น นี้ ก า ร ท า ง า น ก็ จ บ สิ้ น ล ง เจ้าหน้าที่ภาคพื้นดินที่เหนื่อยล้าคงจะกลับไปนอนและมีเจ้าหน้าที่ชุดใหม่ที่สดชื่นมาทาหน้าที่แทน มี เ พี ย ง แ ต่ รี วิ แ อ ร์ เ ท่ า นั้ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ พั ก จากนั้นก็มาถึงคราวของไปรษณีย์ภัณ ฑ์จากยุโรปที่จะเข้ามาเพิ่มความวิตกให้เขาอีก และมันจะเป็นอย่างนี้ไปตลอด และตลอดไป คาถาม: ปลายทางที่บัวโนส ไอเรส “ป ล า ย ท า งที่ บั ว โ น ส ไ อ เร ส ” ถู ก เขี ย น ขึ้ น ใ น ปี ค .ศ . 1 9 3 1 นักเรียนคิดว่าปัจจุบันนี้ ความกังวลของรีวิแอร์ ยังเป็นเหมือนเดิมใช่หรือไม่ ให้เหตุผลอธิบายคาตอบของนักเรียน .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ................................................ คาชี้แจง ให้ผู้เข้ารับการอบรมวิเคราะห์รูปแบบของข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบ ระดับนานาชาติ (PISA) ข้อที่ 1–4 ว่าเป็นรูปแบบใด พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลประกอบการเลือกรูปแบบของข้อสอบดังกล่าว รูปแบบของข้อสอบ เหตุผล ข้อ 1  สร้างคาตอบแบบปิด  เขียนตอบสั้น ๆ  สร้างคาตอบแบบอิสระ ข้อ 2  สร้างคาตอบแบบปิด  เขียนตอบสั้นๆ  สร้างคาตอบแบบอิสระ
  • 29. 29 ข้อ 3  สร้างคาตอบแบบปิด  เขียนตอบสั้นๆ  สร้างคาตอบแบบอิสระ ข้อ 4  สร้างคาตอบแบบปิด  เขียนตอบสั้นๆ  สร้างคาตอบแบบอิสระ ใบความรู้ที่ 4 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดในการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤ ทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย เพื่ อ ที่ จ ะ ป ร ะ เมิ น ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เรี ย น ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง สามารถสะท้อนผลสัมฤท ธิ์ของผู้เรียน ตามผลก ารเรียน รู้ที่ต้องก าร จาเป็นต้องเลือกใช้ข้อคาถามใหม่ให้เหมาะสมสาหรับทดสอบโดยทั่วไป ข้ อ ค า ถ า ม แ บ บ อั ต นั ย ( เ ขี ย น ต อ บ ) จะ เห มาะกับ ก ารป ร ะเมิน เพื่อดูค วามเข้ าใจ ใ น เนื้อห าข องผู้เรียน และประเมินความสามารถในการให้เหตุผลโดยใช้ความรู้ที่มีในวิชานั้น ๆ ซึ่งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดจะประกอบด้วยคากริยาที่จะให้ทิศทาง สาหรับการเลือกใช้วิธีการประเมิน บอกทิศทางการตอบสนองของผู้เรียน เช่น สร้างสรรค์ อธิบาย จะบ่งบอกว่าผู้เรียนต้อง “สร้างคาตอบ” มากกว่า “ก า ร เลื อ ก ต อ บ ” ข ณ ะ ที่ “ก า ร ร ะ บุ ” บ่ ง ชี้ ใ ห้ ก า ร เลื อ ก ต อ บ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม มี ค า ก ริ ย า บ า ง ค า เ ช่ น “ตี ค ว า ม ” ที่ อ าจ ใ ช้ ก าร ป ร ะ เมิ น แ บ บ เขี ย น ต อ บ ห รือ เลื อ ก ค าต อ บ ก็ ไ ด้ เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ บ่ ง บ อ ก ว่ า จ ะ ใ ช้ รู ป แ บ บ ใ ด กรณีนี้ผู้ออกแบบเครื่องมือที่จะใช้ในการประเมินจาเป็นต้องตัดสินใจว่า จ ะ เ ลื อ ก ใ ช้ ข้ อ ค า ถ า ม รู ป แ บ บ ใ ด จึ ง จ ะ เ ห ม า ะ ส ม อาจต้องพิจารณาว่ามีทักษะในการเขียนข้อคาถามชนิดเลือกตอบเพียงใด มีเวลา/ทรัพยากรในการตรวจให้คะแนนเพียงใด
  • 30. 30 กร ณี มีทัก ษะใ น ก ารเขียน ข้อค าถามแบ บ เลือก ต อบ น้อย แ ล ะ มี เว ล า /ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร ต ร ว จ ใ ห้ ค ะ แ น น เพี ย ง พ อ ควรเลือกข้อคาถามแบบอัตนัย (เขียนตอบ) ก รณี มีทัก ษะใ น ก าร เขี ยน ข้อค าถ ามแบ บ เลือก ต อบ มาก แ ล ะ มี เว ล า /ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร ต ร ว จ ใ ห้ ค ะ แ น น จ า กั ด ควรเลือกข้อคาถามแบบปรนัย (เลือกตอบ) ทั้ ง นี้ ในก ารวิเคราะห์ค าสาคัญข องแต่ละมาต รฐาน ก ารเรียนรู้/ตัวชี้วัด ให้พิจารณาระดับพฤติกรรมการวัดของคานั้น ๆ จากบริบทที่เกี่ยวข้องด้วย ความรู้เกี่ยวกับลักษณะพฤติกรรมของตัวชี้วัด (K-A-P) ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ได้กาหนดกรอบการวิเคราะห์เป็นแนวทางเชื่อมโยงและความสอดคล้อง จากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางกา ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2551 เพื่อระบุสัดส่วนพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายการจัดการเรียนรู้แบบอิ ง ม า ต ร ฐ า น ( Standard based learning) โดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy, 1956) แ ล ะ Bloom’s Revised Taxonomy, 2001 แอนเดออสันและแครธโวล (Anderson & Krathwolh, 2001) พฤติกรรมการเรียนรู้ที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคุณลักษณ ะ (Attribute: A) และด้านกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P) ดังนี้ 1.ด้านความรู้(Knowledge: K) เป็นพฤติกรรมทางด้านความรู้และสติปัญญาของมนุษย์โดยผ่านกระบวนกา รทางสมอง ซึ่งความรู้ดังกล่าวประกอบด้วย ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด ความรู้เกี่ยวกับวิธีและกระบวนการการ และความรู้ที่เกี่ยวกับทักษะหรือกระบวนการความคิดของตนเอง
  • 31. 31 (อภิปัญญา) โดยด้านความรู้ส่วนใหญ่จะยึดตามทฤษฎีทางความรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy) ซึ่งมีลาดับขั้น 6 ขั้น ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้ 1 ) จ า ( Remembering) ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในก ารระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุชื่อได้ ก าร บ อก ชื่ อ ก าร บ อก ต าแห น่ ง ก าร ใ ห้ สัญ ลัก ษณ์ ยก ตัวอ ย่าง บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้ อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลาดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล 2 ) เ ข้ า ใ จ ( Understanding) ห ม า ย ถึ ง ค วามสามาร ถ ใ น ก าร แป ลค วาม ห ม าย ย ก ตั วอย่าง สรุป อ้ างอิ ง การเรียบเรียงให ม่ ก ารจาแนก ห มวด ห มู่ สังเกต ท าเค้าโค รงเรื่อง ให้คาจากัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า 3 ) ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ( Applying) ห ม า ย ถึ ง ความสามารถ ในก ารน าไปใช้ ประยุก ต์ใช้ แก้ไขปัญหา ลงมือท า แปลความหมาย ใช้ภาพประกอบ การคานวณ เรียงลาดับ การแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ คาดคะเน 4 ) วิ เ ค ร า ะ ห์ ( Analyzing) ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คานวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลาดับเรื่อง ทาแผนผัง หาความสัมพันธ์ 5 ) ป ร ะ เ มิ น ค่ า ( Evaluating) ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ วิ จ า ร ณ์ ตั ด สิ น ให้คะแนน ประมาณค่า เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนา สืบค้น ตัดสินใจ คัดเลือก วัด 6 ) คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ( Creating) ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ออกแบบ ทานาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง 2.ด้านคุณลักษณะ (Attribute: A) หมายถึง ลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการในด้า
  • 32. 32 นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งคุณลักษณะที่ดีคือให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข ค น ดี คือ คนที่ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณ ภาพ มีจิตใจที่ดีงาม มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึงป ร ะสงค์ทั้งด้าน จิต ใ จ และพ ฤ ติก รร มที่ แสด งออก เช่ น มีวินั ย มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีเหตุผล รู้หน้าที่ ซื่อสัตย์ พากเพียร ขยัน ประหยัด มีจิตใ จเป็น ป ร ะชาธิป ไต ย เค ารพ ความคิด เห็น และ สิท ธิข องผู้อื่น มีความเสียสละ รักษาสิ่งแวดล้อม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติสุข ค น เก่ ง คื อ ค น ที่ มีส มร ร ถ ภาพ สู งใ น ก าร ด าเนิ น ชีวิ ต โดยมีความสามารถด้านใดด้านหนึ่งหรือรอบด้านหรือมีความสามารถพิเศษร อบด้าน เช่น ความสามารถทางด้านคณิตศาสตร์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีค วามสามาร ถ ด้ าน ภาษา ด น ต รี กีฬ า มีภาวะผู้น า รู้จัก ต น เอ ง ควบคุมตนเองได้ เป็นคนทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ทันเทคโนโลยี มีค ว ามเป็ น ไ ท ย ส ามา ร ถ พั ฒ น าต น เองไ ด้ อย่ างเต็ ม ศั ก ยภ า พ และทาประโยชน์ให้เกิดแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติได้ ค น มีค วา มสุข คือ ค น ที่มีสุข ภาพ ก ายและสุข ภาพ จิต ดี เป็นคนร่าเริงแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มี ค ว า ม รั ก ต่ อ ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จ า ก อ บ า ย มุ ข และสามารถดารงชีวิตได้อย่างพอเพียงตามอัตภาพ 3.ด้านกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P) ได้จาแนกดังนี้ 3.1 ทักษะการสื่อสาร ได้แก่ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 3.2 ทักษะและกระบวนการทางาน - ทั ก ษ ะ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่ ค วาม ส ม าร ถ ใ น ก าร แ ก้ ปั ญ ห า ค วา มส าร ถ ใ น ก าร ใ ห้ เห ตุ ผ ล ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และนาเสนอ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นต้น - ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่ ทั ก ษ ะ ก า ร ก า ห น ด แ ล ะ ค ว บ คุ ม ตั ว แ ป ร ทั ก ษ ะ
  • 33. 33 ก า ร ค า น ว ณ ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ท า แ ล ะ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล ทั ก ษ ะ ก าร จ า แ น ก ป ร ะ เภ ท ทั ก ษ ะ ก า ร ตั้ งส ม ม ติ ฐ า น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล ทั ก ษ ะ ก า ร ท ด ล อ ง ทั ก ษ ะ ก าร ก าห น ด นิ ย าม เชิ งป ฏิ บั ติ ก าร ทั ก ษ ะ ก าร พ ย าก ร ณ์ ทัก ษ ะ ก าร ล งค วามเห็ น ข้ อมู ล ทั ก ษ ะ ก าร วัด ทั ก ษ ะก าร สังเก ต ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา เป็นต้น - ก ร ะ บ วน ก าร วิ ธี ก า ร ท า งป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ แ ก่ ก า ร ตั้ ง ป ร ะ เด็ น ที่ จ ะ ศึ ก ษ า สื บ ค้ น แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ตี ค ว า ม ข้ อ มู ล ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ก า ร คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ข้ อ มู ล การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น - กระบวนการคิดแก้ปัญหา ได้แก่ ทาความเข้าใจปัญหา ว า ง แ ผ น อ อ ก แ บ บ แ ก้ ปั ญ ห า ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น สรุปและตรวจสอบการแก้ปัญหา เป็นต้น - ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ แ ก่ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ใ ช้ ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี เลือกและใช้โปรแกรมประยุกต์อย่างเหมาะสม เรียนรู้โปรแกรมใหม่ ๆ ผ่านเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เป็นต้น - ทั ก ษ ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด้ แ ก่ วิ เค ร า ะ ห์ ง า น ว า ง แ ผ น ก า ร ท า ง า น ล ง มื อ ท า ง า น ป ร ะ เ มิ น ผ ล การทางาน การทางานเป็นทีม เป็นต้น ตัวอย่างการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 สาระที่1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ม า ต ร ฐ า น ว 1.1: เข้ า ใ จ ห น่ ว ย พื้ น ฐ า น ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ท า ง า น สั ม พั น ธ์ กั น มีก ร ะ บ วน ก าร สืบ เสาะห าค วาม รู้ สื่อสาร สิ่งที่ เรียน รู้ และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิ ต
  • 34. 34 ตัวชี้วัด ลักษณะของพฤติกรร ม ความ รู้ (K) คุณลักษ ณะ (A) ทักษ ะ (P) 1. ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ ของสิ่งมีชีวิต  -  2. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในพืช  -  3. สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์  -  4. อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและนาความรู้ไปใช้ ในการดูแล รักษาสุขภาพ  -  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 สาระที่1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1: เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจ ริง ตัวชี้วัด คาสาคัญ ความรู้ (K) คุณลักษณ ะ (A) ทักษะ (P) 1. เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้า ในรูปเศษส่วน  - - 2. จาแนกจานวนจริงที่กาหนดให้และยกตัวอย่าง จานวนตรรกยะและ จานวนอตรรกยะ  - - 3.  - -