SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ศ21101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
โดย
นายวินัย ท่อกระโทก
ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์
อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
โดย
นายวินัย ท่อกระโทก
ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ที่ ...................วันที่ 30 พฤษภาคม 2565
เรื่อง ส่งวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์
ตามที่ข้าพเจ้านายวินัย ท่อกระโทก ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ใน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2565 ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์
จำนวน 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน นั้น
บัดนี้ ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา เพื่อ
นำไปสู่การวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรต่อไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
....................................................
( นายวินัย ท่อกระโทก)
ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( ) ทราบ ( ) อื่น ๆ .................
.............................................................................
(...............................................)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ( )
ทราบ ( ) อื่น ๆ ..................................................
........................................................................................
(นางสาวสุภาพรรณ์ หลงทะเล)
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) ทราบ ( ) อื่น ๆ ........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
(นายไกรศร ทองมูลชัย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2552 และใช้ในโรงเรียนทั่วไป
ในปีการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31
จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ พ.ศ. 2561 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการ
สอน และเพื่อให้กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักสูตรระดับชั้นเรียน รหัสวิชาศ22101 รายวิชาศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 ที่ข้าพเจ้าจัดทำขึ้น ข้าพเจ้าได้
วิเคราะห์ตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง
สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุ
เป้าหมายของหลักสูตร
( นายวินัย ท่อกระโทก)
ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คำอธิบายรายวิชา
ศ22101 วิชาศิลปะ
รายวิชา พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา อธิบาย และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทัศนธาตุ ในด้านรูปแบบและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือน ความ
แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เทคนิคการวาดภาพสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ การ
วาดภาพบุคลิกลักษณะของตัวละคร การใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาโน้มน้าวใจและนำเสนอตัวอย่างประกอบ ประเมินและ
วิจารณ์งานทัศนศิลป์ นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนางาน แลจัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์และงานออกแบบใน
วัฒนธรรมไทยและสากลในแต่ละยุคสมัยองค์ประกอบของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ รวมถึงวัฒนธรรมโคราช ดนตรีใน
วัฒนธรรมต่างประเทศ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทางดนตรี อ่าน เขียน ร้องโน้ตเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทาง
ดนตรีไทยและดนตรีสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสื่อสาร กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
เพื่อให้รู้ เข้าใจ และแสดงออก ถึงศิลปวัฒนธรรม ด้วยความรัก หวงแหน ร่วมอนุรักษ์สืบสาน นำ
ความรู้และทักษะที่ตนถนัดและสนใจ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
และดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ชื่นชม เห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล
รหัสตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2
ศ 2.2 ม.2/1, ม.2/2
รวม 14 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา
ศ22101 วิชาศิลปะ
รายวิชา พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ลำดับ
ที่
ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
(ชม.)
คะแนน
1 รูปแบบทัศน
ธาตุและ
แนวคิดในงาน
ทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/1 ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบสำคัญของงานทัศนศิลป์ การ
วิเคราะห์รูปแบบทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ จะ
ช่วยให้สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้ถูกต้อง และสวยงาม
5 10
2 รูปแบบการใช้
วัสดุอุปกรณ์ใน
งานทัศนศิลป์
ของศิลปิน
ศ 1.1 ม.2/2 การเปรียบเทียบความเหมือน และความแตกต่างของรูปแบบ
การใช้วัสดุอุปกรณ์ของศิลปินนั้น จะเป็นประโยชน์ต่อการ
นำไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนาผลงานทัศนศิลป์ของเรา
4 10
3 การวาดภาพสื่อ
ความหมายและ
เรื่องราว
ศ 1.1 ม.2/3 การเรียนรู้เทคนิคต่างๆ ในการวาดภาพ จะช่วยให้สามารถ
วาดภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำให้ผลงานที่
สร้างสรรค์ออกมาเกิดความน่าประทับใจ
4 10
4 การวาด
ภาพถ่ายทอด
บุคลิกลักษณะ
ของตัวละคร
ศ 1.1 ม.2/6 การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะของตัวละคร เป็นเทคนิค
การวาดภาพที่ต้องอาศัยการช่างสังเกต โดยจับลักษณะเด่น
หรือลักษณะด้อยของตัวละคร แล้วนำมาถ่ายทอดเป็นภาพที่
เป็นลักษณะจำเพาะของตัวละครตัวนั้น
4 10
5
งานทัศนศิลป์
ในการโฆษณา
ศ 1.1 ม.2/7 การเรียนรู้วิธีการออกแบบโฆษณา ทำให้สามารถบรรยาย
วิธีการใช้งานทัศนศิลป์ในการทำโฆษณาและประชาสัมพันธ์
เพื่อโน้มน้าวใจ และนำความรู้ไปสร้างสรรค์งานโฆษณาใน
รูปแบบโปสเตอร์ได้ถูกต้องงดงาม และมีประสิทธิภาพ
4 10
6 การประเมิน
และวิจารณ์
งานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/4
ม.2/5
การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ช่วยสะท้อนทัศนะ
ความรู้สึก ความคิดเห็นที่ผู้ชมมีต่อผลงานที่ได้พบเห็น และ
ผลจากการวิจารณ์ผู้สร้างสรรค์ผลงานควรเก็บเอาสาระสำคัญ
ที่เป็นประโยชน์นำไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาผลงานให้มี
ความก้าวหน้าต่อไป
4 10
7 ทัศนศิลป์ของ
ไทยในแต่ละยุค
สมัย
ศ 1.2 ม.2/2 ผลงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นมาในแต่ละยุคสมัย จะแสดง
ให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางความคิด ความเชื่อ คติทางศาสนา
สังคม การเมือง การปกครอง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
ให้แตกต่างไปจากเดิมบ้าง จนกลายเป็นรูปแบบเฉพาะของ
สมัยนั้นๆ
4 5
8 วัฒนธรรมใน
งานทัศนศิลป์
ปัจจุบัน
ศ 1.2 ม.2/1
ม.2/3
การเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมในงานทัศนศิลป์ จะช่วยให้เกิด
ความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างๆ ที่สะท้อนอยู่ในงานทัศนศิลป์
และยังสามารถทำให้เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงาน
ทัศนศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรมไทยและสากลได้
4 5
9 ดนตรีกับสังคม
และวัฒนธรรม
ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1
ม.2/2
ดนตรีจัดเป็นศิลปะทางวัฒนธรรมที่มีองค์ประกอบของสังคม
วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกันอีกทั้งยังสะท้อน
ให้เห็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมนั้นๆ
3 5
10 เครื่องหมาย
และสัญลักษณ์
ทางดนตรี
ศ 2.1 ม.2/2 การเรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ทำให้
สามารถเขียน อ่าน และร้องได้ถูกต้อง ตามทำนองและจังหวะ
ของเพลง
3 5
สอบปลายภาค 1 20
รวมตลอดภาคเรียน 40 100
วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์(พื้นฐาน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2565 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง
หน่วยที่
/
สัปดาห์
ชื่อหน่วย
มาตรฐานการ
เรียนเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์
การเรียนรู้/
ผลการ
เรียนรู้
กิจกรรม
การเรียนรู้
สื่อ/แหล่ง
เรียนรู้
ชิ้นงาน/
ภาระงาน
ระยะเวลา
(ชั่วโมง)
การประเมิน
1 ปฐมนิเทศ - - บรรยาย - - 1 -
หน่วยที่
1
/2-3
รูปแบบทัศน
ธาตุและ
แนวคิดในงาน
ทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/1
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
ทัศนธาตุ
เป็น
องค์ประกอ
บสำคัญของ
งาน
ทัศนศิลป์
การ
วิเคราะห์
รูปแบบทัศน
ธาตุและ
แนวคิดใน
งาน
ทัศนศิลป์
จะช่วยให้
สร้างสรรค์
ผลงาน
ทัศนศิลป์ได้
ถูกต้อง และ
สวยงาม
บรรยาย
เกี่ยวกับ
ทัศนธาตุใน
ด้าน
รูปแบบ
และ
แนวคิดของ
งาน
ทัศนศิลป์ที่
เลือกมา
-วิธีสอน
โดยเน้น
กระบวนกา
รปฏิบัติ
-
กระบวนกา
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ระดับชั้น
มัธยมศึกษ
าปีที่2
ใบงานที่
1.1
รูปแบบ
ทัศนธาตุ
และ
แนวคิดใน
งาน
ทัศนศิลป์
ใบงานที่
1.2
รูปแบบ
ทัศนธาตุ
และ
แนวคิดใน
งาน
ทัศนศิลป์
2 -ตรวจใบ
งาน
รปฏิบัติวิธี
สอน
โดยใช้การ
สาธิต
หน่วยที่
2/4-5
รูปแบบการใช้
วัสดุอุปกรณ์
ในงาน
ทัศนศิลป์ของ
ศิลปิน
ศ 1.1 ม.2/2
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
บรรยาย
เกี่ยวกับ
ความ
เหมือนละ
ความ
แตกต่างของ
รูปแบบการ
ใช้วัสดุ
อุปกรณ์ใน
งาน
ทัศนศิลป์
ของศิลปิน
บรรยาย
ความ
เหมือนและ
ความ
แตกต่าง
ของ
รูปแบบ
การใช้วัสดุ
อุปกรณ์ใน
งาน
ทัศนศิลป์
ของศิลปิน
-วิธีสอน
โดยเน้น
กระบวนกา
รปฏิบัติ
-
กระบวนกา
รปฏิบัติวิธี
สอน
โดยใช้การ
สาธิต
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ระดับชั้น
มัธยมศึกษ
าปีที่2
ใบงานที่ 2
รูปแบบ
การใช้วัสดุ
อุปกรณ์ใน
งาน
ทัศนศิลป์
ของศิลปิน
2 -ตรวจใบ
งาน
หน่วยที่
3/6-7
การวาดภาพ
สื่อความหมาย
และเรื่องราว
ศ 1.1 ม.2/3
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
อธิบายการ
วาดภาพ
ด้วยเทคนิค
ที่
หลากหลาย
ในการสื่อ
ความหมาย
และ
เรื่องราว
บรรยาย
ภาพที่ผู้
สร้างสรรค์
วาดออกมา
นั้น
นอกจาก
จะแสดงถึง
ความ
สวยงาม
น่าดูชม
แล้ว ภาพ
จำนวนมาก
ยังสามารถ
แสดง
อารมณ์
บอกเล่า
ความหมาย
และ
เรื่องราว
ต่างๆที่
เกิดขึ้น
-วิธีสอน
โดยเน้น
กระบวนกา
รปฏิบัติ
-
กระบวนกา
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
มัธยมศึกษ
าปีที่2
ใบงานที่
3.1
การวาด
ภาพสื่อ
ความหมาย
และ
เรื่องราว
ใบงานที่
3.2
การ
น้ำหนัก
อ่อน-แก่
ของสี
โปสเตอร์
2 -ตรวจใบ
งาน
รปฏิบัติวิธี
สอน
โดยใช้การ
สาธิต
หน่วยที่
4/8-9
การวาด
ภาพถ่ายทอด
บุคลิกลักษณะ
ของตัวละคร
ศ 1.1 ม.2/6
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
วาดภาพ
แสดง
บุคลิกลักษ
ณะของตัว
ละคร
บรรยาย
การวาด
ภาพถ่าย
ทอด
บุคลิกลักษ
ณะของตัว
ละคร เป็น
เทคนิคการ
วาดภาพที่
ต้องอาศัย
การสังเกต
โดยจับ
ลักษณะ
เด่นหรือ
ลักษณะ
ด้อยของตัว
ละครแล้ว
นำมา
ถ่ายทอด
เป็นภาพ
ที่ป็น
ลักษณะ
จำเพาะ
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
มัธยมศึกษ
าปีที่2
ใบงานที่ 4
การวาด
ภาพถ่าย
ทอด
บุคลิกลักษ
ณะของตัว
ละคร
2 -ตรวจใบ
งาน
ของตัว
ละครตัว
นั้น
-วิธีสอน
โดยเน้น
กระบวนกา
รปฏิบัติ
-
กระบวนกา
รปฏิบัติวิธี
สอน
โดยใช้การ
สาธิต
หน่วยที่
5/10-
11
งานทัศนศิลป์
ในการโฆษณา
ศ 1.1 ม.2/7
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
งาน
ทัศนศิลป์ใน
การโฆษณา
บรรยาย
วิธีการใช้
ทัศนศิลป์
ในการ
โฆษณา
เพื้อโน้ม
น้าวใจ
นำเสนอ
ตัวอย่าง
ประกอบ
-วิธีสอน
โดยเน้น
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่5
งาน
ทัศนศิลป์
ในการ
โฆษณา
2 -ตรวจใบ
งาน
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
กระบวนกา
รปฏิบัติ
-
กระบวนกา
รปฏิบัติวิธี
สอน
โดยใช้การ
สาธิต
หน่วยที่
6/12-
13
การประเมิน
และวิจารณ์
งานทัศนศิลป์
ศ 1.1 ม.2/4
ม.2/5
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
สร้างเกณฑ์
ในการ
ประเมินและ
วิจารณ์งาน
ทัศนศิลป์
นำผลการ
วิจารณ์ไป
ปรับปรุง
แก้ไขและ
พัฒนางาน
บรรยาย
วิธีการ
สร้างเกณฑ์
ในการ
ประเมิน
และ
วิจารณ์งาน
ทัศนศิลป์
นำผลการ
วิจารณ์ไป
ปรับปรุง
แก้ไขและ
พัฒนางาน
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่ 6
การ
ประเมิน
และ
วิจารณ์งาน
ทัศนศิลป์
2 -ตรวจใบ
งาน
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
หน่วยที่
7/14-
15
ทัศนศิลป์ของ
ไทยในแต่ละ
ยุคสมัย
ศ 1.2 ม.2/2
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
งาน
ทัศนศิลป์
ของไทยใน
แต่ละยุค
สมัย
บรรยายถึง
การเปลี่ยน
แปลงของ
งาน
ทัศนศิลป์
ของไทยใน
แต่ละยุค
สมัย โดย
เน้นถึง
แนวคิด
และเนื้อหา
ของงาน
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่ 7
ทัศนศิลป์
ของไทยใน
แต่ละยุค
สมัย
2 -ตรวจใบ
งาน
หน่วยที่
8/16-
17
วัฒนธรรมใน
งานทัศนศิลป์
ปัจจุบัน
ศ 1.2 ม.2/1
ม.2/3
สร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ตาม
จินตนาการ
และความคิด
วัฒนธรรมที่
สะท้อนใน
งาน
ทัศนศิลป์
ปัจจุบัน
การ
ออกแบบ
บรรยาย
เกี่ยวกับ
วัฒนธรรม
ต่างๆที่
สะท้อนถึง
งาน
ทัศนศิลป์
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ทัศนศิลป์
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่ 8
วัฒนธรรม
ในงาน
ทัศนศิลป์
ปัจจุบัน
2 -ตรวจใบ
งาน
สร้างสรรค์
วิเคราะห์
วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์
ถ่ายทอด
ความรู้สึก
ความคิดต่อ
งานศิลปะ
อย่างอิสระ
ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
งาน
ทัศนศิลป์ใน
วัฒนธรรม
ไทยและ
สากล
ในปัจจุบัน
และ
เปรียบเทีย
บแนวคิด
ในการ
ออกแบบ
งาน
ทัศนศิลป์
ที่มาจาก
วัฒนธรรม
ไทยและ
สากล
หน่วยที่
1/18-
19
ดนตรีกับสังคม
และวัฒนธรรม
ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1
ม.2/2
เปรียบเทียบ
การใช้
องค์ประกอบ
ดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรม
ต่างๆ
อ่าน เขียนร้อง
โน็ตไทยและ
โน้ตสากลที่มี
ดนตรี
จัดเป็น
ศิลปะทาง
วัฒนธรรมที่
มี
องค์ประกอ
บของสังคม
วัฒนธรรม
และ
ประวัติศาส
ตร์ เข้าไว้
ด้วยกันอีก
ทั้งยัง
สะท้อนให้
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ดนตรี
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่ 9
ดนตรีกับ
สังคม
และ
วัฒนธรรม
2 -ตรวจใบ
งาน
เครื่องหมาย
แปลงเสียง
ระบุปัจจัย
สำคัญที่มี
อิทธิพลต่อการ
สร้างสรรค์งาน
ดนตรี
เห็นเรื่องราว
ที่เกิดขึ้นใน
วัฒนธรรม
นั้นๆ
หน่วยที่
2/20
เครื่องหมาย
และสัญลักษณ์
ทางดนตรี
ศ 2.1 ม.2/2 การเรียนรู้
เกี่ยวกับ
เครื่องหมาย
และ
สัญลักษณ์
ทางดนตรี
ทำให้
สามารถ
เขียน อ่าน
และร้องได้
ถูกต้อง ตาม
ทำนองและ
จังหวะของ
เพลง
สื่อการ
สอน/
หนังสือ
ดนตรี
ชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่2
ใบงานที่10
เครื่องหมา
ยและ
สัญลักษณ์
ทางดนตรี
1 -ตรวจใบ
งาน
วิเคราะห์การวัดผลและประเมินผล
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2565 เวลา 40 ชั่วโมง
ช่วงเวลาประเมิน
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ พฤติกรรม/
สิ่งที่มุ่งวัดผล
วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน
ระหว่
า
งภาค
ปลายภาค
ศ 1.1 ม.2/1 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.1 ม.2/2 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.1 ม.2/3 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
-ใบงาน /
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
ศ 1.1 ม.2/6 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.1 ม.2/7 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.1 ม.2/4
ม.2/5
-พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.2 ม.2/2 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 1.2 ม.2/1
ม.2/3
-พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1
ม.2/2
-พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ตรวจใบงาน
-ใบงาน /
ศ 2.1 ม.2/2 -พฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม/
รายบุคคล
1.มีวินัย
2.ซื่อสัตย์สุจริต
3.ใฝ่เรียนรู้
-สังเกตความมีวินัย
ซื่อสัตย์สุจริต
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
อยู่อย่างพอเพียง
และมีจิตสาธารณะ
-ใบงาน /
4.มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
-ตรวจใบงาน
วิเคราะห์การวัดและประเมินผลระหว่างภาค (KPA) และ ปลายภาค การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง
ข้อ
ตัวชี้วัด
ประเมิน
ระหว่างภาค
ประเมิน
ปลาย
ภาค
การประเมิน
K P A
การอ่
า
น
คิ
ด
วิ
เ
คราะห์
เขี
ย
นสื
่
อ
ความ
1. ศ 1.1 ม.2/1 3 5 1 2 / / /
2. ศ 1.1 ม.2/2 3 5 1 2 / / /
3. ศ 1.1 ม.2/3 3 5 2 2 / / /
4. ศ 1.1 ม.2/6 3 5 2 2 / / /
5. ศ 1.1 ม.2/7 2 5 2 2 / / /
6. ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 2 5 2 2 / / /
7. ศ 1.2 ม.2/2 2 5 2 2 / / /
8 ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 2 5 2 2 / / /
9 ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2
2 2 1 2 / / /
10 ศ 2.1 ม.2/2 2 3 1 2 / / /
รวมคะแนนดิบ 24 45 16 20 / / /
รวมระหว่างภาคและปลายภาค 80 20 / / /
รวมทั้งหมด 100
การวางแผนการออกข้อสอบปลายภาค (Test Blueprint)
รหัสวิชา ศ33101 รายวิชา ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ความรู้
ความจำ
ความ
เข้าใจ
การ
นำไปใช้
วิเคราะ
ห์
ประเมิน
ค่า
สังเคราะ
ห์
สร้างสรร
ค์ จำนวนข้อ
จำนวนข้อ จำนวนข้อ
จำนวน
ข้อ
จำนวน
ข้อ
จำนวนข้อ จำนวนข้อ
ศ 1.1 ม.2/1 1 2 1 1 5
ศ 1.1 ม.2/2 1 2 1 1 5
ศ 1.1 ม.2/3 1 2 1 1 5
ศ 1.1 ม.2/6 1 2 1 1 5
ศ 1.1 ม.2/7 1 2 2 1 6
ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 1 1 1 1 1 5
ศ 1.2 ม.2/2 1 1 1 3
ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 1 1 2
ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2
1 1 2
ศ 2.1 ม.2/2 1 1 2
รวม 10 15 8 6 1 40
แนวทางการวัดและประเมินผลของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2565
อัตราส่วนคะแนนวิชา 80 : 20
คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย
คะแนนรวมระหว่างเรียน (คะแนนตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ทั้งรายวิชา) 80 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติศาสน์กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เกี่ยวข้องข้อที่ 2,3,4,6,8 คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย
2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 6.มุ่งมั่นในการทำงาน 8.มีจิตสาธารณะ
อ่าน คิด วิเคราะห์เขียนสื่อความ
ข้อที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาศิลปะ ได้แก่ ข้อ 1-5
1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการแยกแยะประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่ซับซ้อน
3. อ่านวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะใน
แง่มุมต่างๆ
4. ประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย
5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ
สมเหตุผล
คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย
1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการแยกแยะประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน 20 คะแนน
2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่ซับซ้อน 20 คะแนน
3. อ่านวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะใน
แง่มุมต่างๆ 20 คะแนน
4. ประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย 20 คะแนน
5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ
สมเหตุผล 20 คะแนน
รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 40 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย เวลา 2 คาบ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เวลา 1 คาบ
บูรณาการ
✓ พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ร.10 หลักสูตรต้านทุจริต
✓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สวนพฤกษศาสตร์
อื่น ๆ ระบุ ................................................................................................................................
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าทาง
ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
2.ตัวชี้วัด
ศ1.2 ม.2/2 บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย โดยเน้นถึงแนวคิด
และเนื้อหาของงาน
3.สาระสำคัญ
ผลงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย เป็นงานศิลปะที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นในระยะเวลาที่แตกต่างกัน
ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางความคิด ความเชื่อ คติทางศาสนา สังคม การเมือง การปกครอง และอื่น ๆ
ผลงานทางทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นจำแนกได้เป็น จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม
4.จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความหมายของทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้
สามารถวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยที่มีความแตกต่างกันได้
เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้
5.สาระการเรียนรู้
ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
6.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด อย่างมีวิจารณญาณ
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 ซื่อสัตย์สุจริต
6.2 มีวินัย
6.3 ไฝ่เรียนรู้
6.4 มุ่งมั่นในการทำงาน
8.ชิ้นงานหรือภาระงาน
-ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
9. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัดและประเมิน เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้(K)
อธิบายความหมายของ
ทัศนศิลป์ของไทยในแต่
ละยุคสมัยได้
ตรวจใบงาน แบบประเมินผลงานใบ
งาน
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60
2.ด้านกระบวนการ(P)
สามารถวิเคราะห์งาน
ทัศนศิลป์ของไทยในแต่
ละยุคสมัยที่มีความ
แตกต่างกันได้
สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60
3.ด้านเจตคติ(A)
เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์
ของไทยในแต่ละยุคสมัย
ได้
สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงาน
อยู่ในระดับดีขึ้นไป
10. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำ
1. คุณครูได้ชี้แจงในนักเรียนรู้ว่าวันนี้นั้นเรียนเรื่องอะไร
2. ให้นักเรียนเปิดหนังสือไปยังบทเรียนที่คุณครูจะทำการสอน
ขั้นสอน
3. คุณครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยว่ามีอะไรบ้าง เพื่อให้นักเรียนเข้าใจใน
เนื้อหาในบทเรียน
4. คุณครูให้สื่อการสอนหรือดูภาพประกอบในงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยว่าเป็นอย่างไร
5. คุณครูได้ให้ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย ให้นักเรียนทำในชั่วโมงเรียน
ขั้นสรุป
6. คุณครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาสำคัญในเรื่องทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
11. สื่อ/นวัตกรรมการสอน
- หนังสือเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
- ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
12.บันทึกหลังสอน
1. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K : P : A) จำนวน 390 คน
ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K ) อธิบายความหมายของทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้
- ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 76.92
- ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 17.18
- ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 5.90
ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (P) สามารถวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยที่มีความแตกต่างกันได้
- ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 306 คน คิดเป็นร้อยละ 78.46
- ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 17.69
- ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 5.38
ผลที่เกิดกับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้
- ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 86.15
- ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51
- ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
2. ปัญหาและอุปสรรค
- ผู้เรียนขาดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และการวางแผนในการปฏิบัติงาน
3. แนวทางแก้ไข
- ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จัดการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ ความรู้ด้วย
ตนเองให้มากขึ้น
- ผู้เรียนฝึกการวางแผนการทำงาน ปฏิบัติตามแผนหรือขั้นตอนการทำงาน
- ผู้เรียนฝึกการประเมินผลสำเร็จของผลงานด้วยตนเอง
4. ข้อเสนอแนะ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- จัดหาหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหา กิจกรรม
- วัดประเมินผลให้ครอบคลุม และรอบด้าน
ลงชื่อ........................................ผู้สอน
( นายวินัย ท่อกระโทก )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
13 ภาคผนวก
ใบความรู้ที่ 7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
1. ผลงานทัศนศิลป์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่มีการใช้ตัวอักษร การดำรงชีวิตแบบเรียบง่าย อาศัยในถ้ำ เพิงผา ล่าสัตว์ซึ่ง
ผลงานทัศนศิลป์ก่อนประวัติศาสตร์ แบ่งย่อยออกได้ ดังนี้
1.1 ยุคหิน
อยู่ช่วงเวลาระหว่าง 700,000 – 3,500 ปีล่วงมาแล้ว เป็นมนูษย์ที่ดำรงชีวิตด้วยการล่าสํตว์โดยประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ทำมา
จากหิน มีการทำเครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดัปที่ตกแต่งด้วยหินใช้ในชีวิตประจำวันด้วย แต่ในช่วงยุคหินตอนปลาย ที่มนุษย์รู้จัก
ตั้งแต่บ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง มีการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ขึ้นมาหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นการกระทำ
เครื่องจักสาน การทอผ้า
1.2 ยุคโลหะ
อยู่ช่วงเวลาระหว่าง 3,500 ปีก่อนพุทธศตวรรษที่12 ได้เปลี่ยนวัสดุจากที่เคยใช้หินก็พัฒนาเป็นโลหะ มีการทำเครื่องมือ
เครื่องใช้จากโลหะ รวมทั้งการสร้างสรรค์ผลงงานทัศนศิลป์อีกด้วย เช่น ด้านประติมากรรมเครื่องปั้นดินเผาที่มีการนำความรู้ในด้าน
ทัศนศิลป์มาสร้างสรรค์ให้เกิดความปราณีตสวยงาม ด้านจิตรกรรมมีการวาดภาพโดยใช้สีจากธรรมชาติ อาทิ เลือดของสัตว์ เปลือก
ไม้ โดยผู้คนสมัยนั้นจะนำสีแดงมาเขียนรูปต่างๆ เช่น คน สัตว์ เครื่องใช้ โดยจะเขียนใว้บริเวณถ้ำ ภาพเขียนที่สำคัญพบที่ ผาแต้ม
เกร็ตความรู้
ผลงานจิตรกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า จิตรกร
ผลงานประติมากรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า ประติมากร
ผลงานสถาบัตยกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า วิศวะกร
2. ผลงานทัศนศิลป์สมัยประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัย
2.1 สมัยทวารวดี (พุทธศักราชที่ 11-16)
สมัยทวารวดี ส่วนมากจะได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธนิกายเถรวาท จึงทำให้ส่วนใหญ่จะมีการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ในแนวคิดและเนื้อหาที่เกี่ยวกับศาสนา รูปแบบลักษณะถึงการได้รับอิทธิพลจากศิลปะอินเดีย
2.2 สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 12-18)
ลพบุรีหรือละโว้ ช่วงแรกได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทตามอย่างอาณาจักรทวารวดี ภายหลังอยู่ภายใต้
อิทธิพลของขอม จึงส่งผลให้พุทธศาสนานิกายมหายาน และศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เข้ามามีบทบาทแทนที่ผลงานทัศิลป์ที่สร้างขึ้น
ในช่วงหลัง
2.3 สมัยเชียงแสนและสมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที่ 12-25)
สมัยเชียงแสนแต่เดิมมีศูนย์กลางอยู่ภายในเขตอำเภอเชียงแสน ได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธศาสนานิกายเถรวาท จึงทำให้
ผลงานทางด้านทัศนศิลป์สมัยเชียงแสนทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมมีการสะท้อนถึงศาสนาที่ได้นับถือ
2.4 สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่13-19)
ศรีวิชัย ได้รับอิทธิพลมากจากอินเดีย จึงทำให้ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ของอาณาจักรศรีวิชัยเท่าที่มีอยู่ จะเป็นผลงาน
ทางด้านพระพุทธศาสนาทั้งนิกายมหายานและนิกายเถรวาทที่เด่นๆอาทิ พระบรมธาตุไชยา
3. ผลงานทัศนศิลป์สมัยสุโขทัย
ได้รับอิทธิพลจากการนับถือศาสนาและแบบอย่างศิลปกรรมจากพวกขอม ผลงานจะได้รับอิทธิพลมาการศาสนาพุทธนิกายเถร
วาทลัทธิ์ลังกาวงศ์ ซึ่งสามารถจำแนกผลงานในแต่ละด้านได้ ดังนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม ในสมัยสุโขทัย ภาพจิตรกรรมมีทั้งภาพลายเส้นและภาพเขียนสี โดยเฉพาะการเขียนภาพลายเส้นสลักบนแผ่น
หินชนวน ประดับมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย
3.2 ด้านประติมากรรม มีผลงานประดิษฐ์เครื่องสังคโลก ที่นอกเหนือจากเคริ่องปั้นดินเผาดั่งเดิม
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม มีสถาปัตยกรรม ที่ประกอบไปด้วย เจดีย์ อาคาร วิหาร อุโบสถ
4.ผลงานทัศนศิลป์สมัยอยุธยา
4.1 ด้านงานจิตรกรรม มีภาพวาดจิตรกรรมในสมุดข่อย สมัยอยุธยา เกี่ยวกับพุทธประวัติ และไตรภูมิ สีส่วนใหญ่ที่ใช่จะเป็นสี
แดง ดำ และขาว
4.2 ด้านประติมากรรม จะมีการสร้างพระพุทธรูปหลายแบบ ซึ่งสามรถจำแนกได้ดังนี้
4.2.1 พระพุทธรูปแบบทวารวดีผสมเขมร
4.2.2 พระพุทธรูปแบบอู่ทอง
4.2.3 พระพุทธรูปแบบอยุธยา
5.ผลงานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
5.1 ด้านจิตรกรรม จะมีภาพวาดบุษบาชมสวน ผลงานของจักรพันธุ์ โปษยกฤต ที่นำเสนอผลงานตามแนวศิลปะไทยแบบเดิม
ใบงานทึ่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย
เครื่องเบญจรงค์
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกWoodyThailand
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 

What's hot (20)

Sound
SoundSound
Sound
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
กิจกรรมแนะแนว ม.5
กิจกรรมแนะแนว ม.5กิจกรรมแนะแนว ม.5
กิจกรรมแนะแนว ม.5
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf

6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะnang_phy29
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่Nichakorn Sengsui
 
Supervision in the classroom
Supervision in the classroomSupervision in the classroom
Supervision in the classroompeter dontoom
 
Supervision in the classroom
Supervision in the classroomSupervision in the classroom
Supervision in the classroompeter dontoom
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานpeter dontoom
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001Kasem Boonlaor
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf (20)

6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
Supervision in the classroom
Supervision in the classroomSupervision in the classroom
Supervision in the classroom
 
Supervision in the classroom
Supervision in the classroomSupervision in the classroom
Supervision in the classroom
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
Sar2555 1
Sar2555 1Sar2555 1
Sar2555 1
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
ป2 2 (1)
ป2 2 (1)ป2 2 (1)
ป2 2 (1)
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ21101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดย นายวินัย ท่อกระโทก ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดย นายวินัย ท่อกระโทก ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
  • 3. บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ที่ ...................วันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เรื่อง ส่งวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ ตามที่ข้าพเจ้านายวินัย ท่อกระโทก ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2565 ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์ จำนวน 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา เพื่อ นำไปสู่การวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา .................................................... ( นายวินัย ท่อกระโทก) ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระฯ ( ) ทราบ ( ) อื่น ๆ ................. ............................................................................. (...............................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ( ) ทราบ ( ) อื่น ๆ .................................................. ........................................................................................ (นางสาวสุภาพรรณ์ หลงทะเล) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา ( ) ทราบ ( ) อื่น ๆ ........................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... (นายไกรศร ทองมูลชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ
  • 4. คำนำ กระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2552 และใช้ในโรงเรียนทั่วไป ในปีการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ พ.ศ. 2561 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการ สอน และเพื่อให้กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรระดับชั้นเรียน รหัสวิชาศ22101 รายวิชาศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 ที่ข้าพเจ้าจัดทำขึ้น ข้าพเจ้าได้ วิเคราะห์ตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุ เป้าหมายของหลักสูตร ( นายวินัย ท่อกระโทก) ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
  • 5. คำอธิบายรายวิชา ศ22101 วิชาศิลปะ รายวิชา พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา อธิบาย และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทัศนธาตุ ในด้านรูปแบบและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือน ความ แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เทคนิคการวาดภาพสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ การ วาดภาพบุคลิกลักษณะของตัวละคร การใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาโน้มน้าวใจและนำเสนอตัวอย่างประกอบ ประเมินและ วิจารณ์งานทัศนศิลป์ นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนางาน แลจัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์และงานออกแบบใน วัฒนธรรมไทยและสากลในแต่ละยุคสมัยองค์ประกอบของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ รวมถึงวัฒนธรรมโคราช ดนตรีใน วัฒนธรรมต่างประเทศ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทางดนตรี อ่าน เขียน ร้องโน้ตเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทาง ดนตรีไทยและดนตรีสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสื่อสาร กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพื่อให้รู้ เข้าใจ และแสดงออก ถึงศิลปวัฒนธรรม ด้วยความรัก หวงแหน ร่วมอนุรักษ์สืบสาน นำ ความรู้และทักษะที่ตนถนัดและสนใจ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ชื่นชม เห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล รหัสตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7 ศ 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2 ศ 2.2 ม.2/1, ม.2/2 รวม 14 ตัวชี้วัด
  • 6. โครงสร้างรายวิชา ศ22101 วิชาศิลปะ รายวิชา พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) คะแนน 1 รูปแบบทัศน ธาตุและ แนวคิดในงาน ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/1 ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบสำคัญของงานทัศนศิลป์ การ วิเคราะห์รูปแบบทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ จะ ช่วยให้สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้ถูกต้อง และสวยงาม 5 10 2 รูปแบบการใช้ วัสดุอุปกรณ์ใน งานทัศนศิลป์ ของศิลปิน ศ 1.1 ม.2/2 การเปรียบเทียบความเหมือน และความแตกต่างของรูปแบบ การใช้วัสดุอุปกรณ์ของศิลปินนั้น จะเป็นประโยชน์ต่อการ นำไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนาผลงานทัศนศิลป์ของเรา 4 10 3 การวาดภาพสื่อ ความหมายและ เรื่องราว ศ 1.1 ม.2/3 การเรียนรู้เทคนิคต่างๆ ในการวาดภาพ จะช่วยให้สามารถ วาดภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำให้ผลงานที่ สร้างสรรค์ออกมาเกิดความน่าประทับใจ 4 10 4 การวาด ภาพถ่ายทอด บุคลิกลักษณะ ของตัวละคร ศ 1.1 ม.2/6 การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะของตัวละคร เป็นเทคนิค การวาดภาพที่ต้องอาศัยการช่างสังเกต โดยจับลักษณะเด่น หรือลักษณะด้อยของตัวละคร แล้วนำมาถ่ายทอดเป็นภาพที่ เป็นลักษณะจำเพาะของตัวละครตัวนั้น 4 10 5 งานทัศนศิลป์ ในการโฆษณา ศ 1.1 ม.2/7 การเรียนรู้วิธีการออกแบบโฆษณา ทำให้สามารถบรรยาย วิธีการใช้งานทัศนศิลป์ในการทำโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อโน้มน้าวใจ และนำความรู้ไปสร้างสรรค์งานโฆษณาใน รูปแบบโปสเตอร์ได้ถูกต้องงดงาม และมีประสิทธิภาพ 4 10
  • 7. 6 การประเมิน และวิจารณ์ งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ช่วยสะท้อนทัศนะ ความรู้สึก ความคิดเห็นที่ผู้ชมมีต่อผลงานที่ได้พบเห็น และ ผลจากการวิจารณ์ผู้สร้างสรรค์ผลงานควรเก็บเอาสาระสำคัญ ที่เป็นประโยชน์นำไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาผลงานให้มี ความก้าวหน้าต่อไป 4 10 7 ทัศนศิลป์ของ ไทยในแต่ละยุค สมัย ศ 1.2 ม.2/2 ผลงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นมาในแต่ละยุคสมัย จะแสดง ให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางความคิด ความเชื่อ คติทางศาสนา สังคม การเมือง การปกครอง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ให้แตกต่างไปจากเดิมบ้าง จนกลายเป็นรูปแบบเฉพาะของ สมัยนั้นๆ 4 5 8 วัฒนธรรมใน งานทัศนศิลป์ ปัจจุบัน ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 การเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมในงานทัศนศิลป์ จะช่วยให้เกิด ความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างๆ ที่สะท้อนอยู่ในงานทัศนศิลป์ และยังสามารถทำให้เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงาน ทัศนศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรมไทยและสากลได้ 4 5 9 ดนตรีกับสังคม และวัฒนธรรม ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ดนตรีจัดเป็นศิลปะทางวัฒนธรรมที่มีองค์ประกอบของสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกันอีกทั้งยังสะท้อน ให้เห็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมนั้นๆ 3 5 10 เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางดนตรี ศ 2.1 ม.2/2 การเรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ทำให้ สามารถเขียน อ่าน และร้องได้ถูกต้อง ตามทำนองและจังหวะ ของเพลง 3 5 สอบปลายภาค 1 20 รวมตลอดภาคเรียน 40 100
  • 8. วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์(พื้นฐาน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2565 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยที่ / สัปดาห์ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดประสงค์ การเรียนรู้/ ผลการ เรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้ สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ ชิ้นงาน/ ภาระงาน ระยะเวลา (ชั่วโมง) การประเมิน 1 ปฐมนิเทศ - - บรรยาย - - 1 - หน่วยที่ 1 /2-3 รูปแบบทัศน ธาตุและ แนวคิดในงาน ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/1 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ทัศนธาตุ เป็น องค์ประกอ บสำคัญของ งาน ทัศนศิลป์ การ วิเคราะห์ รูปแบบทัศน ธาตุและ แนวคิดใน งาน ทัศนศิลป์ จะช่วยให้ สร้างสรรค์ ผลงาน ทัศนศิลป์ได้ ถูกต้อง และ สวยงาม บรรยาย เกี่ยวกับ ทัศนธาตุใน ด้าน รูปแบบ และ แนวคิดของ งาน ทัศนศิลป์ที่ เลือกมา -วิธีสอน โดยเน้น กระบวนกา รปฏิบัติ - กระบวนกา สื่อการ สอน/ หนังสือ ระดับชั้น มัธยมศึกษ าปีที่2 ใบงานที่ 1.1 รูปแบบ ทัศนธาตุ และ แนวคิดใน งาน ทัศนศิลป์ ใบงานที่ 1.2 รูปแบบ ทัศนธาตุ และ แนวคิดใน งาน ทัศนศิลป์ 2 -ตรวจใบ งาน
  • 9. รปฏิบัติวิธี สอน โดยใช้การ สาธิต หน่วยที่ 2/4-5 รูปแบบการใช้ วัสดุอุปกรณ์ ในงาน ทัศนศิลป์ของ ศิลปิน ศ 1.1 ม.2/2 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน บรรยาย เกี่ยวกับ ความ เหมือนละ ความ แตกต่างของ รูปแบบการ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ใน งาน ทัศนศิลป์ ของศิลปิน บรรยาย ความ เหมือนและ ความ แตกต่าง ของ รูปแบบ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ใน งาน ทัศนศิลป์ ของศิลปิน -วิธีสอน โดยเน้น กระบวนกา รปฏิบัติ - กระบวนกา รปฏิบัติวิธี สอน โดยใช้การ สาธิต สื่อการ สอน/ หนังสือ ระดับชั้น มัธยมศึกษ าปีที่2 ใบงานที่ 2 รูปแบบ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ใน งาน ทัศนศิลป์ ของศิลปิน 2 -ตรวจใบ งาน
  • 10. หน่วยที่ 3/6-7 การวาดภาพ สื่อความหมาย และเรื่องราว ศ 1.1 ม.2/3 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน อธิบายการ วาดภาพ ด้วยเทคนิค ที่ หลากหลาย ในการสื่อ ความหมาย และ เรื่องราว บรรยาย ภาพที่ผู้ สร้างสรรค์ วาดออกมา นั้น นอกจาก จะแสดงถึง ความ สวยงาม น่าดูชม แล้ว ภาพ จำนวนมาก ยังสามารถ แสดง อารมณ์ บอกเล่า ความหมาย และ เรื่องราว ต่างๆที่ เกิดขึ้น -วิธีสอน โดยเน้น กระบวนกา รปฏิบัติ - กระบวนกา สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ มัธยมศึกษ าปีที่2 ใบงานที่ 3.1 การวาด ภาพสื่อ ความหมาย และ เรื่องราว ใบงานที่ 3.2 การ น้ำหนัก อ่อน-แก่ ของสี โปสเตอร์ 2 -ตรวจใบ งาน
  • 11. รปฏิบัติวิธี สอน โดยใช้การ สาธิต หน่วยที่ 4/8-9 การวาด ภาพถ่ายทอด บุคลิกลักษณะ ของตัวละคร ศ 1.1 ม.2/6 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน วาดภาพ แสดง บุคลิกลักษ ณะของตัว ละคร บรรยาย การวาด ภาพถ่าย ทอด บุคลิกลักษ ณะของตัว ละคร เป็น เทคนิคการ วาดภาพที่ ต้องอาศัย การสังเกต โดยจับ ลักษณะ เด่นหรือ ลักษณะ ด้อยของตัว ละครแล้ว นำมา ถ่ายทอด เป็นภาพ ที่ป็น ลักษณะ จำเพาะ สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ มัธยมศึกษ าปีที่2 ใบงานที่ 4 การวาด ภาพถ่าย ทอด บุคลิกลักษ ณะของตัว ละคร 2 -ตรวจใบ งาน
  • 12. ของตัว ละครตัว นั้น -วิธีสอน โดยเน้น กระบวนกา รปฏิบัติ - กระบวนกา รปฏิบัติวิธี สอน โดยใช้การ สาธิต หน่วยที่ 5/10- 11 งานทัศนศิลป์ ในการโฆษณา ศ 1.1 ม.2/7 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ งาน ทัศนศิลป์ใน การโฆษณา บรรยาย วิธีการใช้ ทัศนศิลป์ ในการ โฆษณา เพื้อโน้ม น้าวใจ นำเสนอ ตัวอย่าง ประกอบ -วิธีสอน โดยเน้น สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่5 งาน ทัศนศิลป์ ในการ โฆษณา 2 -ตรวจใบ งาน
  • 13. ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน กระบวนกา รปฏิบัติ - กระบวนกา รปฏิบัติวิธี สอน โดยใช้การ สาธิต หน่วยที่ 6/12- 13 การประเมิน และวิจารณ์ งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ สร้างเกณฑ์ ในการ ประเมินและ วิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ นำผลการ วิจารณ์ไป ปรับปรุง แก้ไขและ พัฒนางาน บรรยาย วิธีการ สร้างเกณฑ์ ในการ ประเมิน และ วิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ นำผลการ วิจารณ์ไป ปรับปรุง แก้ไขและ พัฒนางาน สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่ 6 การ ประเมิน และ วิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ 2 -ตรวจใบ งาน
  • 14. ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน หน่วยที่ 7/14- 15 ทัศนศิลป์ของ ไทยในแต่ละ ยุคสมัย ศ 1.2 ม.2/2 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน งาน ทัศนศิลป์ ของไทยใน แต่ละยุค สมัย บรรยายถึง การเปลี่ยน แปลงของ งาน ทัศนศิลป์ ของไทยใน แต่ละยุค สมัย โดย เน้นถึง แนวคิด และเนื้อหา ของงาน สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่ 7 ทัศนศิลป์ ของไทยใน แต่ละยุค สมัย 2 -ตรวจใบ งาน หน่วยที่ 8/16- 17 วัฒนธรรมใน งานทัศนศิลป์ ปัจจุบัน ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ตาม จินตนาการ และความคิด วัฒนธรรมที่ สะท้อนใน งาน ทัศนศิลป์ ปัจจุบัน การ ออกแบบ บรรยาย เกี่ยวกับ วัฒนธรรม ต่างๆที่ สะท้อนถึง งาน ทัศนศิลป์ สื่อการ สอน/ หนังสือ ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่ 8 วัฒนธรรม ในงาน ทัศนศิลป์ ปัจจุบัน 2 -ตรวจใบ งาน
  • 15. สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อ งานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน งาน ทัศนศิลป์ใน วัฒนธรรม ไทยและ สากล ในปัจจุบัน และ เปรียบเทีย บแนวคิด ในการ ออกแบบ งาน ทัศนศิลป์ ที่มาจาก วัฒนธรรม ไทยและ สากล หน่วยที่ 1/18- 19 ดนตรีกับสังคม และวัฒนธรรม ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 เปรียบเทียบ การใช้ องค์ประกอบ ดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรม ต่างๆ อ่าน เขียนร้อง โน็ตไทยและ โน้ตสากลที่มี ดนตรี จัดเป็น ศิลปะทาง วัฒนธรรมที่ มี องค์ประกอ บของสังคม วัฒนธรรม และ ประวัติศาส ตร์ เข้าไว้ ด้วยกันอีก ทั้งยัง สะท้อนให้ สื่อการ สอน/ หนังสือ ดนตรี ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่ 9 ดนตรีกับ สังคม และ วัฒนธรรม 2 -ตรวจใบ งาน
  • 16. เครื่องหมาย แปลงเสียง ระบุปัจจัย สำคัญที่มี อิทธิพลต่อการ สร้างสรรค์งาน ดนตรี เห็นเรื่องราว ที่เกิดขึ้นใน วัฒนธรรม นั้นๆ หน่วยที่ 2/20 เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางดนตรี ศ 2.1 ม.2/2 การเรียนรู้ เกี่ยวกับ เครื่องหมาย และ สัญลักษณ์ ทางดนตรี ทำให้ สามารถ เขียน อ่าน และร้องได้ ถูกต้อง ตาม ทำนองและ จังหวะของ เพลง สื่อการ สอน/ หนังสือ ดนตรี ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่2 ใบงานที่10 เครื่องหมา ยและ สัญลักษณ์ ทางดนตรี 1 -ตรวจใบ งาน
  • 17. วิเคราะห์การวัดผลและประเมินผล รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2565 เวลา 40 ชั่วโมง ช่วงเวลาประเมิน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ พฤติกรรม/ สิ่งที่มุ่งวัดผล วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน ระหว่ า งภาค ปลายภาค ศ 1.1 ม.2/1 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 1.1 ม.2/2 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 1.1 ม.2/3 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน -ใบงาน /
  • 18. 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน ศ 1.1 ม.2/6 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 1.1 ม.2/7 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน /
  • 19. ศ 1.2 ม.2/2 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ 4.มุ่งมั่นในการ ทำงาน -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ตรวจใบงาน -ใบงาน / ศ 2.1 ม.2/2 -พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล 1.มีวินัย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.ใฝ่เรียนรู้ -สังเกตความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ -ใบงาน /
  • 21. วิเคราะห์การวัดและประเมินผลระหว่างภาค (KPA) และ ปลายภาค การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง ข้อ ตัวชี้วัด ประเมิน ระหว่างภาค ประเมิน ปลาย ภาค การประเมิน K P A การอ่ า น คิ ด วิ เ คราะห์ เขี ย นสื ่ อ ความ 1. ศ 1.1 ม.2/1 3 5 1 2 / / / 2. ศ 1.1 ม.2/2 3 5 1 2 / / / 3. ศ 1.1 ม.2/3 3 5 2 2 / / / 4. ศ 1.1 ม.2/6 3 5 2 2 / / / 5. ศ 1.1 ม.2/7 2 5 2 2 / / / 6. ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 2 5 2 2 / / / 7. ศ 1.2 ม.2/2 2 5 2 2 / / / 8 ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 2 5 2 2 / / / 9 ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 2 2 1 2 / / / 10 ศ 2.1 ม.2/2 2 3 1 2 / / / รวมคะแนนดิบ 24 45 16 20 / / / รวมระหว่างภาคและปลายภาค 80 20 / / / รวมทั้งหมด 100
  • 22. การวางแผนการออกข้อสอบปลายภาค (Test Blueprint) รหัสวิชา ศ33101 รายวิชา ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ความรู้ ความจำ ความ เข้าใจ การ นำไปใช้ วิเคราะ ห์ ประเมิน ค่า สังเคราะ ห์ สร้างสรร ค์ จำนวนข้อ จำนวนข้อ จำนวนข้อ จำนวน ข้อ จำนวน ข้อ จำนวนข้อ จำนวนข้อ ศ 1.1 ม.2/1 1 2 1 1 5 ศ 1.1 ม.2/2 1 2 1 1 5 ศ 1.1 ม.2/3 1 2 1 1 5 ศ 1.1 ม.2/6 1 2 1 1 5 ศ 1.1 ม.2/7 1 2 2 1 6 ศ 1.1 ม.2/4 ม.2/5 1 1 1 1 1 5 ศ 1.2 ม.2/2 1 1 1 3 ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/3 1 1 2 ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 1 1 2 ศ 2.1 ม.2/2 1 1 2 รวม 10 15 8 6 1 40
  • 23. แนวทางการวัดและประเมินผลของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2565 อัตราส่วนคะแนนวิชา 80 : 20 คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย คะแนนรวมระหว่างเรียน (คะแนนตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ทั้งรายวิชา) 80 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติศาสน์กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เกี่ยวข้องข้อที่ 2,3,4,6,8 คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.มีวินัย 4.ใฝ่เรียนรู้ 6.มุ่งมั่นในการทำงาน 8.มีจิตสาธารณะ อ่าน คิด วิเคราะห์เขียนสื่อความ ข้อที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาศิลปะ ได้แก่ ข้อ 1-5 1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการแยกแยะประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่ซับซ้อน 3. อ่านวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะใน แง่มุมต่างๆ
  • 24. 4. ประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย 5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ สมเหตุผล คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย 1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการแยกแยะประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน 20 คะแนน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่ซับซ้อน 20 คะแนน 3. อ่านวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะใน แง่มุมต่างๆ 20 คะแนน 4. ประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย 20 คะแนน 5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ สมเหตุผล 20 คะแนน
  • 25. รหัสวิชา ศ22101 รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศิลป์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 40 คาบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย เวลา 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เวลา 1 คาบ บูรณาการ ✓ พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ร.10 หลักสูตรต้านทุจริต ✓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สวนพฤกษศาสตร์ อื่น ๆ ระบุ ................................................................................................................................ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าทาง ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล 2.ตัวชี้วัด ศ1.2 ม.2/2 บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย โดยเน้นถึงแนวคิด และเนื้อหาของงาน 3.สาระสำคัญ ผลงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย เป็นงานศิลปะที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นในระยะเวลาที่แตกต่างกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางความคิด ความเชื่อ คติทางศาสนา สังคม การเมือง การปกครอง และอื่น ๆ ผลงานทางทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นจำแนกได้เป็น จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม 4.จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 26. อธิบายความหมายของทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้ สามารถวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยที่มีความแตกต่างกันได้ เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้ 5.สาระการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 6.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด อย่างมีวิจารณญาณ 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ซื่อสัตย์สุจริต 6.2 มีวินัย 6.3 ไฝ่เรียนรู้ 6.4 มุ่งมั่นในการทำงาน 8.ชิ้นงานหรือภาระงาน -ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดและประเมิน เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้(K) อธิบายความหมายของ ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ ละยุคสมัยได้ ตรวจใบงาน แบบประเมินผลงานใบ งาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60
  • 27. 2.ด้านกระบวนการ(P) สามารถวิเคราะห์งาน ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ ละยุคสมัยที่มีความ แตกต่างกันได้ สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60 3.ด้านเจตคติ(A) เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์ ของไทยในแต่ละยุคสมัย ได้ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป 10. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำ 1. คุณครูได้ชี้แจงในนักเรียนรู้ว่าวันนี้นั้นเรียนเรื่องอะไร 2. ให้นักเรียนเปิดหนังสือไปยังบทเรียนที่คุณครูจะทำการสอน ขั้นสอน 3. คุณครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยว่ามีอะไรบ้าง เพื่อให้นักเรียนเข้าใจใน เนื้อหาในบทเรียน 4. คุณครูให้สื่อการสอนหรือดูภาพประกอบในงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยว่าเป็นอย่างไร 5. คุณครูได้ให้ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย ให้นักเรียนทำในชั่วโมงเรียน ขั้นสรุป 6. คุณครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาสำคัญในเรื่องทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 11. สื่อ/นวัตกรรมการสอน - หนังสือเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
  • 28. - ใบงานที่7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 12.บันทึกหลังสอน 1. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K : P : A) จำนวน 390 คน ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K ) อธิบายความหมายของทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้ - ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 76.92 - ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 17.18 - ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 5.90 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (P) สามารถวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยที่มีความแตกต่างกันได้ - ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 306 คน คิดเป็นร้อยละ 78.46 - ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 17.69 - ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 5.38 ผลที่เกิดกับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) เห็นคุณค่าในทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยได้ - ผู้เรียนที่ในระดับ ดี จำนวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 86.15 - ผู้เรียนที่ในระดับ พอใช้ จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51 - ผู้เรียนที่ในระดับ ปรับปรุง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 2. ปัญหาและอุปสรรค - ผู้เรียนขาดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และการวางแผนในการปฏิบัติงาน 3. แนวทางแก้ไข - ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จัดการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ ความรู้ด้วย ตนเองให้มากขึ้น - ผู้เรียนฝึกการวางแผนการทำงาน ปฏิบัติตามแผนหรือขั้นตอนการทำงาน - ผู้เรียนฝึกการประเมินผลสำเร็จของผลงานด้วยตนเอง
  • 29. 4. ข้อเสนอแนะ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย - จัดหาหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหา กิจกรรม - วัดประเมินผลให้ครอบคลุม และรอบด้าน ลงชื่อ........................................ผู้สอน ( นายวินัย ท่อกระโทก ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
  • 30. 13 ภาคผนวก ใบความรู้ที่ 7 ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย 1. ผลงานทัศนศิลป์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่มีการใช้ตัวอักษร การดำรงชีวิตแบบเรียบง่าย อาศัยในถ้ำ เพิงผา ล่าสัตว์ซึ่ง ผลงานทัศนศิลป์ก่อนประวัติศาสตร์ แบ่งย่อยออกได้ ดังนี้ 1.1 ยุคหิน อยู่ช่วงเวลาระหว่าง 700,000 – 3,500 ปีล่วงมาแล้ว เป็นมนูษย์ที่ดำรงชีวิตด้วยการล่าสํตว์โดยประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ทำมา จากหิน มีการทำเครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดัปที่ตกแต่งด้วยหินใช้ในชีวิตประจำวันด้วย แต่ในช่วงยุคหินตอนปลาย ที่มนุษย์รู้จัก ตั้งแต่บ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง มีการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ขึ้นมาหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นการกระทำ เครื่องจักสาน การทอผ้า 1.2 ยุคโลหะ อยู่ช่วงเวลาระหว่าง 3,500 ปีก่อนพุทธศตวรรษที่12 ได้เปลี่ยนวัสดุจากที่เคยใช้หินก็พัฒนาเป็นโลหะ มีการทำเครื่องมือ เครื่องใช้จากโลหะ รวมทั้งการสร้างสรรค์ผลงงานทัศนศิลป์อีกด้วย เช่น ด้านประติมากรรมเครื่องปั้นดินเผาที่มีการนำความรู้ในด้าน ทัศนศิลป์มาสร้างสรรค์ให้เกิดความปราณีตสวยงาม ด้านจิตรกรรมมีการวาดภาพโดยใช้สีจากธรรมชาติ อาทิ เลือดของสัตว์ เปลือก ไม้ โดยผู้คนสมัยนั้นจะนำสีแดงมาเขียนรูปต่างๆ เช่น คน สัตว์ เครื่องใช้ โดยจะเขียนใว้บริเวณถ้ำ ภาพเขียนที่สำคัญพบที่ ผาแต้ม เกร็ตความรู้ ผลงานจิตรกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า จิตรกร ผลงานประติมากรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า ประติมากร ผลงานสถาบัตยกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานเรียกว่า วิศวะกร 2. ผลงานทัศนศิลป์สมัยประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัย 2.1 สมัยทวารวดี (พุทธศักราชที่ 11-16) สมัยทวารวดี ส่วนมากจะได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธนิกายเถรวาท จึงทำให้ส่วนใหญ่จะมีการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ในแนวคิดและเนื้อหาที่เกี่ยวกับศาสนา รูปแบบลักษณะถึงการได้รับอิทธิพลจากศิลปะอินเดีย 2.2 สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 12-18) ลพบุรีหรือละโว้ ช่วงแรกได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทตามอย่างอาณาจักรทวารวดี ภายหลังอยู่ภายใต้ อิทธิพลของขอม จึงส่งผลให้พุทธศาสนานิกายมหายาน และศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เข้ามามีบทบาทแทนที่ผลงานทัศิลป์ที่สร้างขึ้น ในช่วงหลัง 2.3 สมัยเชียงแสนและสมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที่ 12-25) สมัยเชียงแสนแต่เดิมมีศูนย์กลางอยู่ภายในเขตอำเภอเชียงแสน ได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธศาสนานิกายเถรวาท จึงทำให้ ผลงานทางด้านทัศนศิลป์สมัยเชียงแสนทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมมีการสะท้อนถึงศาสนาที่ได้นับถือ 2.4 สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่13-19) ศรีวิชัย ได้รับอิทธิพลมากจากอินเดีย จึงทำให้ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ของอาณาจักรศรีวิชัยเท่าที่มีอยู่ จะเป็นผลงาน ทางด้านพระพุทธศาสนาทั้งนิกายมหายานและนิกายเถรวาทที่เด่นๆอาทิ พระบรมธาตุไชยา
  • 31. 3. ผลงานทัศนศิลป์สมัยสุโขทัย ได้รับอิทธิพลจากการนับถือศาสนาและแบบอย่างศิลปกรรมจากพวกขอม ผลงานจะได้รับอิทธิพลมาการศาสนาพุทธนิกายเถร วาทลัทธิ์ลังกาวงศ์ ซึ่งสามารถจำแนกผลงานในแต่ละด้านได้ ดังนี้ 3.1 ด้านจิตรกรรม ในสมัยสุโขทัย ภาพจิตรกรรมมีทั้งภาพลายเส้นและภาพเขียนสี โดยเฉพาะการเขียนภาพลายเส้นสลักบนแผ่น หินชนวน ประดับมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย 3.2 ด้านประติมากรรม มีผลงานประดิษฐ์เครื่องสังคโลก ที่นอกเหนือจากเคริ่องปั้นดินเผาดั่งเดิม 3.3 ด้านสถาปัตยกรรม มีสถาปัตยกรรม ที่ประกอบไปด้วย เจดีย์ อาคาร วิหาร อุโบสถ 4.ผลงานทัศนศิลป์สมัยอยุธยา 4.1 ด้านงานจิตรกรรม มีภาพวาดจิตรกรรมในสมุดข่อย สมัยอยุธยา เกี่ยวกับพุทธประวัติ และไตรภูมิ สีส่วนใหญ่ที่ใช่จะเป็นสี แดง ดำ และขาว 4.2 ด้านประติมากรรม จะมีการสร้างพระพุทธรูปหลายแบบ ซึ่งสามรถจำแนกได้ดังนี้ 4.2.1 พระพุทธรูปแบบทวารวดีผสมเขมร 4.2.2 พระพุทธรูปแบบอู่ทอง 4.2.3 พระพุทธรูปแบบอยุธยา 5.ผลงานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ 5.1 ด้านจิตรกรรม จะมีภาพวาดบุษบาชมสวน ผลงานของจักรพันธุ์ โปษยกฤต ที่นำเสนอผลงานตามแนวศิลปะไทยแบบเดิม