SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
เรื่องความสา คัญของเทคโนโลยี 
สารสนเทศ
 เทคโนโลยี่สารสนเทศมีความสา คัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น 
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทา ให้การศึกษาง่ายขึ้นและ 
 ไร้ขีดจา กัด ผู้เรียนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจัย 
 2. การดา รงชีวิตประจา วัน ทา ให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็วในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 
ใน 
 ชีวิตประจา วัน สามารถทา งานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรือทา งานใช้เวลาน้อยลง 
 3. การดา เนินธุรกิจ ทา ให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทา ให้ต้องมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ทันกับข้อมูล 
 ข่าวสารอยตู่ลอดเวลา อันส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเน่อืง 
 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพมิ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการติดต่อสื่อสารที่เจริญก้าวหน้า 
ทันสมัย รวดเร็ว 
 ถูกต้องและทา ให้เป็นโลกที่ไร้พรมแดน 
 5. ระบบการทา งานมีคอมพิวเตอร์มาใช้ซื่อสามารถทา งานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทา ไม่ได้ก็ใช้ 
 คอมพิวเตอร์ช่วยทา งานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ว
 1. ฮาร์ดแวร์Hardware 
2. ซอฟต์แวร์ Software 
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริการข้อมูลและติดต่อสื่อสาร
 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 
1. ฮาร์ดแวร์Hardware 
2. ซอฟต์แวร์ Software 
3. ข้อมูล Data 
4. บุคลากร People 
2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและ 
ผู้ใช้งาน Programmer,System Analyst และ User 
 เป็นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์มีหน้าที่เขียน 
โปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ได้ออกแบบไว้ส่วนผู้ใช้จะเป็นกล่มุที่มีอิทธิพลต่อทิศทาง 
ในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด
 3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล 
หน่วยรับข้อมูล ทา หน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ 
คอมพิวเตอร์ 
หน่วยประมวลผล ทา หน้าที่ประมวลผลและควบคุมการ 
ทา งานของระบบคอมพิวเตอร์ทัง้หมด 
หน่วยแสดงผล ทา หน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการ 
ประมวลผลข้อมูล 
หน่วยเก็บข้อมูล ทา หน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการ 
ประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอส่งไปยังหน่วย 
แสดงผล 
4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้มข้อมูล 
5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขัน้ตอน 
1. การรวมบรวมข้อมูล 
2. การประมวลผล 
3. การดูแลรักษา
 1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทา หน้าที่ไม่ว่าจะเป็นการบันทึก การแก้ไข การทา 
รายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความสะดวกรวดเร็วในการทา งานและยังช่วยเป็น 
ข้อมูลในการตัดสินใจด้วย 
2. เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กันมากในปัจ 
จุบัน มีประโยชน์ ดังนี้ 
1. สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 
2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผู้อยหู่่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่างรวดเร็วไม่ 
ต้องเสียเวลาในการเดินทาง 
3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์เพราะระบบเครื่อข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ 
ร่วมกันได้ 
4. สามารถทางานร่วมกันได้หรือทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน 
3. เทคโนโลยีสา นักงานอัตโนมัติเป็นระบบการทา งานที่ใช้ระบบการเืืชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 
สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้1. พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E - mail) 
2. สามารถบันทึกแฟ้มเอกสารหรืองานพิมพ์เก็บไว้และสามารถนามาแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ 
ง่าย 
3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็วและใช้งานได้ง่าย 
4. มีระบบฝากข้อความเสียง (Voice Mail) 
5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference) 
4. เทคโนโลยีช่วยสอน CAI ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โรงเรียนและสถานศึกษาก็เรมิ่มีการพัฒนา 
โปรแกรมบทเรียนสา เร็จรูปขึ้นมาใช้และมีผลดีกับนักเรียนที่จะได้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยและมีความน่าสนใจมากขึ้น
 1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคา นึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 
ตามมาด้วย 
2. การวางแผนที่ดีเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับ 
งานและเพื่อประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้รับ 
3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแล ไม่ปล่อยปละ 
ละเลยหรือใช้ในทางที่ผิด 
4. การลงทุน ควรคา นึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับ 
ด้วย หากประโยชน์ที่ได้ไม่ค้มุค่าแกก่ารลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม่ 
5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ข้อมูลซ้า ซ้อน ควรมีการ 
แบ่งปัน 
ข้อมูลเพื่อให้การทา งานร่วมกันมีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กัน 
6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้อง 
มีการดูแลให้สิทธิแก่ผู้ใช้ภายในขอบเขตของแต่ละคน
 1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์คอมพิวเตอร์ 
หรือในรูปของ สงิ่พิมพ์ต่าง ๆ 
2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจา นวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน 
3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครัง้แล้วครัง้เล่าอย่าง 
สะดวก 
4. ช่วยเพมิ่ประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ 
วิศวกร ด้วยการช่วยคา นวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทา ให้สา เร็จได้ด้วย 
มือ
 1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเอาคาอธิบายบทเรียนมาบรรจุไว้ในคอมพิวเตอร์ แล้วนา 
บทเรียนนั้นมาแสดงแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนอ่านคา อธิบายนั้นแล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทดสอบความเข้าใจ 
ว่าถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องก็ต้องมีวิธีการอธิบายเนื้อหาเพมิ่เติมให้เข้าใจมากขึ้น แล้วถามซ้า อีก 
ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาถึงระดับใช้สื่อประสม และใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุผล 
สัมฤทธิม์ากขึ้น 
 2. การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการศึกษาทางไกลมีหลายแบบ ตัง้แต่แบบ 
ง่าย ๆ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ ออกอากาศให้ผู้เรียนศึกษาเอง ตามเวลาที่ออกอากาศ ไปจนถึงการ 
ใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม หรือการประยุกต์ใช้ระบบประชุมทางไกล โดยให้ผู้สอน และผู้เรียน 
สามารถสื่อสารกันได้ทันทีเพื่อสอบถามข้อสงสัยหรืออธิบายคา สอนเพมิ่เติม 
 3. เครือข่ายการศึกษา เป็นการจัดทา เครือข่ายการศึกษา เพื่อให้ครู อาจารย์ และนักเรียน นักศึกษามี 
โอกาสใช้เครือข่ายเพื่อเสาะแสวงหาความรู้ที่มีอยู่อย่างมากมายในโลก และใช้บริการต่าง ๆ ที่เป็น 
ประโยชน์ทางการศึกษา เช่น บริการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การเผยแพร่ และค้นหาข้อมูลในระบบ 
เวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งในปัจจุบันมีเครือข่ายสคูลเน็ต ที่เนคเทคได้ส่งเสริมให้เกิดขึ้นและมีโรงเรียนเข้าร่วม 
โครงการนี้ประมาณ 4.393 โรงเรียน และยังมีเครือข่ายกาญจนาภิเษกที่จัดทา ขึ้น เพื่อเป็นการกระจาย 
ความรู้ให้กับประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้สารสนเทศแต่อย่างใด
 4. การใช้งานในห้องสมุด ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนเกือบทุกแห่ง ได้ 
นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดา เนินงาน นอกจากน้ยีังส่งเสริมให้มีการร่วมมือใน 
การให้บริการในลักษณะเครือข่าย การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุด ทาให้ 
ผู้ใช้ได้รับความสะดวก 
 มากขึ้น เช่น บริการยืมคืน การค้นหาหนังสือ วารสารสงิ่พิมพ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างสะดวก 
และรวดเร็ว 
 5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทา งานใน 
ห้องปฏิบัติการ ร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น การจา ลองแบบ การออกแบบวงจรไฟฟ้า การ 
ควบคุม การทดลอง ซึ่งอุปกรณ์ที่ทันสมัยในปัจจุบัน ต่างผนวกความสามารถของเทคโนโลยี 
สารสนเทศเข้าไปด้วยแทบทัง้สิ้น 
 6. การใช้ในงานประจา และงานบริการ เช่น การจัดทา ทะเบียนประวัติของนักเรียนนักศึกษา 
การเลือกเรียน การลงทะเบียนเรียน การแสดงผลสัมฤทธิท์างการเรียน การแนะแนวอาชีพ 
และศึกษาต่อ ข้อมูลผู้ปกครองหรือข้อมูลครู ซึ่งการมีข้อมูลดังกล่าว ทา ให้ครูอาจารย์สามารถ 
ติดตาม และดูแลนักเรียนได้อย่างดี รวมทัง้ครูอาจารย์สามารถพัฒนาตนเองได้สูงขึ้น
 1. เพื่อการสอนแบบตัวต่อตัว 
2. เพื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ในการเรียน 
3. เพื่อการสาธิต 
4. เพื่อการเล่นเกมและสถานการณ์จา ลอง 
5. เพื่อสอนงานด้านการเขียน 
6. เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน 
7. เพื่อช่วยผู้เรียนที่มีปัญ 
หาเฉพาะตัว
 คอมพิวเตอร์มีบทบาทอย่างสูงทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข คอมพิวเตอร์เป็น 
เครื่องมือที่ช่วยอา นวย ความสะดวก อย่างยงิ่ในด้านการแพทย์ เรมิ่ตั้งแต่การ 
รักษาพยาบาล ทัว่ ๆไป โรงพยาบาลบางแห่งใช้คอมพิวเตอร์ ในการทา ทะเบียนคนไข้ 
ตลอดจนการวินิจฉัย และรักษาโรคต่าง ๆ จากการใช้ประโยชน์ของสารนิเทศที่ได้ 
จากเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการแพทย์และสาธารณสขุอาจ 
เกี่ยวข้องในด้านต่อไปนี้ คือ ด้านการ รักษาพยาบาลทัว่ไป ด้านการบริหารการแพทย์ 
ด้านห้องทดลอง ด้านตรวจวินิจฉัยโรค และด้านการศึกษา และวิจัยทางการแพทย์ การ 
ใช้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์และ สาธารณสุขที่สาคัญในปัจ 
จุบันคือ ด้าน 
วินิจฉัยโรคและด้านการศึกษาและวิจัยทางการแพทย์นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 
สามารถค้นคว้าข้อมูลทาง การแพทย์เพมิ่เติมได้ตลอดเวลา เป็นการพัฒนา 
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุข
 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมาก ในสถาบันการศึกษา 
ตลอดจนสถาบันวิจัยต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้าน 
วิทยาศาสตร์เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ ซึ่งเป็นวิชาว่าด้วยส่วนประกอบที่ 
เล็กที่สุดของสสาร การค้นคว้าทดลองทางวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทา ให้เกิดการ 
พัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยัง้ เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ ให้ 
มีส่วนร่วมต่อการออกแบบโครงสร้าง ทางวิศวกรรมที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทา ให้มีส่วน 
ช่วยต่อการออกแบบ ทางด้านวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรมได้อย่างไม่มีขอบเขตจากัด 
บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึงมี ประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูล 
สารนิเทศอย่างไม่หยุดยัง้
 จากการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลสารนิเทศโดยระบบโทรคมนาคมคอมพิวเตอร์มี 
บทบาทอย่างสูง ต่อการให้บริการข้อมูลอย่างไม่มีขอบเขตจากัด ผู้ใช้สารนิเทศ 
สามารถเรียกค้นข้อมูลจากผู้ให้บริการ สารนิเทศตัง้แต่เรื่องทัว่ ๆไปจนกระทัง่ขอค้น 
รายละเอียดจากหนังสือสารานุกรมได้ และภายในบ้านเรือน คอมพิวเตอร์มีบทบาท 
ต่อการใช้ของสมาชิกภายในครอบครัวทุกคนภายในบ้าน มีโอกาสได้เล่นเกมวีดิทัศน์ 
ด้วยความบันเทิงสนุกสนาน และ ศึกษาความรู้จากบทเรียนสา เร็จรูป
นาย จักรพันธ์  รวบรัด เลขที่ 4 ห้อง 2/2 งานของอาจารย์สุวิชา  ปัญญาไข  พาวเวอร์พ้อย

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีเทวัญ ภูพานทอง
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้unpununping
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333krujee
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทAoy Amm Mee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์ยิ้ม' เเฉ่ง
 

What's hot (20)

Paper
PaperPaper
Paper
 
3computer
3computer3computer
3computer
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
 
บทความ3
บทความ3บทความ3
บทความ3
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
Work1m34 11 13
Work1m34 11 13Work1m34 11 13
Work1m34 11 13
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
 
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดีลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 

Viewers also liked

グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑦ディスカッション成果
グループ⑦ディスカッション成果グループ⑦ディスカッション成果
グループ⑦ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑩ディスカッション成果
グループ⑩ディスカッション成果グループ⑩ディスカッション成果
グループ⑩ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
เทคโนโลย สารสนเทศ นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไข
เทคโนโลย สารสนเทศ  นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไขเทคโนโลย สารสนเทศ  นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไข
เทคโนโลย สารสนเทศ นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไขจักรพันธ์ รวบรัด
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
グループ⑧ディスカッション成果
グループ⑧ディスカッション成果グループ⑧ディスカッション成果
グループ⑧ディスカッション成果Yutaka Matsutani
 
Amolak_Dewal-Updated_ Resume
Amolak_Dewal-Updated_ ResumeAmolak_Dewal-Updated_ Resume
Amolak_Dewal-Updated_ ResumeAmolak Dewal
 

Viewers also liked (19)

グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果
 
グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果
 
グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果
 
グループ⑦ディスカッション成果
グループ⑦ディスカッション成果グループ⑦ディスカッション成果
グループ⑦ディスカッション成果
 
グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果グループ④ディスカッション成果
グループ④ディスカッション成果
 
グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果
 
グループ⑩ディスカッション成果
グループ⑩ディスカッション成果グループ⑩ディスカッション成果
グループ⑩ディスカッション成果
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果
 
グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果
 
グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果グループ⑤ディスカッション成果
グループ⑤ディスカッション成果
 
グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果
 
グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果グループ①ディスカッション成果
グループ①ディスカッション成果
 
グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果グループ⑥ディスカッション成果
グループ⑥ディスカッション成果
 
グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果グループ③ディスカッション成果
グループ③ディスカッション成果
 
เทคโนโลย สารสนเทศ นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไข
เทคโนโลย สารสนเทศ  นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไขเทคโนโลย สารสนเทศ  นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไข
เทคโนโลย สารสนเทศ นาย ศิริราช สิทธิชัย งานของอาจารย์ สุวิชาปัญญาไข
 
グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果グループ②ディスカッション成果
グループ②ディスカッション成果
 
グループ⑧ディスカッション成果
グループ⑧ディスカッション成果グループ⑧ディスカッション成果
グループ⑧ディスカッション成果
 
Amolak_Dewal-Updated_ Resume
Amolak_Dewal-Updated_ ResumeAmolak_Dewal-Updated_ Resume
Amolak_Dewal-Updated_ Resume
 

Similar to นาย จักรพันธ์ รวบรัด เลขที่ 4 ห้อง 2/2 งานของอาจารย์สุวิชา ปัญญาไข พาวเวอร์พ้อย

เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Nontt' Panich
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานYeenLy PT Smile
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานYeenLy PT Smile
 

Similar to นาย จักรพันธ์ รวบรัด เลขที่ 4 ห้อง 2/2 งานของอาจารย์สุวิชา ปัญญาไข พาวเวอร์พ้อย (20)

เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบงาน K2
ใบงาน K2ใบงาน K2
ใบงาน K2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
K2
K2K2
K2
 
02
0202
02
 

นาย จักรพันธ์ รวบรัด เลขที่ 4 ห้อง 2/2 งานของอาจารย์สุวิชา ปัญญาไข พาวเวอร์พ้อย

  • 2.  เทคโนโลยี่สารสนเทศมีความสา คัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทา ให้การศึกษาง่ายขึ้นและ  ไร้ขีดจา กัด ผู้เรียนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจัย  2. การดา รงชีวิตประจา วัน ทา ให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็วในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ใน  ชีวิตประจา วัน สามารถทา งานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรือทา งานใช้เวลาน้อยลง  3. การดา เนินธุรกิจ ทา ให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทา ให้ต้องมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ทันกับข้อมูล  ข่าวสารอยตู่ลอดเวลา อันส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเน่อืง  4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพมิ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการติดต่อสื่อสารที่เจริญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ว  ถูกต้องและทา ให้เป็นโลกที่ไร้พรมแดน  5. ระบบการทา งานมีคอมพิวเตอร์มาใช้ซื่อสามารถทา งานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทา ไม่ได้ก็ใช้  คอมพิวเตอร์ช่วยทา งานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ว
  • 3.  1. ฮาร์ดแวร์Hardware 2. ซอฟต์แวร์ Software 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริการข้อมูลและติดต่อสื่อสาร
  • 4.  1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 1. ฮาร์ดแวร์Hardware 2. ซอฟต์แวร์ Software 3. ข้อมูล Data 4. บุคลากร People 2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและ ผู้ใช้งาน Programmer,System Analyst และ User  เป็นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์มีหน้าที่เขียน โปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ได้ออกแบบไว้ส่วนผู้ใช้จะเป็นกล่มุที่มีอิทธิพลต่อทิศทาง ในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด
  • 5.  3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล หน่วยรับข้อมูล ทา หน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล ทา หน้าที่ประมวลผลและควบคุมการ ทา งานของระบบคอมพิวเตอร์ทัง้หมด หน่วยแสดงผล ทา หน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการ ประมวลผลข้อมูล หน่วยเก็บข้อมูล ทา หน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการ ประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอส่งไปยังหน่วย แสดงผล 4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้มข้อมูล 5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขัน้ตอน 1. การรวมบรวมข้อมูล 2. การประมวลผล 3. การดูแลรักษา
  • 6.  1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทา หน้าที่ไม่ว่าจะเป็นการบันทึก การแก้ไข การทา รายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความสะดวกรวดเร็วในการทา งานและยังช่วยเป็น ข้อมูลในการตัดสินใจด้วย 2. เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กันมากในปัจ จุบัน มีประโยชน์ ดังนี้ 1. สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผู้อยหู่่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่างรวดเร็วไม่ ต้องเสียเวลาในการเดินทาง 3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์เพราะระบบเครื่อข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ ร่วมกันได้ 4. สามารถทางานร่วมกันได้หรือทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน 3. เทคโนโลยีสา นักงานอัตโนมัติเป็นระบบการทา งานที่ใช้ระบบการเืืชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้1. พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E - mail) 2. สามารถบันทึกแฟ้มเอกสารหรืองานพิมพ์เก็บไว้และสามารถนามาแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ ง่าย 3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็วและใช้งานได้ง่าย 4. มีระบบฝากข้อความเสียง (Voice Mail) 5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference) 4. เทคโนโลยีช่วยสอน CAI ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โรงเรียนและสถานศึกษาก็เรมิ่มีการพัฒนา โปรแกรมบทเรียนสา เร็จรูปขึ้นมาใช้และมีผลดีกับนักเรียนที่จะได้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยและมีความน่าสนใจมากขึ้น
  • 7.  1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคา นึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ตามมาด้วย 2. การวางแผนที่ดีเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับ งานและเพื่อประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้รับ 3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแล ไม่ปล่อยปละ ละเลยหรือใช้ในทางที่ผิด 4. การลงทุน ควรคา นึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับ ด้วย หากประโยชน์ที่ได้ไม่ค้มุค่าแกก่ารลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม่ 5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ข้อมูลซ้า ซ้อน ควรมีการ แบ่งปัน ข้อมูลเพื่อให้การทา งานร่วมกันมีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กัน 6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้อง มีการดูแลให้สิทธิแก่ผู้ใช้ภายในขอบเขตของแต่ละคน
  • 8.  1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์คอมพิวเตอร์ หรือในรูปของ สงิ่พิมพ์ต่าง ๆ 2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจา นวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน 3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครัง้แล้วครัง้เล่าอย่าง สะดวก 4. ช่วยเพมิ่ประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการช่วยคา นวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทา ให้สา เร็จได้ด้วย มือ
  • 9.  1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเอาคาอธิบายบทเรียนมาบรรจุไว้ในคอมพิวเตอร์ แล้วนา บทเรียนนั้นมาแสดงแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนอ่านคา อธิบายนั้นแล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทดสอบความเข้าใจ ว่าถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องก็ต้องมีวิธีการอธิบายเนื้อหาเพมิ่เติมให้เข้าใจมากขึ้น แล้วถามซ้า อีก ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาถึงระดับใช้สื่อประสม และใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุผล สัมฤทธิม์ากขึ้น  2. การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการศึกษาทางไกลมีหลายแบบ ตัง้แต่แบบ ง่าย ๆ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ ออกอากาศให้ผู้เรียนศึกษาเอง ตามเวลาที่ออกอากาศ ไปจนถึงการ ใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม หรือการประยุกต์ใช้ระบบประชุมทางไกล โดยให้ผู้สอน และผู้เรียน สามารถสื่อสารกันได้ทันทีเพื่อสอบถามข้อสงสัยหรืออธิบายคา สอนเพมิ่เติม  3. เครือข่ายการศึกษา เป็นการจัดทา เครือข่ายการศึกษา เพื่อให้ครู อาจารย์ และนักเรียน นักศึกษามี โอกาสใช้เครือข่ายเพื่อเสาะแสวงหาความรู้ที่มีอยู่อย่างมากมายในโลก และใช้บริการต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์ทางการศึกษา เช่น บริการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การเผยแพร่ และค้นหาข้อมูลในระบบ เวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งในปัจจุบันมีเครือข่ายสคูลเน็ต ที่เนคเทคได้ส่งเสริมให้เกิดขึ้นและมีโรงเรียนเข้าร่วม โครงการนี้ประมาณ 4.393 โรงเรียน และยังมีเครือข่ายกาญจนาภิเษกที่จัดทา ขึ้น เพื่อเป็นการกระจาย ความรู้ให้กับประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้สารสนเทศแต่อย่างใด
  • 10.  4. การใช้งานในห้องสมุด ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนเกือบทุกแห่ง ได้ นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดา เนินงาน นอกจากน้ยีังส่งเสริมให้มีการร่วมมือใน การให้บริการในลักษณะเครือข่าย การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในห้องสมุด ทาให้ ผู้ใช้ได้รับความสะดวก  มากขึ้น เช่น บริการยืมคืน การค้นหาหนังสือ วารสารสงิ่พิมพ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว  5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทา งานใน ห้องปฏิบัติการ ร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น การจา ลองแบบ การออกแบบวงจรไฟฟ้า การ ควบคุม การทดลอง ซึ่งอุปกรณ์ที่ทันสมัยในปัจจุบัน ต่างผนวกความสามารถของเทคโนโลยี สารสนเทศเข้าไปด้วยแทบทัง้สิ้น  6. การใช้ในงานประจา และงานบริการ เช่น การจัดทา ทะเบียนประวัติของนักเรียนนักศึกษา การเลือกเรียน การลงทะเบียนเรียน การแสดงผลสัมฤทธิท์างการเรียน การแนะแนวอาชีพ และศึกษาต่อ ข้อมูลผู้ปกครองหรือข้อมูลครู ซึ่งการมีข้อมูลดังกล่าว ทา ให้ครูอาจารย์สามารถ ติดตาม และดูแลนักเรียนได้อย่างดี รวมทัง้ครูอาจารย์สามารถพัฒนาตนเองได้สูงขึ้น
  • 11.  1. เพื่อการสอนแบบตัวต่อตัว 2. เพื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ในการเรียน 3. เพื่อการสาธิต 4. เพื่อการเล่นเกมและสถานการณ์จา ลอง 5. เพื่อสอนงานด้านการเขียน 6. เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน 7. เพื่อช่วยผู้เรียนที่มีปัญ หาเฉพาะตัว
  • 12.  คอมพิวเตอร์มีบทบาทอย่างสูงทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือที่ช่วยอา นวย ความสะดวก อย่างยงิ่ในด้านการแพทย์ เรมิ่ตั้งแต่การ รักษาพยาบาล ทัว่ ๆไป โรงพยาบาลบางแห่งใช้คอมพิวเตอร์ ในการทา ทะเบียนคนไข้ ตลอดจนการวินิจฉัย และรักษาโรคต่าง ๆ จากการใช้ประโยชน์ของสารนิเทศที่ได้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการแพทย์และสาธารณสขุอาจ เกี่ยวข้องในด้านต่อไปนี้ คือ ด้านการ รักษาพยาบาลทัว่ไป ด้านการบริหารการแพทย์ ด้านห้องทดลอง ด้านตรวจวินิจฉัยโรค และด้านการศึกษา และวิจัยทางการแพทย์ การ ใช้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์และ สาธารณสุขที่สาคัญในปัจ จุบันคือ ด้าน วินิจฉัยโรคและด้านการศึกษาและวิจัยทางการแพทย์นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถค้นคว้าข้อมูลทาง การแพทย์เพมิ่เติมได้ตลอดเวลา เป็นการพัฒนา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุข
  • 13.  การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมาก ในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบันวิจัยต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้าน วิทยาศาสตร์เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ ซึ่งเป็นวิชาว่าด้วยส่วนประกอบที่ เล็กที่สุดของสสาร การค้นคว้าทดลองทางวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทา ให้เกิดการ พัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยัง้ เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ ให้ มีส่วนร่วมต่อการออกแบบโครงสร้าง ทางวิศวกรรมที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทา ให้มีส่วน ช่วยต่อการออกแบบ ทางด้านวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรมได้อย่างไม่มีขอบเขตจากัด บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึงมี ประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูล สารนิเทศอย่างไม่หยุดยัง้
  • 14.  จากการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลสารนิเทศโดยระบบโทรคมนาคมคอมพิวเตอร์มี บทบาทอย่างสูง ต่อการให้บริการข้อมูลอย่างไม่มีขอบเขตจากัด ผู้ใช้สารนิเทศ สามารถเรียกค้นข้อมูลจากผู้ให้บริการ สารนิเทศตัง้แต่เรื่องทัว่ ๆไปจนกระทัง่ขอค้น รายละเอียดจากหนังสือสารานุกรมได้ และภายในบ้านเรือน คอมพิวเตอร์มีบทบาท ต่อการใช้ของสมาชิกภายในครอบครัวทุกคนภายในบ้าน มีโอกาสได้เล่นเกมวีดิทัศน์ ด้วยความบันเทิงสนุกสนาน และ ศึกษาความรู้จากบทเรียนสา เร็จรูป