SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่ 5
เรื่อง เสียง
เรื่องที่ 1
พฤติกรรมของเสียง
จุดประสงค์การเรียนรู้
-สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การเลี้ยงเบน
และการแทรกสอดของเสียง
เสียง คืออะไร ?
เสียง เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ประกอบ
ไปด้วย แอมพลิจูด ความยาวคลื่น
ความเร็ว ความถี่ และคาบ
คลื่นเสียง
เสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง โดยเสียงเป็นคลื่นกลจึงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ การสั่นสะเทือนจาก
แหล่งกาเนิด เสียงจะถ่ายโอนผ่านตัวกลาง ทาให้อนุภาคตัวกลางสั่น เกิดเป็นส่วนอัดและส่วนขยายขึ้นในตัวกลางที่คลื่นเสียง
เคลื่อนที่ผ่าน
อัด
ขยาย
อัด
ขยาย
อัด
ขยาย
อัด
ขยาย
อัด
ขยาย
อัด
ขยาย
พฤติกรรมของเสียง
01
พฤติกรรมของเสียง
การหักเห
01 02
03
การสะท้อน
การเลี้ยวเบน
04 การแทรกสอดของเสียง
#1. การสะท้อนของเสียง
• สมบัติการสะท้อน เป็นไปตามกฎการสะท้อนคือ
มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
• รังสีตกกระทบ และรังสีสะท้อนต้องอยู่ในระนาบ
เดียวกัน
• แต่โดยปกติเสียงที่เดินทางในอากาศจะแผ่ออก
โดยรอบ เหมือนผิวทรงกลมที่ขยายตัวกว้างขึ้น
ดังนั้น การสะท้อนเสียงจากผิวสะท้อน จะได้เสียง
เพียงบางส่วนที่สะท้อนกลับเท่านั้น
• การเคลื่อนที่ของเสียงไปกระทบสิ่งกีดขวาง ส่งผลให้
เกิดการสะท้อนกลับของเสียงที่เรียกว่า “เสียง
สะท้อน” (Echo)
• ซึ่งโดยปกติแล้ว เสียงที่ผ่านไปยังสมองจะติดประสาท
หูราว 0.1 วินาที ดังนั้นเสียงที่สะท้อน กลับมาช้า
กว่า 0.1 วินาที
• ทาให้หูของเราสามารถแยกเสียงจริงและเสียงสะท้อน
ออกจากกันได้
• การสะท้อนขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวสะท้อน พื้นผิวแข็ง
จะมีการสะท้อนได้ดีกว่าผิวอ่อนนุ่ม
การสะท้อนของเสียง
คลื่นเสียง
คลื่นสะท้อน
#2. การหักเหของเสียง
• เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่ตัวกลางหนึ่ง
• โดยมีความเร็วเปลี่ยนไป แต่ความถี่คงตัว อุณหภูมิที่เปลี่ยนและขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของตัวกลาง
• เป็นไปตามกฎของสเนลล์ (Snell’s law)
𝒔𝒊𝒏𝛉𝟏
𝒔𝒊𝒏𝛉𝟐
=
𝛌𝟏
𝛌𝟐
=
𝒏𝟐
𝒏𝟏
= √
𝐓𝟏
𝐓𝟐
สถานการณ์ที่เกิดฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง สามารถอธิบายโดยใช้สมบัติการหักเหของ
คลื่น เมื่ออุณหภูมิอากาศที่ผิวดิน มีอุณหภูมิสูงกว่าเสียงเดินทางจากตัวกลางที่มีความเร็วต่าสู่
ตัวกลางที่มีความเร็วสูง เสียงจะเคลื่อนที่เบนออกจากเส้นแนวฉากจนในที่สุดจะเกิดการสะท้อน
กลับหมด เสียงจะเบนกลับตัวกลางเดิม
#3. การเลี้ยวเบนของเสียง
• ลักษณะพิเศษขอลคลื่น คือ ทุกจุดบนหน้าคลื่นถือให้
เป็นต้นกาเนิดคลื่นใหม่ได้
• เรียกว่า “หลักของฮอยเกนส์”
• ถ้าคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง คลื่นส่วนที่กระทบสิ่ง
กีดขวางจะสะท้อนกลับ ส่วนคลื่นที่ผ่านไปได้จะแผ่จาก
ขอบของสิ่งกีดขวางไปจนถึงด้านหลังสิ่งกีดขวาง
• มีความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วเท่าเดิม
การเลี้ยวเบนของเสียง
#4. การแทรกสอดของเสียง
• เกิดขึ้นเมื่อนาเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์ 2 แหล่งมารวมกัน
• แหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ หมายถึง แหล่งกาเนิดคลื่นที่ให้คลื่นลักษณะเหมือนกันออกมา ทั้ง
ความถี่ ความยาวคลื่น อัตราเร็ว โดยมีเฟสเหมือนกันหรือต่างกันค่าเดิมตลอด
การแทรกสอดแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การแทรกสอดแบบเสริม หากคลื่น 2 ขบวนที่มี
เฟสตรงกัน และมีแอมพลิจูดเท่ากันเคลื่อนที่เข้าหา
กัน คลื่นจะมีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
2. การแทรกสอดแบบหักล้าง หากคลื่น 2 ขบวน
ที่มีเฟสตรงกัน และมีแอมพลิจูดเท่ากันเคลื่อนที่เข้า
หากัน คลื่นจะมีแอมพลิจูดจะมีค่าเป็น 0

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 

What's hot (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 

Similar to บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx

แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 

Similar to บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx (6)

แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
Sound
SoundSound
Sound
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 

บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx