SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ก 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง 
ศึกษานิเทศก์ สพป.กาญจนบุรี เขต๔ 
รายงานการสังเคราะห์ผลการแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการศึกษา 
ระดับการศึกษาปฐมวัยสู่การรับรองมาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอก 
ด้วยการบริหารจัดการแบบศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 
บทสรุปผู้บริหาร 
(Executive Summary) 
- - - - - - - - - - - - 
หลักการและเหตุผล 
กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงความสาคัญของเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเต็มตามศักยภาพ มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ สิ่งต่างๆ ซึ่งเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีพัฒนาการทุกด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เจริญเติบโตในอัตราสูงสุด หากได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้อง และได้รับการตอบสนองขั้นพื้นฐานอย่าง เพียงพอเท่ากับได้วางรากฐานที่ดีๆ ให้กับเด็กปฐมวัยที่จะมีความสุขในชีวิตข้างหน้า และเป็นพลเมืองที่มี คุณภาพของประเทศชาติในอนาคต ในการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ซึ่งเป็นผู้ที่มี บทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็ก จะต้องดาเนินการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สภาพแวดล้อม จัดหาสื่อ นวัตกรรม เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีพัฒนาการในทุกด้าน เต็มตามศักยภาพ โดย จะต้องร่วมกันสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาในหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้สามารถ นาไปเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการได้ตามวัย ตลอดจนร่วมกับหน่วยงาน องค์กรในชุมชนที่จะเป็นกาลังสาคัญใน การสนับสนุนให้การจัดการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ในฐานะหน่วยงานกลางที่จะ ประสานงาน และมีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในสังกัดให้มีคุณภาพ จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับวัย
ข 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
วัตถุประสงค์ 
2.1 
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนปฐมวัยในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ให้มีความ 
เข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และสามารถ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้ 
2.2 
เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจ 
สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุก ด้าน 
2.3 
เพื่อให้ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัด 
การศึกษาปฐมวัย 
2.4 
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานการประกันคุณภาพปฐมวัย 
กิจกรรมและการดาเนินการ 
เพื่อให้การดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีการศึกษา 2557 เป็นไปอย่างมี ระบบและบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 ได้ดาเนินการภายใต้ 4 กิจกรรม คือ 
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล 
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย 
ผลการดาเนินงาน 
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 
จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมและ พัฒนาครูผู้สอนปฐมวัยในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ให้เป็นผู้มีความเข้าใจในหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ปี 2557 มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ผลปรากฏว่า 
1.1 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 หลังการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น 
1.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ
ค 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการประเมินความสามารถในการจัดการเรียนการสอนพบว่า โดยภาพรวมครูผู้สอน ปฐมวัยมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความสามารถที่ครูผู้สอนมีมากที่สุดคือ ความสามารถด้านผลการเรียนรู้ของผู้เรียน รองลงมา ด้านกระบวนการ จัดการเรียนการสอน ตามลาดับ 
1.3 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ 
พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้อย่างมีคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยพบว่า โดยภาพรวมครูผู้สอนมีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นร้ายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน รองลงมา ด้านโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และด้านสาระการเรียนรู้ 
ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 
1. ครูผู้สอนปฐมวัยมีความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 
2. ครูผู้สอนปฐมวัยสามารถจัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 ให้สอดคล้องกับ 
บริบทของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3.โรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยมีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพ 
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 
จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมให้โรงเรียนที่จัด การศึกษาปฐมวัยพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม และสามารถพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้าน ผลปรากฏว่า 
2.1 พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีความสามารถในการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้าน ผลการประเมิน ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการเลี้ยงดูเด็กและความสามารถในการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมใน พัฒนาการครบทุกด้านพบว่า หลังการเข้าร่วมกิจกรรม พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้านเพิ่ม มากขึ้น 
2.2 พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจมากที่ได้คือ ด้านเนื้อหาความรู้ รองลงมา ด้านเอกสารประกอบ หลักสูตรการอบรม และด้านการนาความรู้ไปใช้ ตามลาดับ 
ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 
1. พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 
2. เด็กปฐมวัยมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับวัย
ง 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล 
จากการจัดกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล ด้วย วิธีการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาปฐมวัย ผลปรากฏว่า 
3.1 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ นิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล ได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผล การจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินการนิเทศ ติดตามการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ปฐมวัยพบว่า ครูผู้สอนปฐมวัยมีการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 98.92 นั่นคือ มีการนาความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมการนิเทศ ติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษา ปฐมวัยและประเมินผลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ครูผู้สอน ปฐมวัยมีการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมมากที่สุดคือ ด้านผู้เรียน มีการปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมา ด้านการเรียนการสอน มีการปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 96.77 และด้านการบริหารจัดการ มีการ ปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 95.16 ตามลาดับ 
3.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ นิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ครูผู้สอนปฐมวัยมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ รองลงมา ด้านการประเมินผล และด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมในการนิเทศ ตามลาดับ 
ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 
1. ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาปฐมวัย 
2. ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ 
ปฐมวัย 
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย 
จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ด้วยวิธีการส่งเสริมความเข้มแข็งการ บริหารและวิชาการของโรงเรียน โดยมีการบริหารจัดการแบบกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๔ และมีการอบรมเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยสู่การรองรับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอก และส่งเสริมให้ ความรู้แก่คุณครูที่สอนระดับปฐมวัยทุกคน ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กที่ส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ต่อเด็ก เพื่อการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ผลปรากฏว่า 
4.1 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จานวน 93 โรงเรียนที่ได้เข้าร่วม กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย มีความเข้มแข็งทั้งทางด้านการบริหารและ วิชาการและมีผลการผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้พบว่า ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม ของสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต
จ 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
4 จานวน 93 โรงเรียน ผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาทุกโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100.00 
4.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย 
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ ด้าน วิทยากร/ผู้นิเทศรองลงมา ด้านการนาไปใช้ และด้านเนื้อหา ตามลาดับ 
ข้อค้นพบที่ได้จากการจัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย 
จากการดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปี 2557 มีข้อค้นพบที่ได้จากการจัด โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ดังนี้ 
1. บรรยากาศในการจัดโครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนปฐมวัย บรรยากาศในการ 
จัดกิจกรรมและการนิเทศเป็นสิ่งสาคัญมาก เมื่อครูผู้สอนเข้าใจจุดมุ่งหมายของการศึกษาชัดเจน เกิดความ ไว้วางใจในบรรยากาศการทางานที่เป็นกัลยาณมิตร มีความไว้วางใจระหว่างวิทยากร ผู้นิเทศ หรือเพื่อนครู ที่เป็นคู่นิเทศซึ่งกันและกัน ทาให้ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นที่จะแสดงความคิดเห็นมากขึ้นและให้ความ ร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน แสดงความคิดในระดับต่างๆ ทั้งกับตนเองและบุคคลอื่น ได้ 
2. การร่วมมือปฏิบัติงานต่างๆ เป็นสิ่งสาคัญมาก การร่วมกันปฏิบัติฉันท์เพื่อนร่วมงานด้วยความ 
จริงใจ โดยไม่แบ่งแยกระหว่างผู้นิเทศและครูผู้สอน เป็นสิ่งสาคัญในการทาลายกระจกที่กั้นความไม่เข้าใจให้ ทลายลง เมื่อทุกคนหันมาร่วมมือกันคิดไตร่ตรอง พัฒนาและปรับปรุง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ก็จะ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่เป็นไปอย่างเป็นระบบมากขึ้น 
3. ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งคือ ต้องเป็นผู้ที่มี 
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ต้องเป็นผู้ที่จิตใจเปิดกว้าง ร่วมมือกันในทุกเรื่อง ยอมรับฟังความคิดเห็นเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและอานวยความสะดวก รวมทั้งเป็นผู้ให้ขวัญและกาลังใจกับ ครูผู้สอน เพื่อให้เกิดการทางานแบบกัลยาณมิตร 
4. ในสังคมที่เต็มไปด้วยการแข่งขัน แก่งแย่ง พ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นบุคคลสาคัญที่ควรมีบทบาท 
ร่วมกับครูผู้สอนในการสร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกหลานให้อยู่ในสังคมได้อย่างดี ด้วยการอบรมเลี้ยงดูลูกหลาน ให้ เป็นคนดี มีความสุข พัฒนาบุตรหลานร่วมกันกับครูผู้สอน ซึ่งความร่วมมือของพ่อแม่ ผู้ปกครองและครูผู้สอน จะส่งผลให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นคนมีความสามารถและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แนวคิดสาคัญของการอบรม เลี้ยงดูคือ ไม่ควรเร่งรัดให้เด็ก “เก่ง” อย่างเดียว 
5. ครูปฐมวัย เป็นบุคคลสาคัญ ที่มีบทบาทในการที่เตรียมความพร้อมต่างๆ ให้กับเด็กในระบบ 
โรงเรียน แต่การเตรียมความพร้อม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจาก ผู้ปกครองเป็นอย่างมาก เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองเป็นผู้สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมที่เสริมสร้างพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยได้ดีเท่าเทียมกับครู ดังนั้น การเสริมเพิ่มความรู้ให้พ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย จึง เป็นวิถีทางที่เป็นประโยชน์ต่อการร่วมมือกันพัฒนาเด็กปฐมวัย 
6. การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย เป็นกระบวนการสาคัญที่จะ
ฉ 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
ช่วยปรับปรุง พัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ และเกิดความสูญเปล่าทางการศึกษาน้อยที่สุด การปรับปรุง และพัฒนาการจัดการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน คุณภาพการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การนิเทศจึงมีบทบาทสาคัญในการช่วยพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานมากที่สุด 
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 
จากการดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปี 2557 พบปัญหาอุปสรรคในการ ดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 
ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม 
ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยคือ เนื้อหา รายละเอียดของการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีค่อนข้างมาก ทาให้ครูผู้สอนไม่ สามารถเก็บรายละเอียดในระหว่างการจัดกิจกรรมได้หมด ประกอบกับระยะเวลาในการจัดกิจกรรมและการ อบรมค่อนข้างน้อย จึงทาให้ครูผู้สอนจะต้องเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตัวเองจากเอกสารประกอบการอบรมและคู่มือ การอบรม 
ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ ควรเพิ่มระยะเวลาการจัดกิจกรรมการอบรม และ/หรือในระหว่างการจัดกิจกรรมการอบรมอาจเน้นเนื้อหาที่ยากหรือสาคัญก่อน และเพิ่มกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมระหว่างการบรรยายจากวิทยากร รวมทั้งควรจัดทาเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม การอบรมในระบบออนไลน์ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสร้างความสะดวกในการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมต่อไป 
สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป 
1. อบรมเชิงปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปทดลองใช้ในสถานศึกษา 
2. จัดนิทรรศการ Best Practice หลักสูตรสถานศึกษา 
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 
ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม 
ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยคือ ปัญหาด้านเวลา ในการอบรม เวลาในการอบรมไม่เพียงพอ โดยเฉพาะเวลาในการฝึกปฏิบัติการ เช่น การใช้สื่อ นวัตกรรม หรือ ทากิจกรรมระหว่างการอบรมน้อยเกินไป ซึ่งอาจส่งผลให้พ่อแม่ ผู้ปกครองไม่มั่นใจในการนาความรู้ไปใช้ในการ อบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน 
ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 
1. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ ให้มีระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการ
ช 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
อบรมอย่างน้อย 1 สัปดาห์ และมีการอบรมทบทวนเป็นระยะๆ เพื่อเป็นการฟื้นฟูความรู้และทักษะ และเป็น โอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างการจัดกิจกรรมการอบรมด้วย 
2. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านงบประมาณคือ ควรมีการกาหนดเกณฑ์การจัดสรร 
งบประมาณที่จะสนับสนุนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เป็นแนวทางเดียวกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาค ส่วนเมามีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดการศึกษา ทั้งนี้ควรพิจารณาให้งบประมาณเพียงพอและเหมาะสม กับการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ 
สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป 
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนปฐมวัย พ่อแม่ ผู้ปกครองของโรงเรียน 
ที่จัดการศึกษาปฐมวัย ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 เข้ารับการอบรม ความรู้ในเรื่องการดูแลเด็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการของเด็ก การจัดการเรียนการสอน และการ ส่งเสริมศักยภาพของเด็กอย่างต่อเนื่อง 
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล 
ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม 
ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและ ประเมินผลคือ 
1. ระยะเวลาในการจัดโครงการและกิจกรรมการอบรมที่น้อยเกินไป ซึ่งเมื่อเทียบกับเนื้อหาเกี่ยวกับ 
การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลแล้ว นับว่าไม่เพียงพอ 
2. ปริมาณภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของศึกษานิเทศก์ที่มากและมีขอบข่ายครอบคลุมหลายด้าน 
อาทิเช่น บทบาทหน้าที่ในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดทาโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา เช่น การเข้ารับการอบรม สัมมนา ทาให้ศึกษานิเทศก์อาจมีเวลาในการให้คาปรึกษา คาแนะนาครูผู้สอนไม่มาก เท่าที่ควรจะเป็น และอาจเนื่องมาจากเวลาว่างของครูผู้สอนและศึกษานิเทศก์ไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามแผนงานที่กาหนดไว้ 
3. ปัญหาการสับเปลี่ยน/โยกย้ายการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ทาให้การ 
นิเทศยังไม่สมบูรณ์ ขาดการติดตาม การประเมินผลการนิเทศ 
ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 
1. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ การกาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 
การเป็นระยะๆ เช่น จัดกิจกรรมทุก 2 เดือน 
2. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านปริมาณภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของศึกษานิเทศก์คือ การ 
จัดตั้งครูแกนนาในแต่ละกลุ่มโรงเรียน เพื่อการนิเทศ โดยครูแกนนาจะทาหน้าที่แทนศึกษานิเทศก์ ในแต่ละ กลุ่มโรงเรียน ซึ่งครูแกนนาจะรายงานผลให้ศึกษานิเทศก์ทราบหลังจากทาการนิเทศแล้ว นอกจากนี้อาจแก้ไข ปัญหาโดยการกาหนดตารางการนิเทศให้ครูผู้สอนทราบล่วงหน้าและยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม 
3. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านปัญหาการสับเปลี่ยน/โยกย้ายการปฏิบัติงานของผู้บริหาร สถานศึกษาและครูผู้สอนคือ การจัดตั้งระบบพี่เลี้ยงในการติดตาม เพื่อให้คาปรึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และทันท่วงที ซึ่งจะช่วยให้ครูผู้สอน
ซ 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 
หรือผู้รับการนิเทศได้ทราบข้อบกพร่องของตนเองและนาไปปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้ ดีขึ้น 
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย 
ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม 
ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยคือ ระยะเวลาใน การจัดโครงการและกิจกรรมการอบรมที่น้อยเกินไป 
ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 
จัดให้มีกิจกรรมให้ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จนปฏิบัติการนิเทศได้ และควรจัดการประชุมปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อวางแผนให้ครูผู้สอนศึกษาเอกสาร ทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้ครูผู้สอนมีการตื่นตัวและมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานเพิ่ม มากขึ้น และระยะเวลาจะเป็นปัญหาในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยต่อไป 
สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป 
1. จัดทาคู่มือในการพัฒนางานนิเทศการศึกษาปฐมวัย 
2. การสร้างเครือข่ายนิเทศออนไลน์ 
3. จัดอบรมครูปฐมวัยที่มีวุฒิการศึกษาไม่ตรงกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อให้เข้าใจถึงการ จัดการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กปฐมวัย 
ประเด็นที่ครูผู้สอนต้องการให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 ดาเนินการจัด อบรมให้ความรู้ ได้แก่ 
1. อบรมเรื่อง การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็ก 
2. อบรมเรื่อง การทาโครงงาน 
3. อบรมเรื่อง การประเมินพฤติกรรมเด็ก 
4. อบรมเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน 
5. อบรมเรื่อง การสอนแบบมอนเตสซอรี่ 
6. อบรมเรื่อง การทาแผนการสอนคละชั้น 
7. อบรมเรื่อง การสอนแบบบูรณาการ 
8. อบรมเรื่อง การทาหลักสูตรปฐมวัย 
9. อบรมเรื่อง การทาแบบประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 
10. อบรมเรื่อง การผลิตสื่อการสอน 
11. อบรมเรื่อง การสอนแบบวิทยาศาสตร์
ฌ 
รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 
กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย

More Related Content

What's hot

บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือchaimate
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยMayko Chan
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวvorravan
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัว
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similar to Executive summary ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง

คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)Hinkong Sc
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูPattama Poyangyuen
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูBannongjok Jittiboonsri
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญPrasong Somarat
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8Suwakhon Phus
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 

Similar to Executive summary ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง (20)

คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครู
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 

Executive summary ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง

  • 1. ก รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย ศน.จิรัชญา พัดศรีเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป.กาญจนบุรี เขต๔ รายงานการสังเคราะห์ผลการแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยสู่การรับรองมาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอก ด้วยการบริหารจัดการแบบศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) - - - - - - - - - - - - หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงความสาคัญของเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเต็มตามศักยภาพ มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ สิ่งต่างๆ ซึ่งเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีพัฒนาการทุกด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เจริญเติบโตในอัตราสูงสุด หากได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้อง และได้รับการตอบสนองขั้นพื้นฐานอย่าง เพียงพอเท่ากับได้วางรากฐานที่ดีๆ ให้กับเด็กปฐมวัยที่จะมีความสุขในชีวิตข้างหน้า และเป็นพลเมืองที่มี คุณภาพของประเทศชาติในอนาคต ในการจัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ซึ่งเป็นผู้ที่มี บทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็ก จะต้องดาเนินการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สภาพแวดล้อม จัดหาสื่อ นวัตกรรม เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีพัฒนาการในทุกด้าน เต็มตามศักยภาพ โดย จะต้องร่วมกันสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาในหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้สามารถ นาไปเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการได้ตามวัย ตลอดจนร่วมกับหน่วยงาน องค์กรในชุมชนที่จะเป็นกาลังสาคัญใน การสนับสนุนให้การจัดการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ในฐานะหน่วยงานกลางที่จะ ประสานงาน และมีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในสังกัดให้มีคุณภาพ จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับวัย
  • 2. ข รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนปฐมวัยในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ให้มีความ เข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และสามารถ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุก ด้าน 2.3 เพื่อให้ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัด การศึกษาปฐมวัย 2.4 เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานการประกันคุณภาพปฐมวัย กิจกรรมและการดาเนินการ เพื่อให้การดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีการศึกษา 2557 เป็นไปอย่างมี ระบบและบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 ได้ดาเนินการภายใต้ 4 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ผลการดาเนินงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมและ พัฒนาครูผู้สอนปฐมวัยในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ให้เป็นผู้มีความเข้าใจในหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ปี 2557 มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ผลปรากฏว่า 1.1 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 หลังการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น 1.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ
  • 3. ค รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการประเมินความสามารถในการจัดการเรียนการสอนพบว่า โดยภาพรวมครูผู้สอน ปฐมวัยมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความสามารถที่ครูผู้สอนมีมากที่สุดคือ ความสามารถด้านผลการเรียนรู้ของผู้เรียน รองลงมา ด้านกระบวนการ จัดการเรียนการสอน ตามลาดับ 1.3 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการ พัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้อย่างมีคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยพบว่า โดยภาพรวมครูผู้สอนมีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นร้ายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน รองลงมา ด้านโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และด้านสาระการเรียนรู้ ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 1. ครูผู้สอนปฐมวัยมีความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 2. ครูผู้สอนปฐมวัยสามารถจัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2557 ให้สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.โรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยมีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพ กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมให้โรงเรียนที่จัด การศึกษาปฐมวัยพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม และสามารถพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้าน ผลปรากฏว่า 2.1 พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีความสามารถในการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้าน ผลการประเมิน ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการเลี้ยงดูเด็กและความสามารถในการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมใน พัฒนาการครบทุกด้านพบว่า หลังการเข้าร่วมกิจกรรม พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และการพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้านเพิ่ม มากขึ้น 2.2 พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความพึงพอใจมากที่ได้คือ ด้านเนื้อหาความรู้ รองลงมา ด้านเอกสารประกอบ หลักสูตรการอบรม และด้านการนาความรู้ไปใช้ ตามลาดับ ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 1. พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 2. เด็กปฐมวัยมีความพร้อมในพัฒนาการครบทุกด้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับวัย
  • 4. ง รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล จากการจัดกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล ด้วย วิธีการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาปฐมวัย ผลปรากฏว่า 3.1 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ นิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล ได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผล การจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินการนิเทศ ติดตามการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ปฐมวัยพบว่า ครูผู้สอนปฐมวัยมีการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 98.92 นั่นคือ มีการนาความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมการนิเทศ ติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษา ปฐมวัยและประเมินผลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ครูผู้สอน ปฐมวัยมีการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมมากที่สุดคือ ด้านผู้เรียน มีการปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมา ด้านการเรียนการสอน มีการปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 96.77 และด้านการบริหารจัดการ มีการ ปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 95.16 ตามลาดับ 3.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการ นิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ครูผู้สอนปฐมวัยมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ รองลงมา ด้านการประเมินผล และด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมในการนิเทศ ตามลาดับ ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือเกณฑ์ ที่เป็นรูปธรรมจากโครงการ 1. ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาปฐมวัย 2. ทุกโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ ปฐมวัย กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย จากการจัดกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ด้วยวิธีการส่งเสริมความเข้มแข็งการ บริหารและวิชาการของโรงเรียน โดยมีการบริหารจัดการแบบกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๔ และมีการอบรมเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยสู่การรองรับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอก และส่งเสริมให้ ความรู้แก่คุณครูที่สอนระดับปฐมวัยทุกคน ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กที่ส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ต่อเด็ก เพื่อการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ผลปรากฏว่า 4.1 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จานวน 93 โรงเรียนที่ได้เข้าร่วม กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย มีความเข้มแข็งทั้งทางด้านการบริหารและ วิชาการและมีผลการผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้พบว่า ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม ของสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต
  • 5. จ รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย 4 จานวน 93 โรงเรียน ผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาทุกโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100.00 4.2 ครูผู้สอนปฐมวัยทุกคนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย มีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือ ด้าน วิทยากร/ผู้นิเทศรองลงมา ด้านการนาไปใช้ และด้านเนื้อหา ตามลาดับ ข้อค้นพบที่ได้จากการจัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย จากการดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปี 2557 มีข้อค้นพบที่ได้จากการจัด โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ดังนี้ 1. บรรยากาศในการจัดโครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนปฐมวัย บรรยากาศในการ จัดกิจกรรมและการนิเทศเป็นสิ่งสาคัญมาก เมื่อครูผู้สอนเข้าใจจุดมุ่งหมายของการศึกษาชัดเจน เกิดความ ไว้วางใจในบรรยากาศการทางานที่เป็นกัลยาณมิตร มีความไว้วางใจระหว่างวิทยากร ผู้นิเทศ หรือเพื่อนครู ที่เป็นคู่นิเทศซึ่งกันและกัน ทาให้ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นที่จะแสดงความคิดเห็นมากขึ้นและให้ความ ร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน แสดงความคิดในระดับต่างๆ ทั้งกับตนเองและบุคคลอื่น ได้ 2. การร่วมมือปฏิบัติงานต่างๆ เป็นสิ่งสาคัญมาก การร่วมกันปฏิบัติฉันท์เพื่อนร่วมงานด้วยความ จริงใจ โดยไม่แบ่งแยกระหว่างผู้นิเทศและครูผู้สอน เป็นสิ่งสาคัญในการทาลายกระจกที่กั้นความไม่เข้าใจให้ ทลายลง เมื่อทุกคนหันมาร่วมมือกันคิดไตร่ตรอง พัฒนาและปรับปรุง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ก็จะ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่เป็นไปอย่างเป็นระบบมากขึ้น 3. ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งคือ ต้องเป็นผู้ที่มี ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ต้องเป็นผู้ที่จิตใจเปิดกว้าง ร่วมมือกันในทุกเรื่อง ยอมรับฟังความคิดเห็นเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและอานวยความสะดวก รวมทั้งเป็นผู้ให้ขวัญและกาลังใจกับ ครูผู้สอน เพื่อให้เกิดการทางานแบบกัลยาณมิตร 4. ในสังคมที่เต็มไปด้วยการแข่งขัน แก่งแย่ง พ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นบุคคลสาคัญที่ควรมีบทบาท ร่วมกับครูผู้สอนในการสร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกหลานให้อยู่ในสังคมได้อย่างดี ด้วยการอบรมเลี้ยงดูลูกหลาน ให้ เป็นคนดี มีความสุข พัฒนาบุตรหลานร่วมกันกับครูผู้สอน ซึ่งความร่วมมือของพ่อแม่ ผู้ปกครองและครูผู้สอน จะส่งผลให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นคนมีความสามารถและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แนวคิดสาคัญของการอบรม เลี้ยงดูคือ ไม่ควรเร่งรัดให้เด็ก “เก่ง” อย่างเดียว 5. ครูปฐมวัย เป็นบุคคลสาคัญ ที่มีบทบาทในการที่เตรียมความพร้อมต่างๆ ให้กับเด็กในระบบ โรงเรียน แต่การเตรียมความพร้อม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจาก ผู้ปกครองเป็นอย่างมาก เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองเป็นผู้สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมที่เสริมสร้างพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยได้ดีเท่าเทียมกับครู ดังนั้น การเสริมเพิ่มความรู้ให้พ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย จึง เป็นวิถีทางที่เป็นประโยชน์ต่อการร่วมมือกันพัฒนาเด็กปฐมวัย 6. การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย เป็นกระบวนการสาคัญที่จะ
  • 6. ฉ รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย ช่วยปรับปรุง พัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ และเกิดความสูญเปล่าทางการศึกษาน้อยที่สุด การปรับปรุง และพัฒนาการจัดการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยคุณภาพของการจัดการเรียนการสอน คุณภาพการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การนิเทศจึงมีบทบาทสาคัญในการช่วยพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานมากที่สุด ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ จากการดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปี 2557 พบปัญหาอุปสรรคในการ ดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยคือ เนื้อหา รายละเอียดของการพัฒนาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีค่อนข้างมาก ทาให้ครูผู้สอนไม่ สามารถเก็บรายละเอียดในระหว่างการจัดกิจกรรมได้หมด ประกอบกับระยะเวลาในการจัดกิจกรรมและการ อบรมค่อนข้างน้อย จึงทาให้ครูผู้สอนจะต้องเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตัวเองจากเอกสารประกอบการอบรมและคู่มือ การอบรม ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ ควรเพิ่มระยะเวลาการจัดกิจกรรมการอบรม และ/หรือในระหว่างการจัดกิจกรรมการอบรมอาจเน้นเนื้อหาที่ยากหรือสาคัญก่อน และเพิ่มกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมระหว่างการบรรยายจากวิทยากร รวมทั้งควรจัดทาเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม การอบรมในระบบออนไลน์ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสร้างความสะดวกในการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมต่อไป สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป 1. อบรมเชิงปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปทดลองใช้ในสถานศึกษา 2. จัดนิทรรศการ Best Practice หลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยคือ ปัญหาด้านเวลา ในการอบรม เวลาในการอบรมไม่เพียงพอ โดยเฉพาะเวลาในการฝึกปฏิบัติการ เช่น การใช้สื่อ นวัตกรรม หรือ ทากิจกรรมระหว่างการอบรมน้อยเกินไป ซึ่งอาจส่งผลให้พ่อแม่ ผู้ปกครองไม่มั่นใจในการนาความรู้ไปใช้ในการ อบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 1. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ ให้มีระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการ
  • 7. ช รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย อบรมอย่างน้อย 1 สัปดาห์ และมีการอบรมทบทวนเป็นระยะๆ เพื่อเป็นการฟื้นฟูความรู้และทักษะ และเป็น โอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างการจัดกิจกรรมการอบรมด้วย 2. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านงบประมาณคือ ควรมีการกาหนดเกณฑ์การจัดสรร งบประมาณที่จะสนับสนุนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เป็นแนวทางเดียวกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาค ส่วนเมามีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดการศึกษา ทั้งนี้ควรพิจารณาให้งบประมาณเพียงพอและเหมาะสม กับการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนปฐมวัย พ่อแม่ ผู้ปกครองของโรงเรียน ที่จัดการศึกษาปฐมวัย ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 เข้ารับการอบรม ความรู้ในเรื่องการดูแลเด็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการของเด็ก การจัดการเรียนการสอน และการ ส่งเสริมศักยภาพของเด็กอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและประเมินผล ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการนิเทศติดตามและยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและ ประเมินผลคือ 1. ระยะเวลาในการจัดโครงการและกิจกรรมการอบรมที่น้อยเกินไป ซึ่งเมื่อเทียบกับเนื้อหาเกี่ยวกับ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลแล้ว นับว่าไม่เพียงพอ 2. ปริมาณภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของศึกษานิเทศก์ที่มากและมีขอบข่ายครอบคลุมหลายด้าน อาทิเช่น บทบาทหน้าที่ในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดทาโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา เช่น การเข้ารับการอบรม สัมมนา ทาให้ศึกษานิเทศก์อาจมีเวลาในการให้คาปรึกษา คาแนะนาครูผู้สอนไม่มาก เท่าที่ควรจะเป็น และอาจเนื่องมาจากเวลาว่างของครูผู้สอนและศึกษานิเทศก์ไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามแผนงานที่กาหนดไว้ 3. ปัญหาการสับเปลี่ยน/โยกย้ายการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ทาให้การ นิเทศยังไม่สมบูรณ์ ขาดการติดตาม การประเมินผลการนิเทศ ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 1. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านเวลาในการอบรมคือ การกาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรม การเป็นระยะๆ เช่น จัดกิจกรรมทุก 2 เดือน 2. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านปริมาณภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของศึกษานิเทศก์คือ การ จัดตั้งครูแกนนาในแต่ละกลุ่มโรงเรียน เพื่อการนิเทศ โดยครูแกนนาจะทาหน้าที่แทนศึกษานิเทศก์ ในแต่ละ กลุ่มโรงเรียน ซึ่งครูแกนนาจะรายงานผลให้ศึกษานิเทศก์ทราบหลังจากทาการนิเทศแล้ว นอกจากนี้อาจแก้ไข ปัญหาโดยการกาหนดตารางการนิเทศให้ครูผู้สอนทราบล่วงหน้าและยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม 3. ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านปัญหาการสับเปลี่ยน/โยกย้ายการปฏิบัติงานของผู้บริหาร สถานศึกษาและครูผู้สอนคือ การจัดตั้งระบบพี่เลี้ยงในการติดตาม เพื่อให้คาปรึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และทันท่วงที ซึ่งจะช่วยให้ครูผู้สอน
  • 8. ซ รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย หรือผู้รับการนิเทศได้ทราบข้อบกพร่องของตนเองและนาไปปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้ ดีขึ้น กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปัญหาอุปสรรคของการจัดกิจกรรม ปัญหาในการจัดกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยคือ ระยะเวลาใน การจัดโครงการและกิจกรรมการอบรมที่น้อยเกินไป ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ จัดให้มีกิจกรรมให้ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จนปฏิบัติการนิเทศได้ และควรจัดการประชุมปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อวางแผนให้ครูผู้สอนศึกษาเอกสาร ทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้ครูผู้สอนมีการตื่นตัวและมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานเพิ่ม มากขึ้น และระยะเวลาจะเป็นปัญหาในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัยต่อไป สิ่งที่จะต้องดาเนินการในครั้งต่อไป 1. จัดทาคู่มือในการพัฒนางานนิเทศการศึกษาปฐมวัย 2. การสร้างเครือข่ายนิเทศออนไลน์ 3. จัดอบรมครูปฐมวัยที่มีวุฒิการศึกษาไม่ตรงกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อให้เข้าใจถึงการ จัดการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กปฐมวัย ประเด็นที่ครูผู้สอนต้องการให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4 ดาเนินการจัด อบรมให้ความรู้ ได้แก่ 1. อบรมเรื่อง การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็ก 2. อบรมเรื่อง การทาโครงงาน 3. อบรมเรื่อง การประเมินพฤติกรรมเด็ก 4. อบรมเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน 5. อบรมเรื่อง การสอนแบบมอนเตสซอรี่ 6. อบรมเรื่อง การทาแผนการสอนคละชั้น 7. อบรมเรื่อง การสอนแบบบูรณาการ 8. อบรมเรื่อง การทาหลักสูตรปฐมวัย 9. อบรมเรื่อง การทาแบบประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 10. อบรมเรื่อง การผลิตสื่อการสอน 11. อบรมเรื่อง การสอนแบบวิทยาศาสตร์
  • 9. ฌ รายงานการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา : กลุ่มงานปฐมวัย