SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
รายงาน
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง สังคมออนไลน์
จัดทาโดย
นางสาวปัทมาวดี ลือเล่า
ชั้น ม.4/3
เลขที่ 14
เสนอ
คุณครู จุฑารัตน์

ใจบุญ

โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอ วังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า
เกี่ยวกับเรื่อง สังคมออนไลน์ เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดย
ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้
นั่นเองผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัย ไว้ ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทา
นางสาว ปัทมาวดี ลือเล่า
สารบัญ
เรื่อง
ความหมายของสังคมออนไลน์
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ข้อดี ข้อเสีย
การนาเข้ามาใช้ในประเทศไทย หรือการใช้งานในปัจจุบัน
อ้างอิง

หน้า
1
3
6
9
10
14
สังคมออนไลน์ (Social Media)
Social Media คืออะไร
สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบ
เห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่
คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากในปัจจุบัน
คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น
ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดย
ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้
นั่นเอง
พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสารหรือมี
ปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่
สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า
web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น
ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ
Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง

MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
Facebook -เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

MouthShut –เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews

Yelp –เว็บในรูปแบบ Product Reviews

Youmeo –เว็บที่รวม Social Network
Last.fm –เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music

YouTube –เว็บไซต์ Social Networking และแชร์วิดีโอ
Avatars United –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

Second Life – เว็บไซต์ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality

Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ (อังกฤษ: Social web) คนในสังคมหรือผู้คนต่างๆ ใช้ในการโต้ตอบกันกับ
ส่วนอื่น ๆ โดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ ผู้คนมากมายมารวมตัวกันมีความสนใจที่มีร่วมกัน แต่ก็ยังมีหลายวิธี
ที่ผู้คนในสังคมใช้กันในทุกวันนี้ ประเภทแรกของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ที่ทาขึ้นคือ “คนเป็นส่วนสาคัญ
ของเว็บไซต์” เช่น Bebo, Facebook และ MySpace เว็บไซต์ดังกล่าวจะส่งเสริมผู้คนเป็นจุดสาคัญของ
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การกระทาเช่นนี้ identity ออนไลน์ (และโปรไฟล์) ถูกสร้างโดยผู้ใช้แต่ละคน
ในหลายรูปแบบคล้ายกับหนังสือเดินทาง
ประเภทที่สองของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเป็นตัวอย่างโดยเรียงลาดับความสาคัญของงานต่างๆ
ของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น หากมีความสนใจในการถ่ายภาพและต้องการแบ่งปันสิ่งนี้ให้กับผู้อื่นที่มีความ
สนใจในสิ่งเดียวกัน ก็มีเว็บไซต์การถ่ายภาพเช่น Flickr, Kodak Gallery และ Photobucket
นอกจากนี้ยังมีวิธีที่สองของคนในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ ชนิดทั่วไปที่ใช้มากที่สุดและบ่อยที่สุดใน
ทุกเวลาระยะทางและเฉพาะในเวิลด์ไวด์เว็บ ในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์นั้นไม่มีการติดต่อสื่อสารกันแบบตัว
ต่อตัวส่วนบุคคล ส่วนมากในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใน Flickr คือการแบ่งปันภาพถ่ายและการแสดงความ
คิดเห็นในรูปของผู้อื่น อย่างไรก็ตามแต่สมาชิก Flickr มาจากพื้นที่ทั่วไปในท้องถิ่น
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์อาจใช้เรียกแตกต่างกันสองแนวความคิด แนวคิดแรกคือเป็นคาอธิบายของ
เว็บ 2.0 เทคโนโลยีที่เน้นการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและชุมชนก่อนสิ่งอื่นใด แนวคิดที่สองเป็นข้อเสนอ
สาหรับเครือข่ายในอนาคตคล้ายกับเวิลด์ไวด์เว็บ
คาอธิบายของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สามารถอธิบายเป็นคนเชื่อมโยงกันและการโต้ตอบกับเนื้อหาการมีส่วนร่วม
ในลักษณะการสนทนาและมีส่วนร่วมทางอินเทอร์เน็ต การใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์สร้างขึ้นเพื่อ
ส่งเสริมการสื่อสารระหว่างผู้คน
ตัวอย่างการใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ Twitter, Facebook, และ Jaikuสังคมเว็บไซต์
ออนไลน์เป็นเครือข่ายแห่งอนาคต
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเชื่อมโยงผู้คน องค์กร และความคิด การกล่าวถึงวิธีการใช้คาในบริบทนี้
ถูกแนะนาในกรกฎาคม 2004 เรียกว่า “สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ : สร้างเครือข่ายสังคมกับ XDI” ใน
กระดาษได้อธิบายวิธีการแนะนาโพรโทคอลใหม่เพื่อใช้สาหรับกระจายการแบ่งปันข้อมูลและประสานสื่อให้
ตรงกัน, XDI, สามารถเปิดใช้งานใหม่ของชั้นข้อมูลที่เชื่อถือได้แลกเปลี่ยนการใช้งาน มีการสร้างกุญแจซึ่ง
ให้ในการบล็อกเลเยอร์นี้คือ I-names และ I-numbers (ขึ้นอยู่กับข้อกาหนด OASIS XRI), หน้า
Dataweb และ link contracts
การสร้างเครือข่ายสังคมเว็บไซต์ออนไลน์โดยใช้ FOAF ถูกใช้ตั้งแต่ปี 2000
การเปรียบเทียบเว็บไซต์สังคมออนไลน์ที่ดีที่สุดคือระบบธนาคารทั่วโลกและระบบบัตรเครดิต
โครงสร้างพื้นฐานนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเงิน โดยทั่วไปหมายถึง
การสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการโดยบุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือคือธนาคาร
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใช้วิธีเดียวกันสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัวที่สาคัญโดยทั่วไปหมายถึง
การสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการ โดยบุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือ
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
การจัดประเภทของโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) นั้นสามารถแยกได้ตามรูปแบบ และวัตถุประสงค์
ในการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามรูปแบบ แบ่งได้เป็น
1. Blog หรือ บล็อก คือเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง มาจากคาว่า Weblog (Website + Log) ซึ่งคาว่า
Log ในที่นี้หมายถึง “ปูม” ดังนั้น Blog จึงมีลักษณะเป็นเว็บไซต์ที่จัดเก็บข้อมูลด้วยวิธีเดียวกับปูม มี
การเรียงลาดับตามวันที่บันทึก ข้อมูลใหม่ที่ Post จะอยู่บนสุด ส่วนข้อมูลเก่าจะอยู่ล่างสุด โดยบล็อก
สมัยนี้ไม่ได้อยู่ลาพังเดี่ยวๆ แต่มีลักษณะเป็น Community ที่รวบรวม Blog หลายๆ Blog เข้าไว้
ด้วยกัน สามารถเชื่อมโยงผู้เขียน (Blogger) ได้เป็นสังคมขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงผู้อ่าน
ไว้กับผู้เขียนได้ โดยสามารถคอมเม้นต์บทความ ติดตาม หรือกดโหวตได้ เช่น Blogger เป็นต้น
2. ไมโครบล็อก (Microblog) เป็นเว็บไซต์ขนาดเล็ก ใช้สาหรับส่งข้อความสั้นๆ ไม่กี่ประโยค เพื่อ
บอกถึงสถานการณ์ และความเป็นไป ไมโครบล็อกที่มีผู้นิยมใช้บริการ เช่น Twitter
3. โซเชียลเน็ตเวิร์คเว็บไซต์ (Social Network Website) คือเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสังคม
ออนไลน์โดยเฉพาะ เช่น Facebook, Linkedin, Myspace, Hi5 เป็นต้น เว็บพวกนี้มีจุดเด่นที่การแชร์
คอนเท้นต์ ทั้งข้อความ รูปภาพ และวีดีโอ บางเว็บรวมไปถึงบทความ เพลง และลิ้งค์ นอกจากนั้นยังมี
ฟังก์ชั่นในการแสดงความรู้สึก หรือมีส่วนร่วม เช่น การกดไลค์ ( Like) การโหวต การอภิปราย (Discuss)
และการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
4. เว็บโซเชียลบุ๊คมาร์ค (Bookmark Social Site) เป็นเว็บที่ให้เราเก็บหน้าเว็บ หรือเว็บไซต์ที่เรา
ชื่นชอบ เพื่อเอาไว้เข้าชมทีหลัง แต่พอมาเป็นโซเชียลไซต์ เราจะสามารถแชร์ URL ของหน้าเว็บเหล่านั้น
รวมถึงดูว่าคนอื่นเก็บหน้าเว็บอะไรไว้บ้าง เข้าชม และแสดงความคิดเห็นต่อหน้าเว็บต่างๆ ได้
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แบ่งได้เป็น
1. เผยแพร่ตัวตน ( Identity Network) เป็นเว็บไซต์โซเชียลที่มุ่งเน้นการนาเสนอตัวตนของผู้ใช้งาน
เรื่องราวของตัวเอง ภาพถ่ายของตัวเอง สิ่งที่ตัวเองชอบ หรือว่าสนใจ ความคิดเห็น ความรู้สึกที่มีต่อสิ่ง
ต่างๆ เว็บที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ Facebook, Myspace เป็นต้น
2. เผยแพร่ผลงาน ( Creative Network) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นไปที่ผลงานของเจ้าของเว็บ มากกว่าตัวตน
ของเจ้าของผลงาน ส่วนมากเว็บโซเชียลเน็ตเวิร์คประเภทนี้ มักรวมผู้ที่ทางานประเภทเดียวกันไว้
ด้วยกัน เช่น เว็บรวมนักเขียนนิยาย เว็บรวมคนรักการถ่ายภาพ เว็บรวมนักออกแบบกราฟิก
ฯลฯ ซึ่งการสร้างเครือข่ายลักษณะนี้มักใช้ในการหาลูกค้า หรือเพื่อนร่วมอาชีพเป็นสาคัญ เช่น Coroflot,
flickr, Multiply, DevianART เป็นต้น
3. ความสนใจตรงกัน ( Interested Network) เว็บไซต์ประเภทนี้คล้ายๆ กับเว็บเผยแพร่ผลงาน คือ
รวบรวมผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกันมาไว้ด้วยกัน แต่ต่างกันที่ Interested Network เจ้าของเว็บไม่ต้องเป็น
เจ้าของผลงาน แค่แชร์ลิ้งค์ หรือเว็บที่ตัวเองสนใจ เช่น Pinterest, del.licio.us, Digg, Zickr เป็นต้น
4. โลกเสมือน (Virtual life / Game online) เป็นลักษณะการจาลองตัวของผู้ใช้งานเป็นตัวละครตัวหนึ่ง
ในเกม หรือสถานการณ์สมมุติ โดยมีเรื่องราว หรือภาระกิจให้ปฏิบัติ โดยอาจจะปฏิบัติโดยลาพังแข่งกับผู้
เล่นคนอื่น หรือร่วมกันเป็นทีมก็ได้ โดยในระหว่างเล่นสามารถพูดคุย หรือสื่อสารกับผู้เล่นอื่นๆ ได้ ทา
ให้มีลักษณะเป็น Social Network แบบหนึ่ง เช่น Second Life, The SIM เป็นต้น
พฤติกรรมการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ของคนไทย
พฤติกรรมของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ปรับเปลี่ยนจากการรับข่าวสารจาก Portral Site มาเป็นโซเชียล
เน็ตเวิร์ค (Social Network) เว็บไซต์ เริ่มเด่นชัดตั้งแต่ช่วงปี 2007 หรือ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา และมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผลการศึกษาพบว่าประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social
Network) ใช้เพื่ออัพเดตข้อมูลข่าวสาร และอีก 1 ใน 3 เพื่อคุยกับเพื่อนและคนรู้จัก นั่นสะท้อนให้เห็น
เป็นอย่างดีว่าผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ติดตามข่าวสารจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มากขึ้น
ข้อดี ข้อเสีย
ข้อดีของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์
1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้
2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้
หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ
3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว
4. เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามา
รับชมและแสดงความคิดเห็น
5. ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้าง
ความเชื่อมั่นให้ลูกค้า
6.ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น
7. คลายเครียดได้สาหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ
8.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้
ข้อเสียของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์
1. เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการไม่ระมัดระวังในการ
กรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนามาใช้ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้
2. Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาดวิจารณญาณ อาจโดน
หลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์
3. เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network Service
เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและแสดงความคิดเห็น
4. ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networkยากแก่การ
ตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่กาหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูก
หลอกโดยบุคคลที่ไม่มีตัวตนได้
5. ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือบางคน
อาจตาบอดได้
6. ถ้าผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กับ socialnetwork มากเกินไปอาจทาให้เสียการเรียนหรือผลการเรียนตกต่าลงได้
7. จะทาให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์
การนาเข้ามาใช้ในประเทศไทย หรือการใช้งานในปัจจุบัน
ลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันมี ลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือ
แลกเปลี่ยนความรู้ใน รูปแบบต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยส่วนใหญ่เน้นที่ปริมาณ ของความรู้แต่ไม่มีคุณภาพ
(Chiu et al., 2006) และ ข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกันส่วนมากจะเป็นข้อมูล ส่วนบุคคล การ
แลกเปลี่ยนรูปภาพ วิดีโอ การส่งข้อความ และการพูดคุยกัน (Nosko et al., 2010) นอกจากนั้น Ross,
et al. (2009) กล่าวว่า Facebook ถือเป็นเครื่องมือ ทางสังคมที่สาคัญและเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยให้
คนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เนื่องจากในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทกับการดาเนิน
ชีวิต ประจาวันของคนในสังคม เช่น การทางาน การศึกษา การใช้บริการต่างๆ ล้วนต้องอาศัยเทคโนโลยี
สารสนเทศ ดังนั้น การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันจึงไม่ใช่ เรื่องแปลกใหม่อีกต่อไป แต่
กลายเป็นสิ่งจาเป็นที่ช่วย อานวยความสะดวกในการติดต่อ สื่อสาร การแลกเปลี่ยน ข้อมูล การ
แลกเปลี่ยนความรู้ของคนในสังคมยุคปัจจุบัน
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ คนในปัจจุบันนิยมเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว
จากการศึกษา ของ Nosko, et al. (2010) พบว่าอายุและสถานภาพมีผล ต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวบน
สังคมเครือข่ายออนไลน์ เป็นอย่างมาก เนื่องจากผู้ใช้ที่มีอายุมากก็มักจะไม่เปิด เผยข้อมูลส่วนตัว ซึ่งตรง
ข้ามกับบุคคลที่มีอายุน้อยก็ จะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากกว่า และเพศไม่ได้มีผลต่อ การเปิดเผยข้อมูล
ส่วนตัวแต่อย่างใด ปัจจัย ต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของคนใน
ปัจจุบัน ได้ดังนี้
1. ลักษณะทางสังคมและบรรทัดฐานของกลุ่ม ผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยสาคัญที่มี ผล
ต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการ สื่อสารและการติดต่อกับเพื่อน ซึ่งลักษณะสังคมใน
ปัจจุบันส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการรวมกลุ่ม กัน ทางานร่วมกันมากขึ้นทาให้เกิดการใช้
ประโยชน์จากFacebook
เนื่องจากสามารถโพสต์ข้อความหรือแลกเปลี่ยน ข้อมูลให้เพื่อน ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
นอกจากนั้น ยังสามารถพูดคุยกันได้แบบ Real Time กับเพื่อนที่อยู่ใน สถานะออนไลน์ได้เช่นเดียวกับ
MSN ลักษณะทางสังคม สามารถสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของเมื่อใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์และเป็น
สมาชิกของชุมชนออนไลน์นั้นๆ(Cheung, et al., 2010) นอกจากนั้น ยังช่วยอธิบาย พฤติกรรมการใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์ การสร้าง ตัวตนทางสังคม ทาให้มีจานวนของผู้ใช้งานเครือข่าย ในปัจจุบันเพิ่ม
มากขึ้น ส่งผลให้เกิดบรรทัดฐานทางสังคม ที่คนนิยมแลกเปลี่ยนความรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กัน
อย่างกว้างขวาง (Cheung, & Lee, 2010; Chow, & Chan, 2008; Lin, & Lu, 2011) ผลการศึกษาของ
Chiu, et al. (2006) พบว่าบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใช้งานเครือ ข่ายสังคมออนไลน์ยังเป็นสิ่งที่ช่วยสร้าง
ความไว้ใจ (Trust) ซึ่งถือเป็นสิ่งสาคัญสาหรับความสัมพันธ์ในสังคม ของการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน
2. ลักษณะส่วนบุคคล แรงจูงใจและความ สามารถของบุคคล เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อพฤติกรรม การ
ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ Amichai-Hamburger & Vinitzky (2010) ศึกษาพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลมี
ความ สาคัญอย่างมากต่อการเลือกใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งผลการวิจัยนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในด้านการ ตลาดเพื่อที่จะช่วยหาแนวทางใหม่ๆ สาหรับการเรียนรู้ การเข้าใจคุณลักษณะและความ
แตกต่างของลูกค้าแต่ละ กลุ่มได้ ซึ่งตรงกันข้ามกับผลการวิจัยของ Ross, et al. (2009) ที่ศึกษาพบว่า
ปัจจัยของลักษณะส่วนบุคคลไม่มี อิทธิพลต่อการใช้ Facebook เนื่องจากเหตุผลของการ ใช้บริการ
เครือข่ายสังคมออนไลน์ไม่ได้เกิดจากลักษณะ ส่วนบุคคล แต่เกิดจากการได้รับแรงจูงใจจากบุคคลอื่นๆหรือ
จากเพื่อนในการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
นอกจากนั้นความสามารถของแต่ละบุคคลก็มีผล
ต่อพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ (Hsu,etal.,2007) เนื่องจากในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ผู้ใช้
จาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ จึงจะ
สามารถ ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ทัศนคติเกี่ยวกับความไว้ใจ ความปลอดภัย ของระบบและความเป็นส่วนตัวก็ส่งผลต่อความตั้งใจ ในการ
ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และการแลกเปลี่ยน ความรู้ Shin (2010) ศึกษาพบว่า ทัศนคติด้านความไว้ใจ
มีความสัมพันธ์กับการยอมรับความรู้สึกปลอดภัยในการ ใช้งาน ซึ่งความไว้ใจถือเป็นปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผล
ต่อการ แลกเปลี่ยนความรู้และเปิดเผยข้อมูลผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Mital, et al. ,2010 ; Shin,
2010) และทัศนคติ ความเป็นส่วนตัวก็ส่งผลต่อพฤติกรรมการเปิดเผยข้อมูล เช่นกัน (Stutzman, et al.
, 2011) จากผลการศึกษานี้ สามารถอธิบายได้ว่า เมื่อผู้ใช้บริการมีทัศนคติทางบวก ในเรื่องต่างๆ ดังที่
กล่าวมาแล้วข้างต้น จะช่วยส่งเสริมให้ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และเปิดเผยข้อมูล แต่ถ้าหาก
ผู้ใช้บริการมีทัศนคติทางลบ การแลกเปลี่ยนความรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ก็จะไม่ประสบผลสาเร็จ
4. คุณค่าทางด้านความบันเทิง หมายถึง เมื่อ ผู้ใช้บริการมีความรู้สึกเพลิดเพลินและสนุกในการใช้
เทคโนโลยีสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ก็จะทาให้ผู้ใช้บริการเกิด
ความ พึงพอใจ มีความตั้งใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง กันมากขึ้น และเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้มี
การใช้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างต่อเนื่อง (Chiu, et al., 2011; Cheung, et al., 2010; Lin,
& Lu, 2011)
5. การได้รับประโยชน์จากการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยที่ช่วยทาให้คนนิยมใช้บริการ มากขึ้น
เนื่องจาก ผู้ใช้บริการเครือข่ายสามารถติดต่อกับ เพื่อน คนรู้จัก ตลอดจนได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆ ได้
แลกเปลี่ยน ข้อมูล ความรู้กับบุคคลอื่น อีกทั้งยังมีความเชื่อว่าระบบ จะมีการพัฒนาและปรับปรุงการ
ให้บริการที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ซึ่งช่วยให้คนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ อย่างต่อเนื่อง (Lin, &
Lu, 2011)
ผลกระทบจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ด้านทัศนคติ ผู้ที่ใช้บริการเครือข่าย สังคมออนไลน์สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ จะมี
ทัศนคติในด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปและมีมุมมอง ที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการได้รับข้อมูล
สารสนเทศที่ทันสมัยอยู่เสมอ ซึ่งตรงกันข้ามกับบุคคลที่ ไม่ได้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ มักจะปฏิเสธ
ข้อมูลใหม่ๆ หรือปฏิเสธมุมมองที่มีความแตกต่างไปจากเดิม (Levitan, & Visser, 2008) จากผล
การศึกษาที่พบดังกล่าว สามารถ อธิบายได้ว่า การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นประโยชน์ ต่อผู้ใช้บริการ
ในด้านการปรับเปลี่ยนทัศนคติ ถึงแม้จะไม่ได้ส่งผลโดยตรงกับผู้ใช้ในทันที แต่จะเป็นเครื่องมือที่ จะช่วย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติในด้านต่างๆ ของผู้ใช้ในอนาคตได้
2. ด้านความเป็นส่วนตัว ในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็ว ผู้ใช้ สามารถ
ใช้บริการผ่านโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งข้อความ รูปภาพ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันได้ ข้อมูลที่ ส่ง
นั้นจะเป็นข้อมูลสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าไปดู หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ ไม่มีระยะเวลาที่
กาหนด ดังนั้นความเป็นส่วนตัวอาจจะถูกคุกคามได้ ขึ้นอยู่กับ มารยาทของผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ หรืออาจ มีการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นด้านลบของผู้อื่น ยกตัวอย่าง เช่น พนักงานที่ลาออกจาก
บริษัทมีการเผยแพร่ข้อมูล ด้านลบของผู้จัดการหรือหัวหน้าให้คนอื่นๆ รับรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์
(Van Eecke, & Truyens, 2010) ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้น ผู้ใช้บริการ เครือข่ายสังคม
ออนไลน์อาจจะไม่ได้รับความเป็นส่วนตัว มากนัก เพราะข้อมูลที่โพสต์เข้าไปใน Profile จะมีลักษณะ เป็น
ข้อมูลสาธารณะที่เพื่อนในกลุ่มทั้งหมดสามารถดู และแสดงความคิดเห็นได้ หรือบางครั้งสมาชิกคนอื่น ที่
ไม่ได้อยู่ในกลุ่มก็สามารถเข้ามาดูได้ยกเว้นมีการตั้งค่า สิทธิการเข้าใช้งานระบบ หรือใช้การพูดคุยกันแบบ
Real Time เหมือน MSN เป็นต้น
3. ด้านความปลอดภัยของข้อมูล จาก ผลการศึกษาของ Shin (2010) ที่ศึกษาพบว่าปัจจัยที่มี ผลทาให้
คนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์เนื่องจาก มีความเชื่อใจในระบบการรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูล
แต่ในความเป็นจริงการใช้งานผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกขโมยข้อมูลหรือ
ทาลายข้อมูลได้ถึงแม้ระบบที่ใช้งานจะอนุญาตให้เรา ตั้งค่าความปลอดภัยของข้อมูลได้ ดังนั้น จึงขึ้นอยู่
กับระบบที่ใช้บริการจะมีความสามารถในการสร้าง ความปลอดภัยให้กับข้อมูลมากน้อยเพียงใด และตัว
ผู้ใช้งาน เครือข่ายสังคมออนไลน์เอง ก็จะต้องตระหนักว่าข้อมูล ที่นาไปไว้ใน Profile ของตน หรือ
ข้อความต่างๆ ที่โพสต์ ในเครือข่ายสังคมออนไลน์จะต้องเป็นข้อมูลที่สามารถ เปิดเผยได้ หรือไม่สร้าง
ความเสียหายให้กับผู้อื่น และที่สาคัญ ไม่ควรนาข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ถูกต้องไปเผยแพร่ในเครือข่าย
สังคมออนไลน์เพื่อสร้างความเสื่อมเสียให้กับ บุคคลอื่นหรือสร้างความแตกแยกในสังคม
การนา Social Network เข้ามาใช้ในประเทศไทย หรือการใช้งานในปัจจุบัน
ปัจจุบันเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจาวันของคนไทยเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น
การรับข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ การทางานหรือการส่งงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังมี
บทบาทสาคัญต่อการทาธุรกิจอีกด้วย เพราะอินเทอร์เน็ต เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่
ได้ง่าย รวดเร็ว และประหยัดค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ได้เป็นอย่างมาก ซึ่งเหมาะต่อผู้ ประกอบการ
ตั้งแต่รายย่อยขึ้นไป โดยรูปแบบที่กาลังเป็นที่นิยมในปัจจุบันคือ สังคมออนไลน์ (Social Network) ซึ่ง
หมายถึง กลุ่มคนที่ รวมกันเป็นสังคมและมีการทากิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบของเว็บไซต์
ที่มีการแผ่ขยายออกไปเรื่อยๆ หรือรูปแบบของการ สื่อสารข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาให้เครือข่าย
คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตกลายเป็นสังคม โดยสามารถทากิจกรรมต่างๆ ทั้งเพื่อการ ศึกษา ธุรกิจ
และความบันเทิง ดังนั้นบทความนี้จะนาเสนอถึงรูปแบบการประยุกต์ใช้งานสังคมออนไลน์ร่วมกับการทา
ธุรกิจในประเทศไทย โดยจะกล่าวถึงกระแสการทาการตลาดผ่านสังคมออนไลน์ การนาเสนอแนวทางการ
ใช้งานสังคมออนไลน์กับการทาธุรกิจและข้อมูลทาง สถิติที่ใช้ในการตัดสินใจ
อ้างอิง
http://watyala.wordpress.com/. 11 ธันวาคม 2556.
https://sites.google.com

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
บทที่%202[1]
บทที่%202[1]บทที่%202[1]
บทที่%202[1]teeraratWI
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2dargonbail
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์mildthebest
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitternateja
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คprakaytip
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
TeenhiphopPrint25
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kanoksuk
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างShe's Ning
 

What's hot (15)

รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่%202[1]
บทที่%202[1]บทที่%202[1]
บทที่%202[1]
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
สม ดเล มเล_ก
สม ดเล มเล_กสม ดเล มเล_ก
สม ดเล มเล_ก
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 

Similar to เรื่อง สังคมออนไลน์

เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Bank'Tanawat Kongchusri
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4pornnapafang
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKittipong Suwannachai
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2nongnamka
 

Similar to เรื่อง สังคมออนไลน์ (20)

เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2
 

เรื่อง สังคมออนไลน์

  • 1. รายงาน วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง สังคมออนไลน์ จัดทาโดย นางสาวปัทมาวดี ลือเล่า ชั้น ม.4/3 เลขที่ 14 เสนอ คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอ วังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเรื่อง สังคมออนไลน์ เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดย ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ นั่นเองผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัย ไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทา นางสาว ปัทมาวดี ลือเล่า
  • 4. สังคมออนไลน์ (Social Media) Social Media คืออะไร สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบ เห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากในปัจจุบัน คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดย ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ นั่นเอง พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการติดต่อสื่อสารหรือมี ปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่ สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ
  • 5. Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
  • 6. Facebook -เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking MouthShut –เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews Yelp –เว็บในรูปแบบ Product Reviews Youmeo –เว็บที่รวม Social Network
  • 7. Last.fm –เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music YouTube –เว็บไซต์ Social Networking และแชร์วิดีโอ
  • 8. Avatars United –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking Second Life – เว็บไซต์ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
  • 9. สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ (อังกฤษ: Social web) คนในสังคมหรือผู้คนต่างๆ ใช้ในการโต้ตอบกันกับ ส่วนอื่น ๆ โดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ ผู้คนมากมายมารวมตัวกันมีความสนใจที่มีร่วมกัน แต่ก็ยังมีหลายวิธี ที่ผู้คนในสังคมใช้กันในทุกวันนี้ ประเภทแรกของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ที่ทาขึ้นคือ “คนเป็นส่วนสาคัญ ของเว็บไซต์” เช่น Bebo, Facebook และ MySpace เว็บไซต์ดังกล่าวจะส่งเสริมผู้คนเป็นจุดสาคัญของ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การกระทาเช่นนี้ identity ออนไลน์ (และโปรไฟล์) ถูกสร้างโดยผู้ใช้แต่ละคน ในหลายรูปแบบคล้ายกับหนังสือเดินทาง ประเภทที่สองของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเป็นตัวอย่างโดยเรียงลาดับความสาคัญของงานต่างๆ ของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น หากมีความสนใจในการถ่ายภาพและต้องการแบ่งปันสิ่งนี้ให้กับผู้อื่นที่มีความ สนใจในสิ่งเดียวกัน ก็มีเว็บไซต์การถ่ายภาพเช่น Flickr, Kodak Gallery และ Photobucket นอกจากนี้ยังมีวิธีที่สองของคนในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ ชนิดทั่วไปที่ใช้มากที่สุดและบ่อยที่สุดใน ทุกเวลาระยะทางและเฉพาะในเวิลด์ไวด์เว็บ ในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์นั้นไม่มีการติดต่อสื่อสารกันแบบตัว ต่อตัวส่วนบุคคล ส่วนมากในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใน Flickr คือการแบ่งปันภาพถ่ายและการแสดงความ คิดเห็นในรูปของผู้อื่น อย่างไรก็ตามแต่สมาชิก Flickr มาจากพื้นที่ทั่วไปในท้องถิ่น สังคมเว็บไซต์ออนไลน์อาจใช้เรียกแตกต่างกันสองแนวความคิด แนวคิดแรกคือเป็นคาอธิบายของ เว็บ 2.0 เทคโนโลยีที่เน้นการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและชุมชนก่อนสิ่งอื่นใด แนวคิดที่สองเป็นข้อเสนอ สาหรับเครือข่ายในอนาคตคล้ายกับเวิลด์ไวด์เว็บ คาอธิบายของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สามารถอธิบายเป็นคนเชื่อมโยงกันและการโต้ตอบกับเนื้อหาการมีส่วนร่วม ในลักษณะการสนทนาและมีส่วนร่วมทางอินเทอร์เน็ต การใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์สร้างขึ้นเพื่อ ส่งเสริมการสื่อสารระหว่างผู้คน ตัวอย่างการใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ Twitter, Facebook, และ Jaikuสังคมเว็บไซต์ ออนไลน์เป็นเครือข่ายแห่งอนาคต สังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเชื่อมโยงผู้คน องค์กร และความคิด การกล่าวถึงวิธีการใช้คาในบริบทนี้ ถูกแนะนาในกรกฎาคม 2004 เรียกว่า “สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ : สร้างเครือข่ายสังคมกับ XDI” ใน กระดาษได้อธิบายวิธีการแนะนาโพรโทคอลใหม่เพื่อใช้สาหรับกระจายการแบ่งปันข้อมูลและประสานสื่อให้ ตรงกัน, XDI, สามารถเปิดใช้งานใหม่ของชั้นข้อมูลที่เชื่อถือได้แลกเปลี่ยนการใช้งาน มีการสร้างกุญแจซึ่ง ให้ในการบล็อกเลเยอร์นี้คือ I-names และ I-numbers (ขึ้นอยู่กับข้อกาหนด OASIS XRI), หน้า Dataweb และ link contracts
  • 10. การสร้างเครือข่ายสังคมเว็บไซต์ออนไลน์โดยใช้ FOAF ถูกใช้ตั้งแต่ปี 2000 การเปรียบเทียบเว็บไซต์สังคมออนไลน์ที่ดีที่สุดคือระบบธนาคารทั่วโลกและระบบบัตรเครดิต โครงสร้างพื้นฐานนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเงิน โดยทั่วไปหมายถึง การสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการโดยบุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือคือธนาคาร สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใช้วิธีเดียวกันสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัวที่สาคัญโดยทั่วไปหมายถึง การสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการ โดยบุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือ โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง การจัดประเภทของโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) นั้นสามารถแยกได้ตามรูปแบบ และวัตถุประสงค์ ในการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามรูปแบบ แบ่งได้เป็น 1. Blog หรือ บล็อก คือเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง มาจากคาว่า Weblog (Website + Log) ซึ่งคาว่า Log ในที่นี้หมายถึง “ปูม” ดังนั้น Blog จึงมีลักษณะเป็นเว็บไซต์ที่จัดเก็บข้อมูลด้วยวิธีเดียวกับปูม มี การเรียงลาดับตามวันที่บันทึก ข้อมูลใหม่ที่ Post จะอยู่บนสุด ส่วนข้อมูลเก่าจะอยู่ล่างสุด โดยบล็อก สมัยนี้ไม่ได้อยู่ลาพังเดี่ยวๆ แต่มีลักษณะเป็น Community ที่รวบรวม Blog หลายๆ Blog เข้าไว้ ด้วยกัน สามารถเชื่อมโยงผู้เขียน (Blogger) ได้เป็นสังคมขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงผู้อ่าน ไว้กับผู้เขียนได้ โดยสามารถคอมเม้นต์บทความ ติดตาม หรือกดโหวตได้ เช่น Blogger เป็นต้น 2. ไมโครบล็อก (Microblog) เป็นเว็บไซต์ขนาดเล็ก ใช้สาหรับส่งข้อความสั้นๆ ไม่กี่ประโยค เพื่อ บอกถึงสถานการณ์ และความเป็นไป ไมโครบล็อกที่มีผู้นิยมใช้บริการ เช่น Twitter 3. โซเชียลเน็ตเวิร์คเว็บไซต์ (Social Network Website) คือเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสังคม ออนไลน์โดยเฉพาะ เช่น Facebook, Linkedin, Myspace, Hi5 เป็นต้น เว็บพวกนี้มีจุดเด่นที่การแชร์ คอนเท้นต์ ทั้งข้อความ รูปภาพ และวีดีโอ บางเว็บรวมไปถึงบทความ เพลง และลิ้งค์ นอกจากนั้นยังมี ฟังก์ชั่นในการแสดงความรู้สึก หรือมีส่วนร่วม เช่น การกดไลค์ ( Like) การโหวต การอภิปราย (Discuss) และการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น 4. เว็บโซเชียลบุ๊คมาร์ค (Bookmark Social Site) เป็นเว็บที่ให้เราเก็บหน้าเว็บ หรือเว็บไซต์ที่เรา ชื่นชอบ เพื่อเอาไว้เข้าชมทีหลัง แต่พอมาเป็นโซเชียลไซต์ เราจะสามารถแชร์ URL ของหน้าเว็บเหล่านั้น รวมถึงดูว่าคนอื่นเก็บหน้าเว็บอะไรไว้บ้าง เข้าชม และแสดงความคิดเห็นต่อหน้าเว็บต่างๆ ได้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แบ่งได้เป็น 1. เผยแพร่ตัวตน ( Identity Network) เป็นเว็บไซต์โซเชียลที่มุ่งเน้นการนาเสนอตัวตนของผู้ใช้งาน เรื่องราวของตัวเอง ภาพถ่ายของตัวเอง สิ่งที่ตัวเองชอบ หรือว่าสนใจ ความคิดเห็น ความรู้สึกที่มีต่อสิ่ง ต่างๆ เว็บที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ Facebook, Myspace เป็นต้น
  • 11. 2. เผยแพร่ผลงาน ( Creative Network) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นไปที่ผลงานของเจ้าของเว็บ มากกว่าตัวตน ของเจ้าของผลงาน ส่วนมากเว็บโซเชียลเน็ตเวิร์คประเภทนี้ มักรวมผู้ที่ทางานประเภทเดียวกันไว้ ด้วยกัน เช่น เว็บรวมนักเขียนนิยาย เว็บรวมคนรักการถ่ายภาพ เว็บรวมนักออกแบบกราฟิก ฯลฯ ซึ่งการสร้างเครือข่ายลักษณะนี้มักใช้ในการหาลูกค้า หรือเพื่อนร่วมอาชีพเป็นสาคัญ เช่น Coroflot, flickr, Multiply, DevianART เป็นต้น 3. ความสนใจตรงกัน ( Interested Network) เว็บไซต์ประเภทนี้คล้ายๆ กับเว็บเผยแพร่ผลงาน คือ รวบรวมผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกันมาไว้ด้วยกัน แต่ต่างกันที่ Interested Network เจ้าของเว็บไม่ต้องเป็น เจ้าของผลงาน แค่แชร์ลิ้งค์ หรือเว็บที่ตัวเองสนใจ เช่น Pinterest, del.licio.us, Digg, Zickr เป็นต้น 4. โลกเสมือน (Virtual life / Game online) เป็นลักษณะการจาลองตัวของผู้ใช้งานเป็นตัวละครตัวหนึ่ง ในเกม หรือสถานการณ์สมมุติ โดยมีเรื่องราว หรือภาระกิจให้ปฏิบัติ โดยอาจจะปฏิบัติโดยลาพังแข่งกับผู้ เล่นคนอื่น หรือร่วมกันเป็นทีมก็ได้ โดยในระหว่างเล่นสามารถพูดคุย หรือสื่อสารกับผู้เล่นอื่นๆ ได้ ทา ให้มีลักษณะเป็น Social Network แบบหนึ่ง เช่น Second Life, The SIM เป็นต้น พฤติกรรมการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ของคนไทย พฤติกรรมของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ปรับเปลี่ยนจากการรับข่าวสารจาก Portral Site มาเป็นโซเชียล เน็ตเวิร์ค (Social Network) เว็บไซต์ เริ่มเด่นชัดตั้งแต่ช่วงปี 2007 หรือ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผลการศึกษาพบว่าประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) ใช้เพื่ออัพเดตข้อมูลข่าวสาร และอีก 1 ใน 3 เพื่อคุยกับเพื่อนและคนรู้จัก นั่นสะท้อนให้เห็น เป็นอย่างดีว่าผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ติดตามข่าวสารจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มากขึ้น
  • 12. ข้อดี ข้อเสีย ข้อดีของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ 3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว 4. เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามา รับชมและแสดงความคิดเห็น 5. ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้าง ความเชื่อมั่นให้ลูกค้า 6.ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น 7. คลายเครียดได้สาหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ 8.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ ข้อเสียของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1. เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการไม่ระมัดระวังในการ กรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนามาใช้ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ 2. Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาดวิจารณญาณ อาจโดน หลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ 3. เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและแสดงความคิดเห็น 4. ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networkยากแก่การ ตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่กาหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูก หลอกโดยบุคคลที่ไม่มีตัวตนได้ 5. ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือบางคน อาจตาบอดได้ 6. ถ้าผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กับ socialnetwork มากเกินไปอาจทาให้เสียการเรียนหรือผลการเรียนตกต่าลงได้ 7. จะทาให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์
  • 13. การนาเข้ามาใช้ในประเทศไทย หรือการใช้งานในปัจจุบัน ลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันมี ลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือ แลกเปลี่ยนความรู้ใน รูปแบบต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยส่วนใหญ่เน้นที่ปริมาณ ของความรู้แต่ไม่มีคุณภาพ (Chiu et al., 2006) และ ข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกันส่วนมากจะเป็นข้อมูล ส่วนบุคคล การ แลกเปลี่ยนรูปภาพ วิดีโอ การส่งข้อความ และการพูดคุยกัน (Nosko et al., 2010) นอกจากนั้น Ross, et al. (2009) กล่าวว่า Facebook ถือเป็นเครื่องมือ ทางสังคมที่สาคัญและเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยให้ คนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เนื่องจากในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทกับการดาเนิน ชีวิต ประจาวันของคนในสังคม เช่น การทางาน การศึกษา การใช้บริการต่างๆ ล้วนต้องอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ ดังนั้น การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันจึงไม่ใช่ เรื่องแปลกใหม่อีกต่อไป แต่ กลายเป็นสิ่งจาเป็นที่ช่วย อานวยความสะดวกในการติดต่อ สื่อสาร การแลกเปลี่ยน ข้อมูล การ แลกเปลี่ยนความรู้ของคนในสังคมยุคปัจจุบัน ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ คนในปัจจุบันนิยมเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว จากการศึกษา ของ Nosko, et al. (2010) พบว่าอายุและสถานภาพมีผล ต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวบน สังคมเครือข่ายออนไลน์ เป็นอย่างมาก เนื่องจากผู้ใช้ที่มีอายุมากก็มักจะไม่เปิด เผยข้อมูลส่วนตัว ซึ่งตรง ข้ามกับบุคคลที่มีอายุน้อยก็ จะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากกว่า และเพศไม่ได้มีผลต่อ การเปิดเผยข้อมูล ส่วนตัวแต่อย่างใด ปัจจัย ต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของคนใน ปัจจุบัน ได้ดังนี้ 1. ลักษณะทางสังคมและบรรทัดฐานของกลุ่ม ผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยสาคัญที่มี ผล ต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการ สื่อสารและการติดต่อกับเพื่อน ซึ่งลักษณะสังคมใน ปัจจุบันส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการรวมกลุ่ม กัน ทางานร่วมกันมากขึ้นทาให้เกิดการใช้ ประโยชน์จากFacebook เนื่องจากสามารถโพสต์ข้อความหรือแลกเปลี่ยน ข้อมูลให้เพื่อน ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว นอกจากนั้น ยังสามารถพูดคุยกันได้แบบ Real Time กับเพื่อนที่อยู่ใน สถานะออนไลน์ได้เช่นเดียวกับ MSN ลักษณะทางสังคม สามารถสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของเมื่อใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์และเป็น สมาชิกของชุมชนออนไลน์นั้นๆ(Cheung, et al., 2010) นอกจากนั้น ยังช่วยอธิบาย พฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ การสร้าง ตัวตนทางสังคม ทาให้มีจานวนของผู้ใช้งานเครือข่าย ในปัจจุบันเพิ่ม มากขึ้น ส่งผลให้เกิดบรรทัดฐานทางสังคม ที่คนนิยมแลกเปลี่ยนความรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กัน อย่างกว้างขวาง (Cheung, & Lee, 2010; Chow, & Chan, 2008; Lin, & Lu, 2011) ผลการศึกษาของ Chiu, et al. (2006) พบว่าบรรทัดฐานของกลุ่มผู้ใช้งานเครือ ข่ายสังคมออนไลน์ยังเป็นสิ่งที่ช่วยสร้าง ความไว้ใจ (Trust) ซึ่งถือเป็นสิ่งสาคัญสาหรับความสัมพันธ์ในสังคม ของการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน
  • 14. 2. ลักษณะส่วนบุคคล แรงจูงใจและความ สามารถของบุคคล เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อพฤติกรรม การ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ Amichai-Hamburger & Vinitzky (2010) ศึกษาพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลมี ความ สาคัญอย่างมากต่อการเลือกใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งผลการวิจัยนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในด้านการ ตลาดเพื่อที่จะช่วยหาแนวทางใหม่ๆ สาหรับการเรียนรู้ การเข้าใจคุณลักษณะและความ แตกต่างของลูกค้าแต่ละ กลุ่มได้ ซึ่งตรงกันข้ามกับผลการวิจัยของ Ross, et al. (2009) ที่ศึกษาพบว่า ปัจจัยของลักษณะส่วนบุคคลไม่มี อิทธิพลต่อการใช้ Facebook เนื่องจากเหตุผลของการ ใช้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์ไม่ได้เกิดจากลักษณะ ส่วนบุคคล แต่เกิดจากการได้รับแรงจูงใจจากบุคคลอื่นๆหรือ จากเพื่อนในการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ นอกจากนั้นความสามารถของแต่ละบุคคลก็มีผล ต่อพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ (Hsu,etal.,2007) เนื่องจากในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ผู้ใช้ จาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ จึงจะ สามารถ ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทัศนคติเกี่ยวกับความไว้ใจ ความปลอดภัย ของระบบและความเป็นส่วนตัวก็ส่งผลต่อความตั้งใจ ในการ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และการแลกเปลี่ยน ความรู้ Shin (2010) ศึกษาพบว่า ทัศนคติด้านความไว้ใจ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับความรู้สึกปลอดภัยในการ ใช้งาน ซึ่งความไว้ใจถือเป็นปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผล ต่อการ แลกเปลี่ยนความรู้และเปิดเผยข้อมูลผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Mital, et al. ,2010 ; Shin, 2010) และทัศนคติ ความเป็นส่วนตัวก็ส่งผลต่อพฤติกรรมการเปิดเผยข้อมูล เช่นกัน (Stutzman, et al. , 2011) จากผลการศึกษานี้ สามารถอธิบายได้ว่า เมื่อผู้ใช้บริการมีทัศนคติทางบวก ในเรื่องต่างๆ ดังที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น จะช่วยส่งเสริมให้ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และเปิดเผยข้อมูล แต่ถ้าหาก ผู้ใช้บริการมีทัศนคติทางลบ การแลกเปลี่ยนความรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ก็จะไม่ประสบผลสาเร็จ 4. คุณค่าทางด้านความบันเทิง หมายถึง เมื่อ ผู้ใช้บริการมีความรู้สึกเพลิดเพลินและสนุกในการใช้ เทคโนโลยีสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ก็จะทาให้ผู้ใช้บริการเกิด ความ พึงพอใจ มีความตั้งใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง กันมากขึ้น และเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้มี การใช้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างต่อเนื่อง (Chiu, et al., 2011; Cheung, et al., 2010; Lin, & Lu, 2011) 5. การได้รับประโยชน์จากการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ เป็นปัจจัยที่ช่วยทาให้คนนิยมใช้บริการ มากขึ้น เนื่องจาก ผู้ใช้บริการเครือข่ายสามารถติดต่อกับ เพื่อน คนรู้จัก ตลอดจนได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆ ได้ แลกเปลี่ยน ข้อมูล ความรู้กับบุคคลอื่น อีกทั้งยังมีความเชื่อว่าระบบ จะมีการพัฒนาและปรับปรุงการ ให้บริการที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ซึ่งช่วยให้คนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ อย่างต่อเนื่อง (Lin, & Lu, 2011)
  • 15. ผลกระทบจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านทัศนคติ ผู้ที่ใช้บริการเครือข่าย สังคมออนไลน์สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ จะมี ทัศนคติในด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปและมีมุมมอง ที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการได้รับข้อมูล สารสนเทศที่ทันสมัยอยู่เสมอ ซึ่งตรงกันข้ามกับบุคคลที่ ไม่ได้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ มักจะปฏิเสธ ข้อมูลใหม่ๆ หรือปฏิเสธมุมมองที่มีความแตกต่างไปจากเดิม (Levitan, & Visser, 2008) จากผล การศึกษาที่พบดังกล่าว สามารถ อธิบายได้ว่า การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นประโยชน์ ต่อผู้ใช้บริการ ในด้านการปรับเปลี่ยนทัศนคติ ถึงแม้จะไม่ได้ส่งผลโดยตรงกับผู้ใช้ในทันที แต่จะเป็นเครื่องมือที่ จะช่วย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติในด้านต่างๆ ของผู้ใช้ในอนาคตได้ 2. ด้านความเป็นส่วนตัว ในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็ว ผู้ใช้ สามารถ ใช้บริการผ่านโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งข้อความ รูปภาพ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันได้ ข้อมูลที่ ส่ง นั้นจะเป็นข้อมูลสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าไปดู หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ ไม่มีระยะเวลาที่ กาหนด ดังนั้นความเป็นส่วนตัวอาจจะถูกคุกคามได้ ขึ้นอยู่กับ มารยาทของผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคม ออนไลน์ หรืออาจ มีการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นด้านลบของผู้อื่น ยกตัวอย่าง เช่น พนักงานที่ลาออกจาก บริษัทมีการเผยแพร่ข้อมูล ด้านลบของผู้จัดการหรือหัวหน้าให้คนอื่นๆ รับรู้ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Van Eecke, & Truyens, 2010) ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้น ผู้ใช้บริการ เครือข่ายสังคม ออนไลน์อาจจะไม่ได้รับความเป็นส่วนตัว มากนัก เพราะข้อมูลที่โพสต์เข้าไปใน Profile จะมีลักษณะ เป็น ข้อมูลสาธารณะที่เพื่อนในกลุ่มทั้งหมดสามารถดู และแสดงความคิดเห็นได้ หรือบางครั้งสมาชิกคนอื่น ที่ ไม่ได้อยู่ในกลุ่มก็สามารถเข้ามาดูได้ยกเว้นมีการตั้งค่า สิทธิการเข้าใช้งานระบบ หรือใช้การพูดคุยกันแบบ Real Time เหมือน MSN เป็นต้น 3. ด้านความปลอดภัยของข้อมูล จาก ผลการศึกษาของ Shin (2010) ที่ศึกษาพบว่าปัจจัยที่มี ผลทาให้ คนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์เนื่องจาก มีความเชื่อใจในระบบการรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูล แต่ในความเป็นจริงการใช้งานผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกขโมยข้อมูลหรือ ทาลายข้อมูลได้ถึงแม้ระบบที่ใช้งานจะอนุญาตให้เรา ตั้งค่าความปลอดภัยของข้อมูลได้ ดังนั้น จึงขึ้นอยู่ กับระบบที่ใช้บริการจะมีความสามารถในการสร้าง ความปลอดภัยให้กับข้อมูลมากน้อยเพียงใด และตัว ผู้ใช้งาน เครือข่ายสังคมออนไลน์เอง ก็จะต้องตระหนักว่าข้อมูล ที่นาไปไว้ใน Profile ของตน หรือ ข้อความต่างๆ ที่โพสต์ ในเครือข่ายสังคมออนไลน์จะต้องเป็นข้อมูลที่สามารถ เปิดเผยได้ หรือไม่สร้าง ความเสียหายให้กับผู้อื่น และที่สาคัญ ไม่ควรนาข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ถูกต้องไปเผยแพร่ในเครือข่าย สังคมออนไลน์เพื่อสร้างความเสื่อมเสียให้กับ บุคคลอื่นหรือสร้างความแตกแยกในสังคม การนา Social Network เข้ามาใช้ในประเทศไทย หรือการใช้งานในปัจจุบัน
  • 16. ปัจจุบันเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจาวันของคนไทยเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น การรับข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ การทางานหรือการส่งงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้อินเทอร์เน็ตยังมี บทบาทสาคัญต่อการทาธุรกิจอีกด้วย เพราะอินเทอร์เน็ต เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ ได้ง่าย รวดเร็ว และประหยัดค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ได้เป็นอย่างมาก ซึ่งเหมาะต่อผู้ ประกอบการ ตั้งแต่รายย่อยขึ้นไป โดยรูปแบบที่กาลังเป็นที่นิยมในปัจจุบันคือ สังคมออนไลน์ (Social Network) ซึ่ง หมายถึง กลุ่มคนที่ รวมกันเป็นสังคมและมีการทากิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบของเว็บไซต์ ที่มีการแผ่ขยายออกไปเรื่อยๆ หรือรูปแบบของการ สื่อสารข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งทาให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตกลายเป็นสังคม โดยสามารถทากิจกรรมต่างๆ ทั้งเพื่อการ ศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง ดังนั้นบทความนี้จะนาเสนอถึงรูปแบบการประยุกต์ใช้งานสังคมออนไลน์ร่วมกับการทา ธุรกิจในประเทศไทย โดยจะกล่าวถึงกระแสการทาการตลาดผ่านสังคมออนไลน์ การนาเสนอแนวทางการ ใช้งานสังคมออนไลน์กับการทาธุรกิจและข้อมูลทาง สถิติที่ใช้ในการตัดสินใจ