SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
L a b S c h o o l P r o j e c t
59
มหัศจรรย์ป่าสาคู
59
ด้วงสาคู
	 ป่าสาคูธรรมชาติเมื่อต้นสาคูที่แก่เต็มที่แล้วตายพบว่าจะมีแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchcphorus schach ชาวใต้เรียกว่าแมลงหวัง มาเจาะและกิน
แกนในของลำ�ต้น เมื่อตัวเต็มวัยจะวางไข่ เมื่อไข่กลายเป็นตัวอ่อน ชาวบ้านจะใช้มีดหรือ
ขวานผ่าลำ�ต้น เพื่อเก็บตัวอ่อน ไปรับประทานหรือขาย ซึ่งได้ราคาดีมาก เป็นอาหารที่หา
รับประทานได้ทั่วไปในจังหวัดทางภาคใต้ ตัวอ่อนด้วงสาคูนี้จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง
14.3 % ไขมัน 63.7 %น้ำ�และอื่นๆ 22 % ( Sim,1986) แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอ่อนด้วงสาคู
นี้ บางคนอาจแพ้ ทำ�ให้เกิดลมพิษตามผิวหนังหรือหายใจขัดๆ ได้
แสดงภาพ ด้วงสาคูและพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ของแมลงปีกแข็งชนิด
(Rhynchcphorus schach) หรือแมลงหวังทางภาคใต้
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
นอกจากนี้ตัวอ่อนด้วงสาคู ยังสามารถเพาะเลี้ยงขึ้นได้ โดยการนำ�ลำ�ต้นสาคู
มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วเอาใบสาคูมาคลุมไว้ ด้วงก็จะมากินและวางไข่ ประมาณ 75 วัน
หลังจากวางไข่ สามารถเก็บตัวอ่อนด้วงสาคู ขายได้ราคากิโลกรัมละ 180-250 บาท และ
ยังไม่พบว่าด้วงสาคูนี้ทำ�ลายสาคูใหญ่ที่ยังชีวิต
60
มหัศจรรย์ป่าสาคู
60
แสดงภาพสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และพระบรมโอรสาธิราชสมเด็จ
พระราชกุมาร เสด็จเยี่ยมฟาร์มเพาะเลี้ยงด้วงสาคู
ที่มา : http://queengoto.blogspot.com/
แสดงภาพหัวหน้าโครงการถวายรายงานเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงด้วงสาคู
L a b S c h o o l P r o j e c t
61
มหัศจรรย์ป่าสาคู
61
	 ขั้นตอน การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนด้วงสาคู ของเกษตรกรภาคใต้ เริ่มแรก
นำ�ใยมะพร้าวสดวางคลุมท่อนสาคู จากนั้น ใส่พ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ด้วงสาคู ลงไป ลำ�ต้น
ของสาคู ที่อุดมไปด้วยอาหารของด้วง ส่วนปลายหรือโคน ที่ใช้ประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้
เมื่อยางและส่วนในลำ�ต้นหายไปหมดแล้ว จะมีตัวด้วงไชซอนเข้าไปวางไข่ และเจริญ
เป็นตัวดักแด้ซึ่งมีปลอกหุ้ม ขนาดปลอกยาวประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร ตัวดักแด้ที่เกิด
จากสาคู เรียกว่า “ด้วงสาคู” แต่ละตัวมีความยาว 4 - 5 เซ็นติเมตรประมาณเท่าหัวแม่มือ
มีสีน้ำ�ตาลอ่อน ใช้ระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 60 - 75 วัน สามารถเก็บนำ�ไปต้มเกลือเป็น
อาหาร รับประทาน จะมีรสชาติอร่อย นิ่มและมีรสมันมากชาวบ้านบางคนนำ�ด้วงสาคูที่ต้ม
เกลือแล้วรับประทานกับข้าวเหนียวรสชาติดีกว่ารับประทานข้าวเหนียวกับเนื้อ แถมขาย
ได้ราคาดี กิโลกรัมละ 180 - 250 บาท ตัวอ่อนของแมลงที่อยู่ในต้นสาคูจะเก็บได้ประมาณ
10 - 13 กิโลกรัม สร้างรายได้ประมาณ 1,500 – 2,000 บาท ต่อต้น
แสดงภาพท่อนสาคูแหล่งอาหารและการเจริญเติบโตของด้วง
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
62
มหัศจรรย์ป่าสาคู
62
แสดงภาพการใช้ต้นสาคูเพาะเลี้ยงด้วงสาคูในรูปแบบต่างๆ
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&
No=20237
L a b S c h o o l P r o j e c t
63
มหัศจรรย์ป่าสาคู
63
แสดงภาพ คุณเสน่ห์ ท่าดี เจ้าของแปลงเพาะเลี้ยง “ด้วงสาคู”
บ้านเลขที่ 11/3 หมู่ที่ 4 ต.โคกเจริญ อ.ทับปุด จ. พังงา
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&
No=20237
64
มหัศจรรย์ป่าสาคู
64
อาหารจานเด็ดจากด้วงสาคู
แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ แสดงภาพด้วงสาคูทอดกรอบ
อาหารจานเด็ดจากด้วงสาคู แสดงภาพด้วงสาคูขณะมีชีวิต
แสดงภาพเกลือ ใบมะกรูด แสดงภาพด้วงสาคูคั่วเกลือ
L a b S c h o o l P r o j e c t
65
มหัศจรรย์ป่าสาคู
65
แสดงภาพขั้นตอนการ
การทำ�ด้วงสาคูคั่วเกลือ
66
มหัศจรรย์ป่าสาคู
66
สรุปด้วงสาคู จะมีโปรตีนสูงมากขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมการบริโภคของแต่ละพื้นที่ในจังหวัดตรัง
ชาวบ้านหาด้วงสาคูได้ 2 วิธี คือ
1.	 จากธรรมชาติ เมื่อต้นสาคูมีแป้งในลำ�ต้นจะมีแมลงปีกแข็งซึ่งชาวบ้านเรียกว่า
แมลงหวัง มาเจาะกัดกินเนื้อในลำ�ต้นสาคูและวางไข่เจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู
2.	 การเลี้ยงด้วงสาคู โดยการตัดสาคูเป็นท่อนๆทิ้งไว้ไม่ให้จมน้ำ� หรือวางไว้บน
ที่แห้งแล้วรดน้ำ�ให้เปียกอยู่เสมอ (บางพื้นที่หยดน้ำ�ปลาเพื่อล่อแมลงหวังให้
มาวางไข่เร็วขึ้น) ประมาณ 40 - 60 วันจะมีแมลงหวังมาวางไข่แล้วเจริญเป็น
ตัวอ่อนเรียกว่า ด้วงสาคู ซึ่งแต่ละตัวจะมีความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร
โตประมาณเท่าหัวแม่มือมีสีน้ำ�ตาลอ่อนโดยสาคูหนึ่งต้นจะมีตัวด้วงประมาณ
3 - 5 กิโลกรัม ราคาในท้องตลาดกิโลกรัมละ 250 บาท ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยง
ด้วงสาคูเป็นรายได้เสริมและวิธีรับประทานคือนำ�ไปคั่วเกลือหรือทอดกรอบ
แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ บ้านนางจิต ชุมเชื้อ อ.นาโยง จ.ตรัง
L a b S c h o o l P r o j e c t
67
มหัศจรรย์ป่าสาคู
67
แสดงภาพ นักเรียนสำ�รวจและ ศึกษาวงจรชีวิตด้วงสาคูในท้องถิ่น ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง
จ.ตรัง วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
แสดงภาพ วงชีวิตด้วงสาคู
ตัวเต็มวัย (Adult)
ดักแด้ (Pupa)
ไข่ (Egg
หนอน (Larva)

More Related Content

More from ครู กัน

18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวานครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อนครู กัน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียงครู กัน
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นครู กัน
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคตครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคูครู กัน
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคูครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

More from ครู กัน (16)

18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

7ด้วง

  • 1. L a b S c h o o l P r o j e c t 59 มหัศจรรย์ป่าสาคู 59 ด้วงสาคู ป่าสาคูธรรมชาติเมื่อต้นสาคูที่แก่เต็มที่แล้วตายพบว่าจะมีแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchcphorus schach ชาวใต้เรียกว่าแมลงหวัง มาเจาะและกิน แกนในของลำ�ต้น เมื่อตัวเต็มวัยจะวางไข่ เมื่อไข่กลายเป็นตัวอ่อน ชาวบ้านจะใช้มีดหรือ ขวานผ่าลำ�ต้น เพื่อเก็บตัวอ่อน ไปรับประทานหรือขาย ซึ่งได้ราคาดีมาก เป็นอาหารที่หา รับประทานได้ทั่วไปในจังหวัดทางภาคใต้ ตัวอ่อนด้วงสาคูนี้จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง 14.3 % ไขมัน 63.7 %น้ำ�และอื่นๆ 22 % ( Sim,1986) แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอ่อนด้วงสาคู นี้ บางคนอาจแพ้ ทำ�ให้เกิดลมพิษตามผิวหนังหรือหายใจขัดๆ ได้ แสดงภาพ ด้วงสาคูและพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ของแมลงปีกแข็งชนิด (Rhynchcphorus schach) หรือแมลงหวังทางภาคใต้ (ภาพจากอินเทอร์เน็ต) นอกจากนี้ตัวอ่อนด้วงสาคู ยังสามารถเพาะเลี้ยงขึ้นได้ โดยการนำ�ลำ�ต้นสาคู มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วเอาใบสาคูมาคลุมไว้ ด้วงก็จะมากินและวางไข่ ประมาณ 75 วัน หลังจากวางไข่ สามารถเก็บตัวอ่อนด้วงสาคู ขายได้ราคากิโลกรัมละ 180-250 บาท และ ยังไม่พบว่าด้วงสาคูนี้ทำ�ลายสาคูใหญ่ที่ยังชีวิต
  • 3. L a b S c h o o l P r o j e c t 61 มหัศจรรย์ป่าสาคู 61 ขั้นตอน การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนด้วงสาคู ของเกษตรกรภาคใต้ เริ่มแรก นำ�ใยมะพร้าวสดวางคลุมท่อนสาคู จากนั้น ใส่พ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ด้วงสาคู ลงไป ลำ�ต้น ของสาคู ที่อุดมไปด้วยอาหารของด้วง ส่วนปลายหรือโคน ที่ใช้ประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ เมื่อยางและส่วนในลำ�ต้นหายไปหมดแล้ว จะมีตัวด้วงไชซอนเข้าไปวางไข่ และเจริญ เป็นตัวดักแด้ซึ่งมีปลอกหุ้ม ขนาดปลอกยาวประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร ตัวดักแด้ที่เกิด จากสาคู เรียกว่า “ด้วงสาคู” แต่ละตัวมีความยาว 4 - 5 เซ็นติเมตรประมาณเท่าหัวแม่มือ มีสีน้ำ�ตาลอ่อน ใช้ระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 60 - 75 วัน สามารถเก็บนำ�ไปต้มเกลือเป็น อาหาร รับประทาน จะมีรสชาติอร่อย นิ่มและมีรสมันมากชาวบ้านบางคนนำ�ด้วงสาคูที่ต้ม เกลือแล้วรับประทานกับข้าวเหนียวรสชาติดีกว่ารับประทานข้าวเหนียวกับเนื้อ แถมขาย ได้ราคาดี กิโลกรัมละ 180 - 250 บาท ตัวอ่อนของแมลงที่อยู่ในต้นสาคูจะเก็บได้ประมาณ 10 - 13 กิโลกรัม สร้างรายได้ประมาณ 1,500 – 2,000 บาท ต่อต้น แสดงภาพท่อนสาคูแหล่งอาหารและการเจริญเติบโตของด้วง (ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
  • 5. L a b S c h o o l P r o j e c t 63 มหัศจรรย์ป่าสาคู 63 แสดงภาพ คุณเสน่ห์ ท่าดี เจ้าของแปลงเพาะเลี้ยง “ด้วงสาคู” บ้านเลขที่ 11/3 หมู่ที่ 4 ต.โคกเจริญ อ.ทับปุด จ. พังงา ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture& No=20237
  • 7. L a b S c h o o l P r o j e c t 65 มหัศจรรย์ป่าสาคู 65 แสดงภาพขั้นตอนการ การทำ�ด้วงสาคูคั่วเกลือ
  • 8. 66 มหัศจรรย์ป่าสาคู 66 สรุปด้วงสาคู จะมีโปรตีนสูงมากขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมการบริโภคของแต่ละพื้นที่ในจังหวัดตรัง ชาวบ้านหาด้วงสาคูได้ 2 วิธี คือ 1. จากธรรมชาติ เมื่อต้นสาคูมีแป้งในลำ�ต้นจะมีแมลงปีกแข็งซึ่งชาวบ้านเรียกว่า แมลงหวัง มาเจาะกัดกินเนื้อในลำ�ต้นสาคูและวางไข่เจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู 2. การเลี้ยงด้วงสาคู โดยการตัดสาคูเป็นท่อนๆทิ้งไว้ไม่ให้จมน้ำ� หรือวางไว้บน ที่แห้งแล้วรดน้ำ�ให้เปียกอยู่เสมอ (บางพื้นที่หยดน้ำ�ปลาเพื่อล่อแมลงหวังให้ มาวางไข่เร็วขึ้น) ประมาณ 40 - 60 วันจะมีแมลงหวังมาวางไข่แล้วเจริญเป็น ตัวอ่อนเรียกว่า ด้วงสาคู ซึ่งแต่ละตัวจะมีความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร โตประมาณเท่าหัวแม่มือมีสีน้ำ�ตาลอ่อนโดยสาคูหนึ่งต้นจะมีตัวด้วงประมาณ 3 - 5 กิโลกรัม ราคาในท้องตลาดกิโลกรัมละ 250 บาท ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยง ด้วงสาคูเป็นรายได้เสริมและวิธีรับประทานคือนำ�ไปคั่วเกลือหรือทอดกรอบ แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ บ้านนางจิต ชุมเชื้อ อ.นาโยง จ.ตรัง
  • 9. L a b S c h o o l P r o j e c t 67 มหัศจรรย์ป่าสาคู 67 แสดงภาพ นักเรียนสำ�รวจและ ศึกษาวงจรชีวิตด้วงสาคูในท้องถิ่น ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ แสดงภาพ วงชีวิตด้วงสาคู ตัวเต็มวัย (Adult) ดักแด้ (Pupa) ไข่ (Egg หนอน (Larva)